endocrine system นางสาวญาณิศา ปานยัง ม.6/5 เลขที่ 25
hormone คือ สารเคมีที่ลำเลียงสารตามกระแสเลือดไปสู่อวัยวะเป้าหมายเพื่อทำหน้าที่ ควบคุมการทำงานของระบบต่า ๆ ในร่างกาย เช่นการทำงานของระบบ สืบพันธุ์ ระบบขับถ่ายตลอดจนกระบวณการเมเเทบอลิซึมของร่างกาย
pineal gland ต่อมไพเนียลของสัตว์เลือดเย็น ตัวอย่างเช่น ปลาปากกลม สัตว์สะเทินน้ำ สะเทินบก และสัตวืเลื้อยคงานบางชนิดไม่สร้างฮอร์โฒน แต่เป็นกลุ่มของเซลล์ รับแสง (photoreceptor cell) ที่มีลักษณะคล้ายกับกลุ่มเซลล์รับแสงในชั้น เรตินาของนัยน์ตา ต่อมไพเนียลของคนอยู่ระหว่างเซรีบรัมซีกซ้ายและซีกขวา สร้างฮอร์โมน Melatonin ซึ่งมีหน้าที่บอกถึงรอบวัน และยับยั้ง การเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ให้เติบโตเร็วเกินไปในช่วง วัยเจริญพันธุ์ ถ้าต่อมนี้ผิดปกติสร้างฮอร์โมนมากเกินไปจะทำให้ การเจริญทางเพศช้ากว่าปกติ จากการทดลองในเด็กผู้ชายที่มีเนื้อ งอกที่สมองและมีการทำลายต่อมไพเนียล พบว่าการเจริญเติบโต เร็วกว่าปกติ
pituitary gland ต่อมใต้สมองส่วนหน้า สร้างฮอร์โมน Growth hormone เพื่อควบคุมการเจริญ เติบโตทั่ว ๆ ไป ของร่างกาย สร้างฮอร์โมน Gonadotrophin : GN 1.) follicle stimulating hormone(หญิง) กระตุ้น ให้ฟอลลิเติลแบ่งเซลล์และสร้างเอสโตรเจน (ชาย) กระตุ้นการเจริญของอัณฑะ และการสร้างอสุจิ 2.) Luteinizing hormone (หญิง) กระตุ้นการตกไข่ (ชาย) กระตุ้น อินเตอร์ติเชียลเซลล์ให้หลั่งเทสโทสเตอโรน สร้างฮอร์โมน Prolactin เพื่อกระตุ้นต่อมน้ำนมให้สร้างน้ำนม สร้างฮอร์โมน Adrenocorticotrophic hormone เพื่อกระตุ้น ต่อมหมวกไตส่วนนอกให้หลังฮอร์โมน สร้างฮอร์โมน Thyroid stimulating hormone เพื่อกระตุ้น ต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมน สร้างฮอร์โมน Endorphins เพื่อระงับความเจ็บปวด ช่วยเพิ่ม ความตื่นตัวและความสุข
pituitary gland ต่อมใต้สมองส่วนกลาง สร้างฮอร์โมน Melanocyte stimulating hormone ทำให้สัตว์มี การเปลี่ยนสีผิวเข้มขึ้นได้ตามสภาพแวดล้อม ต่อมใต้สมองส่วนหลัง สร้างฮอร์โมน ADH/Rasopressin ควบคุมการดูดกลับ น้ำของท่อหน่วยไต และกระตุ้นหลอดอาร์ทอรีหดตัว สร้างฮอร์โมน Oxytosin ทำให้กล้ามเนื้อเรียบ ที่มดลูกบีบตัว
adrenal gland ต่อมหมวกไตส่วนนอก สร้างฮอร์โมน Glycocorticoid hormone ควบคุมเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต สร้างฮอร์โมน Aldosterone ควบคุม น้ำและแร่ธาตุในร่างกาย ต่อมหมวกไตส่วนใน สร้างฮอร์โมน Adremalin และ Noradrenalin ทำให้น้ำตาลใน เลือดเพิ่มมากขึ้น กระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น ความดันเลือกสูงขึ้น รก สร้างฮอร์โมน HCG กระตุ้นคอร์ปัสลูเทียม ในรังไข่ และสร้างโพจเจสเทอโรนเพิ่มขึ้น
islets of langerhans สร้างฮอร์โมน Insulin ลดระดับน้ำตาลในเลือด สร้างฮอร์โมน Melatonin กระตุ้นการสลายตัวไกลโคเจนจากตับ และกล้ามเนื้อ Thyroid gland สร้างฮอร์โมน Thyroxine ควบคุม Metabolism ของร่างกาย และ สามารถกระตุ้นเมทามอร์โฟซิสของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สร้างฮอร์โมน Calcitonin กระตุ้นการสะสมแคลเซียมที่กระดูก ลด การดูดกลับแคลเซียมที่ไต และลดอัตราการดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้เล็ก
Parathyroid gland สร้างฮอร์โมน Parathomone เพื่อ ควบคุมสมดุลของแคลเซียมในเลือด ให้คงที่ ต่อมที่อวัยเพศชาย ได้แก่ อัณฑะ (testis) สร้างฮอร์โมน Interstitial Ledig cell ต่อมที่อวัยวะเพศหญิง ได้แก่ cell รังไข่ (ovary) เสกิรด้าลงักฮษอรณ์โมะเนพศEหstญrิoงgen ทำให้ ขสกอร้รงาะผงตุฮน้นัองกรม์าโดมรลเนูจกรPใิญหr้oหขgนอeงาขsเึย้ืtน่อeบrุoชั้nนeใน
thymus สร้างฮอร์โมน Thymosin สร้าง ภูมิคุ้มกันของร่างกาย stomach and stomach small intestine small intestine สร้างฮอร์โมน Gastrin กระตุ้นการหลั่ง เอนไซม์และกรดไฮโดรคลอริก สร้างฮอร์โมน Secretin กระตุ้นตับอ่อน ให้หลั่ง NaHCO3 สร้างฮอร์โมน Cholecystokinin กระตุ้นการบีบตัวของ ถุงน้ำดี และตับอ่อนให้ หลั่งเอนไซม์
feedback control Negative feedback control ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจะมีผลไปยับยั้งอวัยวะที่หลั่งฮอร์โมนนั้น Positive feedback control ฮอร์โมนบางชนิดกลับไปมีผลกระตุ้นการทำงานของต่อมไร้ท่อ Pheromone บางชนิดเมื่อได้รับการกระตุ้นจะแสดงพฤติกรรมออกมาทันที สัตว์บางชนิดมีฟีโรโมนในการบอกอาณาเขต สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพศเมียเมื่ออยู่ในระยะที่พร้อมผสมพันธุ์ จะปล่อยฟีโรโมนเพื่อดึงดูดเพศผู้มาผสมพันธุ์ บางชนิดกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของผู้รับใน ระยะยาว
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: