91 ตัวอยา่ ง ธนาคารม่งุ ม่นั กาหนดอตั ราดอกเบ้ยี สินเช่อื เพอ่ื ท่อี ยู่อาศยั ดงั น้ี - ปีท่ี 1 - 3 คิดอตั ราดอกเบี้ย 2.5% ต่อปี - ปที ่ี 4 เป็นต้นไป คดิ อตั ราดอกเบี้ย MRR - 1% ตอ่ ปี หมายความว่า ปีที่ 1 - 3 ธนาคารมุ่งม่ันกาหนดอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ ในขณะที่ ปที ่ี 4 เป็นตน้ ไปกาหนดอตั ราดอกเบ้ยี แบบลอยตัว หากในปีที่ 4 ธนาคารมุ่งมั่นประกาศอัตราดอกเบี้ย MRR ไว้ที่ 7% อัตราดอกเบ้ียในปีที่ 4 จะ เท่ากับ 6% (7% - 1%) หรือหากในปีท่ี 5 อัตราดอกเบ้ีย MRR กาหนดไว้ที่ 6% ใน ปีท่ี 5 อัตราดอกเบยี้ จะเท่ากบั 5% (6% - 1%) 3) วิธีการคิดดอกเบี้ย คิดดอกเบ้ียแบบลดต้นลดดอก (effective rate) ซ่ึงเป็น การคดิ ดอกเบีย้ จากฐานเงนิ ต้นท่ลี ดลง กลา่ วคอื เมือ่ เงนิ ต้นลดดอกเบ้ยี ก็จะลดลงด้วย 4) การผ่อนชาระ ใหร้ ะยะเวลาผอ่ นนานแต่ไม่เกิน 30 ปี ข้อควรรู้ 1) เงินผ่อนชาระที่จ่ายไป จะนาไปหักดอกเบ้ียก่อน ที่เหลือจึงจะนาไปหัก เงนิ ตน้ 2) ในช่วงที่คิดอัตราดอกเบ้ียเป็นแบบลอยตัว หากช่วงใดอัตราดอกเบี้ยปรับ สูงขึ้น จานวนเงินที่จ่ายในงวดนั้น ๆ อาจถูกนาไปหักเป็นดอกเบี้ยมากข้ึนและเหลือไปตัดเงินต้น นอ้ ยลง 3) หากคา้ งชาระหรือชาระค่างวดล่าช้า อาจถูกคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบ้ียผิด นัดชาระหน้ีท่ีสูงกว่าอัตราดอกเบ้ียปกติ ซึ่งจะทาให้ต้องจ่ายดอกเบี้ยเป็นจานวนมาก เพราะ ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยจากยอดเงินต้นคงค้างทั้งหมด ซ่ึงหากลูกหนี้ยังคงชาระด้วยจานวนเงิน เท่าเดิมในงวดถัดไป เงินที่ลูกหนี้ชาระเข้าไปอาจไม่ครอบคลุมยอดเงินที่ต้องจ่ายท้ังหมด ส่งผล ใหเ้ งินต้นไม่ลดหรอื ลดน้อยมาก ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 สินเช่ือ
92 2. การเชา่ ซอ้ื (Hire Purchase) มีลักษณะคล้ายการให้สินเชื่อ โดยผู้เช่าซื้อทาสัญญากับผู้ให้เช่าซื้อว่าจะชาระ คา่ สินคา้ เป็นงวด ๆ ตามจานวนเงินและระยะเวลาท่ีกาหนด โดยระหว่างนั้นผู้เช่าซื้อสามารถนา ทรัพย์สินท่ีเช่าซื้อมาใช้งานได้ก่อน โดยท่ีกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินยังเป็นของผู้ให้เช่าซ้ือจนกว่า จะจ่ายเงินครบตามสญั ญาจึงจะโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นมาเป็นของผู้เช่าซ้ือ เช่น การเช่า ซ้อื รถยนตห์ รอื รถจกั รยานยนต์ ลักษณะของการเชา่ ซือ้ รถ 1) วงเงิน กรณใี หเ้ ช่าซือ้ รถใหม่ ประมาณ 75 - 80% กรณีรถใช้แล้วจะข้ึนอยู่กับ สภาพรถและราคาประเมนิ รถ 2) ระยะเวลาการผอ่ นชาระ ประมาณ 12 - 72 เดอื น 3) อัตราดอกเบยี้ ส่วนใหญจ่ ะกาหนดอัตราดอกเบย้ี คงท่ีตลอดอายสุ ญั ญา 4) วิธีการคดิ ดอกเบ้ยี ส่วนใหญ่คิดดอกเบี้ยแบบเงินต้นคงที่ (flat rate) คือ คิด ดอกเบ้ียจากเงินต้นท้ังจานวนและระยะเวลาในการผ่อนชาระทั้งหมด จากนั้นผู้ให้เช่าซ้ือจะนา ดอกเบ้ียท่ีคานวณได้มารวมกับเงินต้น แล้วหารด้วยจานวนงวดท่ีจะผ่อนชาระ ซ่ึงเงินที่ผ่อน ชาระจะเทา่ กันทกุ งวด ข้อควรรู้ 1) หากผู้เช่าซ้ือเคยค้างชาระ และงวดต่อมาชาระหนี้ไม่ครอบคลุมยอดหนี้ คงค้างของงวด ก่อน หรือไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เรียกเก็บ อาจส่งผลให้เงินที่ชาระ ค่างวดนั้นไม่พอตัดเงินต้น และยังคงเป็นหนี้ค้างชาระซึ่งจะถูกคิดเบ้ียปรับและค่าใช้จ่ายในการ ติดตามทวงถามหนี้ในงวดถัดไปได้อกี (ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329 ระบุ ว่า หากเงินที่ลูกหนี้จ่ายเพ่ือชาระหน้ีไม่เพียงพอ ให้นาเงินที่ลูกหนี้ชาระนั้นไปหักค่าธรรมเนียม หรือคา่ ใชจ้ า่ ยอื่น ๆ กอ่ น แล้วจึงหกั ดอกเบยี้ ทเี่ หลือจึงนาไปหกั เงินตน้ ) ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 สนิ เชื่อ
93 2) หากผู้เช่าซอ้ื ต้องการชาระค่าเช่าซื้อทั้งหมดเพ่ือปิดบัญชีก่อนครบกาหนด ผู้ให้เช่าซื้อต้อง ให้ส่วนลดแก่ผู้เช่าซื้อในอัตราไม่น้อยกว่า 50% ของดอกเบี้ยเช่าซื้อที่ยังไม่ถึงกาหนดชาระ โดยให้คดิ คานวณตามมาตรฐานการบญั ชวี า่ ดว้ ยเร่ืองสญั ญาเชา่ 3) ผู้ให้เช่าซ้ือสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าซ้ือได้ หากผู้เช่าซื้อผิดนัดชาระค่าเช่าซื้อ 3 งวด ติดกัน อย่างไรก็ดี ผู้ให้เช่าซ้ือต้องมีหนังสือบอกกล่าวผู้เช่าซ้ือให้ชาระหน้ีท่ีค้างชาระภายใน 30 วนั นบั จากวันที่ผเู้ ช่าซ้ือไดร้ ับหนังสอื หากเลยกาหนดและผู้เชา่ ซอื้ ยังไมม่ าชาระ ผู้ให้เช่าซ้ือจึงจะ มีสทิ ธบิ อกเลิกสญั ญาและดาเนนิ การนารถกลบั คืนได้ แต่หากผู้เช่าซ้ือได้นาเงินไปชาระครบถ้วน ภายในระยะเวลาที่ผูใ้ หเ้ ชา่ ซอ้ื กาหนดไว้ ผใู้ ห้เชา่ ซื้อไม่มสี ทิ ธิ์ทจี่ ะยึดรถคืนจากผเู้ ชา่ ซื้อ 4) การยึดรถจะใช้กาลังขู่เข็ญหรือทาร้ายร่างกายไม่ได้ หากมีการกระทาดังกล่าวให้แจ้ง ความดาเนนิ คดีท่สี ถานตี ารวจ และร้องเรียนตาม พ.ร.บ. การทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ซ่ึงมี หน่วยงานที่มีหน้าท่ีรับเร่ืองร้องเรียน ได้แก่ กรมการปกครอง สถานีตารวจท้องที่ สานักงาน เศรษฐกิจการคลัง กองบญั ชาการตารวจนครบาล ที่ทาการปกครองจงั หวดั และท่วี ่าการอาเภอ ขอ้ ควรระวงั กรณีมีผู้อ้างตัววา่ เป็นเจ้าหนา้ ท่ีของสถาบนั การเงนิ หรอื บริษทั ท่เี ปน็ ผู้ใหเ้ ชา่ ซ้ือรถมาติดต่อ ผู้เช่า ซ้ือควรขอตรวจสอบเอกสารแสดงตนว่าเป็นผู้รับมอบอานาจจริงหรือไม่ เช่น ใบรับมอบ อานาจ บัตรประจาตัวเจา้ หน้าที่ และโทรศัพทต์ ดิ ต่อผู้ให้เช่าซ้ือโดยตรงว่ามีการมอบอานาจให้ บุคคลตามทกี่ ล่าวอ้างมายึดรถจรงิ หรือไม่ด้วย รวมถึงตรวจสอบประวัติการค้างชาระของตนเอง วา่ ไดเ้ ขา้ ส่กู ระบวนการยึดรถแล้วหรอื ไม่ อยา่ งไร 5) หลังจากผู้ให้เช่าซ้ือยึดรถไปแล้ว ก่อนที่จะนารถออกขาย ต้องแจ้งผู้เช่าซื้อและผู้ค้า ประกัน (ถ้ามี) ทราบล่วงหน้าเป็นหนังสือไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้ผู้เช่าซ้ือใช้สิทธ์ิซื้อรถคืน หากผเู้ ชา่ ซื้อไมใ่ ชส้ ิทธิ์ ผใู้ หเ้ ช่าซ้อื ก็จะนาออกประมูลขาย ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สินเชอ่ื
94 - หากขายได้ราคามากกว่ายอดหนี้ท่ีค้างชาระ ผู้ให้เช่าซ้ือต้องคืนเงิน สว่ นเกินให้แกผ่ ู้เชา่ ซ้ือ - หากขายได้ราคาน้อยกว่ายอดหนี้ท่ีค้างชาระ ผู้เช่าซื้อยังต้องชาระหน้ี สว่ นตา่ งใหแ้ กผ่ ู้ให้เช่าซ้ือจนครบจานวน 6) แม้ว่ารถจะให้ความสะดวกสบายแต่ก็มีค่าใช้จ่ายมากมายตามมา นอกเหนือไปจากค่าผ่อน รถในแต่ละเดือน ถ้ายังไม่มั่นใจว่าจะรับมือกับค่าใช้จ่ายได้ก็ควรชะลอการซ้ือรถออกไปก่อน และใชเ้ วลาชว่ งทีย่ งั ไมพ่ ร้อมน้เี กบ็ เงนิ ดาวน์เพิ่มขน้ึ เพือ่ จะไดล้ ดภาระค่าผ่อนชาระในอนาคต คา่ บารุงรกั ษา พ.ร.บ. นา้ มนั ต่อทะเบยี น ทางด่วน ลา้ งรถ ประกันภยั คา่ งวด 3. สินเชือ่ สว่ นบคุ คลภายใต้การกากับ เป็นสินเช่ือส่วนบุคคลท่ีไม่ต้องใช้หลักประกัน เป็นการให้กู้ เพื่อนาไปใช้จ่ายเพ่ือการอุปโภคบริโภค แต่ไม่รวมถึงการให้ เช่าซื้อและลีสซิ่งรถยนต์หรือจักรยานยนต์ สินเช่ือเพื่อ การศึกษา สินเชื่อเพื่อการเดินทางไปทางานในต่างประเทศ สนิ เชือ่ เพื่อรกั ษาพยาบาล สินเชื่อเพอื่ สวัสดกิ ารพนกั งาน ในปจั จุบนั สนิ เชอ่ื สว่ นบคุ คลภายใต้การกากับ มี 3 รปู แบบ คือ 1) เช่าซ้ือสินค้ารายช้ิน ผู้ให้บริการสินเช่ือส่วนบุคคลจะออกบัตรสมาชิกให้ หรือที่มกั เรยี กกนั วา่ “บตั รผอ่ นสินค้า” เพือ่ นาไปใช้เมอ่ื ต้องการซ้ือสินค้าและบริการจากร้านค้า ร่วมรายการ จากนั้นทยอยชาระคนื เปน็ รายเดอื น ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 สินเช่ือ
95 2) รับเงินสดทั้งก้อนแล้วทยอยผ่อนชาระคืนเป็นรายเดือน เหมาะกับผู้ที่ ตอ้ งการเงนิ ไปใชจ้ า่ ยเป็นก้อน 3) วงเงินสารองพร้อมใช้ผ่านบัตรกดเงินสด หลังจากท่ีได้รับอนุมัติวงเงิน สินเชอื่ แล้ว ผถู้ อื บัตรสามารถเบกิ ถอนเงินออกมาใชไ้ ดต้ ลอดเวลา ลกั ษณะของสนิ เชอ่ื บุคคลภายใตก้ ารกากบั 1) คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นบุคคลท่ีผู้ให้สินเชื่อพิจารณาแล้วเห็นว่ามีฐานะทาง การเงินเพียงพอทจี่ ะชาระหนีไ้ ด้ 2) วงเงิน ไม่เกิน 5 เท่าของรายได้เฉลี่ยต่อเดือน หรือของกระแสเงินสด หมุนเวยี นในบญั ชีเงินฝากเฉล่ียยอ้ นหลงั ไม่น้อยกว่า 6 เดือน 3) อัตราดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียม รวมกันแล้วไม่เกิน 28% ต่อปี นอกจากนี้ อาจเรียกเก็บค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ผู้ประกอบธุรกิจได้จ่ายให้ แก่ บคุ คลภายนอก เช่น คา่ ใชจ้ า่ ยติดตามทวงถามหนี้ 4) วธิ กี ารคิดดอกเบย้ี ฯ คิดดอกเบีย้ แบบลดต้นลดดอก ก่อนตัดสินใจขอสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับ ควรสารวจความพร้อม ของตนเองกอ่ น ดงั นี้ - เลือกใช้บริการจากสถาบันการเงินหรือบริษัทที่ได้รับอนุญาต เนื่องจาก มีข้อดีหลายประการ ได้แก่ ได้รับเงินกู้เต็มจานวน ดอกเบี้ยถูกกว่าเงินกู้นอกระบบ และมี หนว่ ยงานทางการกากบั ดูแล - ศึกษาและเปรียบเทียบข้อมูลเรื่องอัตราดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ ค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ ก่อนเลือกใชบ้ ริการ - ระมัดระวังโฆษณาท่ีระบุในทานองว่า “ดอกเบี้ยต่อเดือนน้อยนิด” แต่ต้องดูว่าอัตราดอกเบ้ียดังกล่าวใช้หน่วยอะไร เช่น ถ้าเป็นอัตราต่อเดือน ให้คูณ 12 จึงจะได้ อตั ราดอกเบี้ยต่อปี ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 สินเชื่อ
96 - อยา่ ใช้บริการเพียงเพราะต้องการของแถม 4. บัตรเครดิต เป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีออกโดยธนาคารพาณิชย์หรือผู้ประกอบ ธรุ กจิ บัตรเครดิต (ผอู้ อกบัตร) เพ่อื ให้ผู้บรโิ ภค (ผูถ้ ือบัตร) นาไปใช้ ชาระคา่ สินค้าและบรกิ ารแทนเงนิ สด โดยไม่ต้องพกเงินสดจานวน มาก หรือทารายการซ้ือสินค้าและบริการแบบออนไลน์ผ่าน อินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งผู้ออกบัตรจะจ่ายเงินให้กับร้านค้าไปก่อน และ ผู้ถือบัตรสามารถใช้บัตรเครดิตเบิกถอนเงินสดออกมาใช้ในยาม ฉุกเฉินได้ด้วย โดยไม่เกินวงเงินที่ผู้ออกบัตรกาหนดไว้ และจะ ถูกเรียกเก็บเงินพร้อมดอกเบี้ย (ถ้ามี) จากผู้ออกบัตรตาม ระยะเวลาทก่ี าหนด ลักษณะสาคัญของบัตรเครดิต 1) คุณสมบัติผู้สมัคร มีรายได้ไม่น้อยกว่า 15,000 บาทต่อเดือนหรือมีเงินฝาก หรอื สินทรัพยต์ ามทธี่ นาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กาหนด 2) วงเงิน ไม่เกิน 5 เท่าของรายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ เดือน 3) อัตราดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียม รวมกันแล้วไม่เกิน 20% ต่อปี หรอื ข้ึนกับประเภทเงินฝากหรือสินทรัพย์ตามเกณฑ์ท่ี ธปท. กาหนด - หากชาระหน้ีบัตรเครดิตตรงเวลาและเต็มจานวน จะได้รับระยะเวลา ปลอดดอกเบย้ี ฯ ประมาณ 45 – 55 วัน - หากชาระหน้ีบัตรเครดิตล่าช้า ชาระขั้นต่า หรือชาระบางส่วน จะถูกคิด ดอกเบ้ียฯ ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สนิ เช่ือ
97 - กรณีเบิกถอนเงินสดด้วยบัตรเครดิตจะไม่มีช่วงเวลาปลอดดอกเบ้ียและ ถูกเรียกเก็บค่าธรรมเนียมได้อีกไม่เกิน 3% ของจานวนเงินสดที่ถอน และภาษีมูลค่าเพ่ิม 7% ของคา่ ธรรมเนียมการเบกิ ถอน 4) วิธีการคดิ ดอกเบย้ี ฯ เปน็ การคดิ ดอกเบยี้ แบบลดตน้ ลดดอก ข้อควรรู้ ควรชาระเต็มจานวนและตรงเวลา แต่หากไม่สามารถชาระเต็ม จานวนได้ กต็ อ้ งชาระหนี้ข้นั ต่าไมน่ ้อยกว่า 10% ของยอดหน้คี งค้างในแต่ละงวด (ผู้ออกบัตรจะ กาหนดจานวนเงินข้ันต่าไว้ด้วย เช่น ชาระขั้นต่าไม่น้อยกว่า 10% ของยอดหนี้คงค้างแต่ต้อง ไมน่ ้อยกว่า 1,000 บาท) ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 สินเชอ่ื
98 เร่ืองท่ี 3 วธิ ีการปอ้ งกันปัญหาหนี้ เม่ือได้รับอนุมัติสินเชื่อแล้ว จะต้องปฏิบัติตนเองให้มีวินัยทางการเงินอย่าง เคร่งครดั เพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ใหห้ นส้ี ร้างปญั หาใหแ้ กต่ นเอง ดังนี้ 1. ใช้เงินตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังใจขอสินเช่ือจริง ๆ เช่น กู้มาประกอบอาชีพ กไ็ ม่แบ่งเงินไปทาอย่างอนื่ เพราะอาจทาใหเ้ หลือเงินไม่พอทจี่ ะทาในสงิ่ ทต่ี ง้ั ใจและมปี ระโยชน์ 2. จ่ายเงินให้ตรงเวลาและตามเงื่อนไข เพ่ือจะได้ไม่เสียค่าปรับกรณีชาระ ล่าช้า หรือถูกคิดค่าติดตามทวงถามหน้ี นอกจากน้ี ควรศึกษาเง่ือนไขและค่าธรรมเนียมของ สนิ เชอื่ นน้ั ๆ ด้วย 3. ตรวจสอบความถูกต้องเม่ือได้รับใบแจ้งหนี้และใบเสร็จรับเงิน เช่น ยอดเงนิ ถกู ต้องหรอื ไม่ หากพบว่าไม่ถกู ต้อง ควรรบี แจ้งเจา้ หน้โี ดยเรว็ 4. ชาระทันทีเม่ือมีเงินก้อน จะช่วยลดภาระหน้ีได้ (แต่ต้องมั่นใจว่าไม่เสีย ค่าปรับหากชาระหน้ีก่อนกาหนด หรือถ้ามีค่าปรับ ต้องดูก่อนว่าคุ้มกับดอกเบี้ยท่ีประหยัดได้ หรือไม)่ 5. แจง้ เจ้าหนใ้ี ห้ทราบทุกคร้ังเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงท่ีอยู่ เพื่อป้องกันการขาด การติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งกนั 6. หากจะก่อหนีเ้ พมิ่ อกี อย่าลืมตรวจสอบภาระหนีท้ ต่ี ้องผอ่ นตอ่ เดอื น ไมค่ วรเกิน 1 ใน 3 (33%) ของรายไดต้ อ่ เดอื น เพ่ือให้มั่นใจว่าจะสามารถชาระหนี้ได้ หากเกนิ แลว้ ควรชะลอการก่อหน้ไี ว้กอ่ น กจิ กรรมท้ายเรอื่ งท่ี 3 วิธีการป้องกนั ปญั หาหน้ี (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากจิ กรรมเรือ่ งท่ี 3 ที่สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู้) ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สินเชื่อ
99 เรอ่ื งที่ 4 วธิ กี ารแก้ปัญหาหน้ดี ว้ ยตนเอง ในขณะท่ีเริ่มต้นเป็นหนี้ มีคนจานวนไม่น้อยที่ขาดการวางแผนและการมีวินัย ทางการเงิน ทาให้ไปสร้างภาระหน้ีใหม่เพิ่มอีกเร่ือย ๆ นานวันเข้าภาระหน้ีก็เพิ่มขึ้นจน กลายเป็นหนล้ี น้ พ้นตัว ดังนั้น หากพบปัญหาหนี้ที่เร่ิมสร้างปัญหา ก็ไม่ควรรอช้าที่จะจัดการหนี้ กอ่ นที่จะสายเกนิ ไป แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ 1. ยอมรบั ว่าตนเองเปน็ หนี้ และมีความต้งั ใจทจี่ ะแกป้ ัญหา 2. สารวจภาระหนท้ี ้งั หมด เพ่ือรวบรวมรายละเอยี ดหน้ีท่ีมีท้ังหมด ซึ่งจะทาให้ รู้ว่าตนเองมีหนีอ้ ะไรบา้ ง จานวนเทา่ ไร 3. จัดลาดับความสาคัญของหนี้ท่ีต้องชาระ เม่ือทราบจานวนหน้ีทั้งหมดท่ี ตนเองมีแล้ว การจัดลาดับการปลดหน้ีจะทาให้จัดการหนี้ให้หมดไปได้ง่ายข้ึน โดยอาจใช้วิธี จดั ลาดบั หน้ีทตี่ อ้ งชาระดังนี้ - กาจดั หน้ีแพงก่อน ในกรณีท่ีอัตราดอกเบี้ยต่างกันมาก ให้เลือกจ่ายหน้ี ทีอ่ ตั ราดอกเบ้ยี สงู ก่อน เชน่ หนีน้ อกระบบ เพอื่ ป้องกนั ดอกเบย้ี ที่อาจพอกพูนอยา่ งรวดเรว็ - จ่ายหนี้ก้อนเล็กก่อน ในกรณีที่หน้ีมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากันหรือ ไมแ่ ตกตา่ งกันมาก ให้เลือกจ่ายหน้ีท่ีมีมูลค่าน้อยก่อน เพื่อลดจานวนรายการหน้ีให้น้อยลงเมื่อ เห็นจานวนบญั ชหี รือเจ้าหนล้ี ดลงเร่ือย ๆ กจ็ ะมีกาลังใจเพม่ิ ขึน้ ในการปลดหนกี้ ้อนทเ่ี หลอื ตอ่ ไป 4. มองหาวิธีการแก้ไขปัญหาหนี้ ซึ่งหากเป็นปัญหาหน้ีท่ีไม่ถึงขั้นล้นพ้นตัว ก็สามารถปลดหนด้ี ้วยตนเองได้ แตห่ ากปัญหาหนีน้ ้ันมากเกินจะจดั การก็ควรเจรจากบั เจา้ หน้ี ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สินเชื่อ
100 การแกไ้ ขปัญหาหนีด้ ้วยตนเอง สาหรับผู้ท่ีรู้ว่าตนเองมีปัญหาหนี้ แต่ยังไม่ถึงข้ันล้นพ้นตัว การปลดหน้ีด้วยตนเองจึงเป็นเรื่องที่ ไมย่ ากเกนิ ไป เริ่มตน้ ง่าย ๆ ดังนี้ 1. ลดรายจ่าย โดยเริ่มต้นจากการหาข้อบกพร่องในการใช้จ่ายของตนเองก่อน วา่ ตนเองหมดเงนิ ไปกับคา่ ใช้จา่ ยอะไรบ้าง ซ่งึ อาจเรม่ิ จากการจดบันทึกในแต่ละวัน แล้วมาดูว่า มีค่าใช้จ่ายอะไรท่ีพอจะงดหรือลดลงได้บ้าง เช่น ค่าหวย ค่าบุหร่ี ค่ากินเล้ียงสังสรรค์ เมื่อลด คา่ ใช้จ่ายได้ ก็จะมีเงินออมมากข้นึ หรอื นาเงินไปจ่ายหนไ้ี ดม้ ากข้นึ 2. เพิ่มรายได้ อาจหารายได้เสริม หรือเปล่ียนงานอดิเรกให้กลายเป็นรายได้ เช่น ทาขนมขาย รับสอนพิเศษ เมื่อมีรายไดเ้ พ่ิมขึน้ จะช่วยใหส้ ามารถชาระหนไ้ี ด้เพ่ิมขน้ึ 3. สารวจสินทรัพย์ท่ีมี และขายสินทรัพย์ท่ีไม่จาเป็นเพื่อนาเงินไปชาระหนี้ อย่างไรก็ดี หากเป็นสินทรัพย์หรืออุปกรณ์ในการประกอบอาชีพและมีความจาเป็นต้องใช้ ก็ไม่ ควรจะขาย เพราะจะย่งิ กระทบต่อการเพิ่มรายได้ 4. ตั้งเป้าหมายปลดหนี้ ปลดหน้ีในท่ีนี้หมายถึง มุ่งมั่นตั้งใจและเพิ่มความ พยายามในการใช้หนี้ให้หมดโดยเร็ว แต่ยังคงชาระหนี้อ่ืน ๆ ตามกาหนดเพ่ือรักษาประวัติ เครดิตทด่ี ีเอาไว้ อยา่ งไรกด็ ี อยา่ นาเงนิ ไปใช้หนีห้ มดจนไมม่ เี งินเกบ็ ออม เพราะหากมีเหตุฉุกเฉิน ต้องใช้เงนิ อาจตอ้ งหนั กลับไปเป็นหนอี้ กี จงึ ควรใช้หนี้และออมไปพรอ้ ม ๆ กนั 5. ติดตามอย่างใกล้ชิด ว่าสามารถทาได้ตามเป้าหมายหรือไม่ หากไม่เป็นไป ตามแผน อาจหาทางปรับแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน เม่ือปลดหน้ีได้แล้วก็ไม่ควร กลับไปก่อหน้อี ีกแต่หาทางปลดภาระหน้กี อ้ นอื่น ๆ ต่อไป (ถ้ามี) และสะสมเงินออมให้มีมากขึ้น เพื่อไวใ้ ช้ในยามจาเป็น กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 4 วธิ ีการแกป้ ญั หาหนดี้ ้วยตนเอง (ใหผ้ เู้ รียนไปทากจิ กรรมเรอ่ื งที่ 4 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นร)ู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 สนิ เชอ่ื
101 บญั ญตั ิ 8 ประการ เพอื่ เปน็ หนี้อย่างเปน็ สุข 1. กอ่ หนี้เมือ่ จาเป็น ควรเลือกก่อหนท้ี ดี่ ี และตอ้ งเป็นหน้ีที่เกิดจากความจาเป็น มากกวา่ ความต้องการหรอื ความอยากได้ 2. ไม่เน้นตามกระแส ไม่ควรเป็นหนี้เพ่ือนาไปซื้อของฟุ่มเฟือยท่ีไม่มีความจาเป็นต่อการดารง ชวี ิตประจาวนั เพราะจะย่ิงทาใหส้ ร้างหนี้เกนิ ความจาเป็น 3. ไม่ดีแน่ถ้าภาระหนี้เกิน 1 ใน 3 ของรายได้ต่อเดือน เมื่อใดท่ีจะก่อหน้ีควรดูความสามารถ ในการผ่อนชาระของตนเองด้วย โดยภาระผ่อนหนี้ท่ีมีอยู่ (ถ้ามี) บวกกับภาระ ผอ่ นหนใ้ี หม่ เมื่อรวมกันแล้วไมค่ วรเกนิ 1 ใน 3 (33%) ของรายได้ต่อเดือน 4. อ่านและถามก่อนเซ็นสัญญา ในการทาสัญญาเงินกู้ ก่อนท่ีจะเซ็นช่ือในสัญญา ต้องอ่าน สาระสาคัญและทาความเข้าใจเงื่อนไขการให้กู้ยืม เช่น จานวนเงินที่กู้ยืมท้ังที่เป็นตัวเลขและ ตัวอักษรต้องตรงกัน ระยะเวลาการกู้ อัตราดอกเบ้ีย เง่ือนไขการผิดนัดชาระหน้ี และเงื่อนไข การชาระหน้ี 5. ใช้เงินกู้ที่ได้มาตามวัตถุประสงค์ เมื่อได้สินเช่ือมาก็ควรใช้ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งใจไว้ ไมน่ าไปใชน้ อกลู่นอกทาง 6. จ่ายตรงตามเวลา การชาระหนี้ล่าช้าอาจสร้างภาระค่าใช้จ่ายมากเกินไป เช่น ดอกเบี้ยหรือ คา่ ปรับกรณีชาระลา่ ชา้ ค่าตดิ ตามทวงถามหน้ี 7. รี บ เ จ ร จ า ก่ อ น ห นี้ ท่ ว ม ลู ก ห น้ี ที่ ไ ม่ ค่ อ ย มี วิ นั ย เ ช่ น ผ่ อ น บ้ า ง ไ ม่ ผ่ อ น บ้ า ง ผ่อนไม่ตรงกาหนดบ้าง อาจส่งผลให้ภาระหนี้สูงข้ึนเรื่อย ๆ หากมีปัญหาการชาระหน้ี ควรรีบ เจรจากบั เจา้ หนีเ้ พ่ือหาทางออกแกไ้ ขปญั หา 8. ไม่ติดบ่วงหน้ีนอกระบบ เพราะนอกจากดอกเบี้ยสูงเกินไปแล้ว หากไม่ชาระอาจถูกทวงหน้ี โหดได้ ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 สินเชื่อ
102 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 4 สทิ ธแิ ละหน้าท่ขี องผู้ใช้บริการทางการเงิน สาระสาคัญ ผู้ใช้บริการทางการเงินมีสิทธิท่ีพึงตระหนัก 4 ประการเพื่อให้สามารถเลือกใช้ บริการทางการเงินได้อย่างเหมาะสมและตรงกับความต้องการของตนเอง และยังมีหน้าท่ีท่ีควร ปฏบิ ัติด้วยความรบั ผดิ ชอบอกี 5 ประการเพอ่ื ลดความเสยี่ งและความเสยี หายท่ีอาจเกิดจากการ ใชบ้ รกิ ารทางการเงิน รวมถึงรู้จักบทบาทหน้าที่ของศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) และหน่วยงานที่รบั เรอื่ งรอ้ งเรยี นอื่น ๆ ตวั ช้วี ัด 1. บอกสิทธิของผูใ้ ช้บริการทางการเงนิ 2. บอกหน้าทขี่ องผู้ใช้บริการทางการเงิน 3. บอกบทบาทหนา้ ทข่ี องศนู ย์คุ้มครองผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงนิ (ศคง.) และ หนว่ ยงานท่ีรับเรือ่ งร้องเรียนอ่ืน ๆ 4. บอกข้นั ตอนการร้องเรียน 5. บอกหลกั การเขียนหนังสือร้องเรียน ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 สทิ ธขิ องผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงนิ เรื่องที่ 2 หนา้ ที่ของผู้ใช้บริการทางการเงนิ เรอื่ งที่ 3 บทบาทศูนยค์ ุ้มครองผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงิน (ศคง.) และหน่วยงานท่ี รบั เรอ่ื งรอ้ งเรียนอน่ื ๆ เรื่องท่ี 4 ขน้ั ตอนการรอ้ งเรียนและหลกั การเขียนหนังสือร้องเรียน เวลาทใ่ี ช้ในการศึกษา 10 ช่ัวโมง ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สิทธแิ ละหน้าท่ีของผู้ใชบ้ รกิ ารทางการเงิน
103 สอ่ื การเรียนรู้ 1. ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 1 2. หนังสือรู้รอบเรอื่ งการเงินของศูนยค์ ุ้มครองผ้ใู ช้บรกิ ารทางการเงิน ตอน รหู้ นา้ ที่ รักษาสิทธิ เขา้ ใจผลติ ภณั ฑก์ ารเงนิ 3. เว็บไซต์ www.1213.or.th เฟซบุ๊ก www.facebook.com/hotline1213 ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 สิทธแิ ละหน้าทข่ี องผ้ใู ช้บริการทางการเงิน
104 เรื่องที่ 1 สทิ ธขิ องผ้ใู ช้บริการทางการเงิน ปัจจุบันผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินมีความหลากหลาย ซับซ้อน และ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วไปตามพัฒนาการทางเทคโนโลยี ผู้ใช้บริการทางการเงินจึงควรศึกษา หาความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินต่าง ๆ รวมทั้งสิทธิและหน้าที่ในการเป็น ผู้ใช้บริการทางการเงินเพ่ือให้สามารถเลือกใช้บริการอย่างมั่นใจ ตรงกับความต้องการ ไม่เสียสิทธิ ท่ีพึงได้ และเป็นผู้ใช้บริการทางการเงินที่ทาหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมและได้รับประโยชน์สูงสุด โดยผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงินมสี ิทธิ 4 ประการ ดงั น้ี 1. สิทธิท่ีจะได้รับข้อมูลท่ีถูกต้อง (right to be informed) ผู้ใช้บริการ ทางการเงินมีสทิ ธิทจี่ ะได้รบั ขอ้ มูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับบริการที่สนใจ โดยเจ้าหน้าที่สถาบันการเงิน ตอ้ งอธิบายรายละเอียดเกย่ี วกับผลติ ภณั ฑ์และเงอื่ นไขตา่ ง ๆ อย่างถกู ตอ้ ง ชัดเจน และครบถ้วน เพียงพอต่อการตัดสินใจในการใช้บริการ เช่น ลักษณะสาคัญของผลิตภัณฑ์ ผลประโยชน์ท่ี คาดว่าจะได้รับ ความเสี่ยง ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม ตลอดจนค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนเมื่อไม่ทาตาม เงือ่ นไข และการใช้ส่อื ทางการตลาดเพอ่ื ส่งเสริมการขายต้องไม่ชวนเช่ือเกินจริง ไม่ทาให้ผู้ใช้บริการ เข้าใจผิด เมื่อได้รับข้อมูลท่ีถูกต้องและครบถ้วนแล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินก็ควร พิจารณา ตรวจสอบ และสอบถามรายละเอียดให้แน่ใจก่อนตัดสินใจใช้บริการ เพ่ือให้ได้ ผลิตภัณฑแ์ ละบริการทเ่ี หมาะสมและตรงความตอ้ งการของผใู้ ช้บรกิ าร 2. สิทธิที่จะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการได้อย่างอิสระ (right to choose) เจ้าหน้าที่สถาบันการเงินสามารถนาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการอื่น ๆ ควบคู่กับ ผลิตภัณฑ์ท่ีผู้ใช้บริการทางการเงินต้องการ แต่ผู้ใช้บริการทางการเงินควรเลือกผลิตภัณฑ์และ บริการทางการเงินที่ต้องการจริง ๆ เท่าน้ัน โดยคานึงถึงความจาเป็น ประโยชน์ที่ได้รับ ความ คุ้มค่า รวมถึงความสามารถในการรับภาระค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง หากผู้ใช้บริการไม่ต้องการ ผลิตภัณฑ์และบริการที่เจา้ หน้าทเี่ สนอขาย ก็สามารถปฏิเสธได้ ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สิทธแิ ละหน้าท่ีของผู้ใช้บริการทางการเงนิ
105 3. สิทธิท่ีจะร้องเรียนเพ่ือความเป็นธรรม (right to be heard) หากผู้ใช้บริการทางการเงินพบว่าตนเองได้รับการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้องหรือถูกเอาเปรียบ เช่น ได้รับขอ้ มูลที่ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ถูกบังคับให้ซื้อผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ไม่ต้องการ ถูกทาให้ เข้าใจผิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ คานวณดอกเบ้ียผิด ก็สามารถร้องเรียนไปยังสถาบันการเงินท่ีใช้ บริการ และหากยงั ไมไ่ ด้รบั ความเป็นธรรม กส็ ามารถร้องเรียนไปยังหนว่ ยงานท่กี ากับดูแลได้ 4. สิทธิท่ีจะได้รับการพิจารณาค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย (right to redress) ผู้ใช้บริการทางการเงินมีสิทธิได้รับการชดเชยตามความเหมาะสม หากพิสูจน์แล้ว ว่าเป็นความผิดพลาดของสถาบันการเงิน เช่น ไม่ได้ปฏิบัติตามแนวนโยบายท่ีเกี่ยวข้องกับ การนาเสนอข้อมูลหรือการเสนอขายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน หรือปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องกับ การให้บริการทางการเงินอย่างไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะจงใจหรือประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้ ผู้ใช้บริการได้รับความเสียหาย เช่น เจ้าหน้าที่ธนาคารขโมยเงินฝากจากบัญชี ระบบไม่ตัดเงิน จากบัญชีทาให้มียอดหน้ีค้างชาระ แต่ผู้ใช้บริการทางการเงินจะไม่ได้รับการชดเชยหากความ ผิดพลาดนั้นเกิดจากผู้ใช้บริการเอง เช่น ฝากสมุดบัญชีไว้กับเจ้าหน้าท่ีธนาคารเพ่ือทารายการ แทน โอนเงนิ จากเครอื่ งเอทีเอม็ ไปผดิ บัญชีหรือใสต่ ัวเลขจานวนเงนิ ผิด กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 1 สทิ ธิของผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากิจกรรมเรอ่ื งที่ 1 ทีส่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้) ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 สทิ ธิและหน้าท่ขี องผใู้ ช้บริการทางการเงนิ
106 เร่ืองท่ี 2 หน้าท่ขี องผู้ใชบ้ ริการทางการเงนิ นอกจากสถาบันการเงินต้องให้บริการด้วยความรับผิดชอบแล้ว ผู้ใช้บริการทาง การเงินยังมี “หน้าท่ี” ท่ีควรปฏิบัติด้วยความรับผิดชอบเพื่อลดความเส่ียงและความเสียหายที่ อาจเกิดขึน้ จากการใช้บรกิ ารทางการเงิน โดยหน้าทขี่ องผ้ใู ช้บริการทางการเงินมีดงั น้ี 1. วางแผนการเงิน เพ่ือจัดการรายจ่ายให้เหมาะสมกับรายรับ ซึ่งจะทาให้ ทราบฐานะทางการเงินของตนเอง และหากมีปัญหาทางการเงิน ก็จะสามารถมองเห็นสัญญาณ และวางแผนรบั มอื กบั ปัญหาล่วงหน้าได้ 2. ติดตามข้อมูลข่าวสารทางการเงินอย่างสม่าเสมอ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลใน การตัดสินใจเลือกใช้บริการให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการของตนเอง นอกจากข่าวสาร เก่ียวกับบริการทางการเงินแล้ว ภัยทางการเงินก็เป็นสิ่งหน่ึงที่ผู้ใช้บริการทางการเงินไม่ควร ละเลย เพราะการติดตามข่าวสารจะทาให้เข้าใจและรู้ทันรูปแบบการหลอกลวงของมิจฉาชีพ และสามารถปอ้ งกันตวั เองจากมิจฉาชพี ได้ 3. ศึกษารายละเอียดและเปรียบเทียบข้อมูลก่อนเลือกใช้ จะทาให้เข้าใจ ลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการ เง่ือนไขที่เก่ียวข้อง ผลประโยชน์ท่ีจะได้รับ ความเสี่ยง และ ตอ้ งไม่ลมื ทีจ่ ะเปรียบเทียบผลติ ภัณฑท์ ส่ี นใจจากหลาย ๆ แหล่ง เชน่ สถาบันการเงิน ผู้ประกอบ ธุรกิจสินเชื่อท่ีไม่ใช่สถาบันการเงิน (non-bank) เพ่ือเลือกส่ิงท่ีเหมาะสมและตรงกับความ ต้องการของตนเองมากท่ีสุด เช่น สอบถามพนักงาน อ่านและทาความเข้าใจหนังสือช้ีชวนหรือ เอกสารสรุปข้อมูลสาคัญประกอบการเสนอขายผลิตภัณฑ์ (fact sheet) เพื่อเปรียบเทียบ ผลิตภัณฑ์ รูห้ รอื ไมว่ า่ fact sheet ช่วยคุณได้อย่างไร fact sheet หรือเอกสารสรุปข้อมูลสาคัญของผลิตภัณฑ์ คือ ข้อมูลท่ีสถาบัน การเงนิ จัดทาขน้ึ เพอ่ื เปิดเผยใหล้ กู ค้าไดท้ ราบข้อมูลเกยี่ วกับผลิตภัณฑ์หรือบริการทางการเงิน โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ทางการเงินบางประเภทท่ีมีความซับซ้อน เช่น สินเชื่อเพ่ือท่ีอยู่อาศัย ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 สิทธิและหนา้ ท่ีของผู้ใชบ้ รกิ ารทางการเงิน
107 บัญชีเงนิ ฝากแบบขน้ั บันได มอี ะไรอยใู่ น fact sheet 1. ลักษณะสาคัญของผลิตภัณฑ์ เช่น ประเภทของผลิตภัณฑ์ อัตราดอกเบ้ีย วธิ ีคดิ ดอกเบยี้ 2. ค่าบริการหรือค่าธรรมเนียมท่ีสถาบันการเงินอาจเรียกเก็บจากการซื้อ ผลิตภณั ฑ์หรือใช้บรกิ ารเหลา่ นี้ 3. เง่ือนไขและขอ้ กาหนดท่ีควรทราบ fact sheet จะเป็นตัวช่วยท่ีทาให้คุณรู้จักผลิตภัณฑ์นั้น ๆ มากข้ึน และยัง สามารถใช้เปรียบเทยี บกับผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันของสถาบันการเงินอื่น ๆ จึงช่วยให้คุณ ตดั สนิ ใจเลอื กผลิตภัณฑไ์ ด้งา่ ย และตรงกบั ความต้องการดว้ ย อ่าน fact sheet ทกุ ครงั้ ก่อนตดั สินใจ เพอ่ื ประโยชนส์ งู สดุ ของคุณเอง นอกจากน้ี ก่อนลงนามหรอื เซ็นชือ่ ในสัญญาทาธรุ กรรมใด ๆ ผู้ใช้บริการทาง การเงินควรอ่านรายละเอียดสัญญาให้ถ่ีถ้วน และต้องเข้าใจเงื่อนไขของสัญญาก่อนลงนาม หาก ไม่เขา้ ใจ ให้สอบถามเจ้าหน้าท่ี เพือ่ ป้องกันปัญหาท่อี าจเกิดขน้ึ ภายหลงั 4. ตรวจทานความถูกต้องของธุรกรรมทางการเงินทุกคร้ัง เพื่อรักษา ผลประโยชน์ของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลที่สาคัญ เช่น ชื่อบัญชี เลขท่ีบัญชี จานวนเงิน หากพบว่าไม่ถูกตอ้ ง ควรรีบแจ้งเจา้ หน้าท่ีทนั ที 5. ชาระหน้ีเม่ือเป็นหนี้ ก่อนก่อหนี้ให้ดูความสามารถในการชาระหนี้ของ ตนเอง ซ่ึงหากมีความจาเป็นและสามารถผอ่ นชาระไหว กส็ ามารถก่อหน้ีได้ และเม่ือเป็นหน้ีแล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินมีหน้าที่ที่จะต้องชาระหน้ีนั้น หากไม่ชาระหน้ี นอกจากจะทาให้หน้ี เพ่ิมข้ึนเพราะดอกเบี้ยแล้ว ก็จะทาให้ประวัติเครดิตเสีย และเม่ือต้องการกู้เงินเพื่อส่ิงจาเป็นใน อนาคต อาจถูกปฏเิ สธการขอกไู้ ด้ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 2 หน้าท่ขี องผใู้ ชบ้ ริการทางการเงนิ (ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมเรอ่ื งที่ 2 ทสี่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้) ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 สิทธแิ ละหนา้ ที่ของผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงิน
108 เร่ืองที่ 3 บทบาทศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) และหนว่ ยงานท่รี บั เร่ือง รอ้ งเรียนอ่ืน ๆ ศนู ย์คมุ้ ครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน (ศคง.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือแบงก์ชาติได้กาหนดให้การคุ้มครอง ผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงินเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์สาคัญ โดยจัดต้ังศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการ เงิน (ศคง.) ข้ึนเมอ่ื เดอื นมกราคม 2555 เพอ่ื ใหเ้ ป็นศูนย์กลางในการดาเนินงานด้านการคุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงินอย่างเป็นระบบ ผ่านการส่งเสริมความรู้และดูแลเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับ บรกิ ารทางการเงนิ เพ่ือใหส้ ามารถตอบสนองตอ่ ความคาดหวงั ของประชาชนได้ดีย่ิงขึ้น และเอื้อ ต่อการดาเนนิ การทสี่ อดประสานกบั หนว่ ยงานภายนอกโดยมหี นา้ ทหี่ ลัก 3 ประการ คือ 1. ดูแลเร่ืองร้องเรียนที่เก่ียวข้องกับบริการทางการเงินของผู้ให้บริการ ทางการเงินที่อยู่ภายใต้การกากับของ ธปท. (ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัท เครดิตฟองซิเอร์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ บริษัทบัตรเครดิต บริษัทสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้ การกากับ บริษัทสินเช่ือรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพภายใต้การกากับ (นาโนไฟแนนซ์) ผใู้ ห้บริการการชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์ และผูป้ ระกอบธรุ กิจปัจจัยชาระเงินตราต่างประเทศ (เช่น การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ) รวมทั้งบริการทางการเงินอื่นที่แบงก์ชาติดูแล เช่น ธนบัตร พันธบัตร กฎระเบยี บธรุ กรรมเงนิ ตราตา่ งประเทศ 2. ส่งเสริมความรู้เก่ียวกับบริการทางการเงิน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ พื้นฐานทางการเงินเพยี งพอที่จะดูแลตนเองได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการวางแผนการเงิน การมีวินัยทางการเงิน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตนเอง สามารถเลือกใช้บริการทางการเงินได้ อย่างเหมาะสม และรเู้ ทา่ ทันเลห่ ์เหลย่ี มกลโกง 3. ส่งเสริมบทบาทหน้าท่ีของ ธปท. ในการกากับดูแลให้สถาบันการเงิน ให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเป็นธรรม โดยการส่งข้อมูลปัญหา ข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะไปยัง หน่วยงานทั้งภายในและภายนอก ธปท. เพ่ือนาไปใช้ในการกากับดูแลสถาบันการเงินให้ ดาเนินการอย่างถูกต้อง เปน็ ธรรม และคานึงถึงสิทธขิ องผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงนิ ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 สทิ ธิและหนา้ ทขี่ องผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน
109 หนว่ ยงานท่รี ับเรือ่ งรอ้ งเรียนอน่ื ๆ สาหรับผลิตภัณฑ์และผู้ให้บริการทางการเงินที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การกากับดูแล ของแบงก์ชาติ ผ้ใู ชบ้ รกิ ารสามารถขอคาแนะนาหรอื รอ้ งเรียนได้ดังน้ี 1. สานกั งานคณะกรรมการกากบั หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับบริการของบริษัทหลักทรัพย์ บริษัท หลกั ทรัพย์จดั การกองทนุ เช่น หนุ้ สามญั กองทนุ รวม สญั ญาซือ้ ขายลว่ งหน้า โทร. 1207 2. สานักงานคณะกรรมการกากบั และสง่ เสริมการประกอบธรุ กิจประกนั ภยั (คปภ.) มีหน้าที่ใหค้ าปรึกษา แนะนา รับเรือ่ งรอ้ งเรียนเกยี่ วกบั บริการของบริษัทประกันภัย เช่น ประกนั ชีวิต ประกันวินาศภยั โทร. 1186 3. สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั (สศค.) มีหนา้ ท่ใี หค้ าปรกึ ษา แนะนา รบั เรอ่ื ง ร้องเรียนเกีย่ วกับการเงนิ นอกระบบ เชน่ หน้นี อกระบบ แชรล์ กู โซ่ โทร. 1359 4. บรษิ ทั ขอ้ มูลเครดติ แห่งชาติ จากัด (เครดิตบูโร) มีหนา้ ที่ใหค้ าปรึกษา แนะนา รบั เรื่องรอ้ งเรยี นเกี่ยวกบั ข้อมลู ประวตั ิเครดติ โทร. 0 2643 1250 5. สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค (สคบ.) มหี น้าทใ่ี หค้ าปรึกษา แนะนา ร้องเรียนเกี่ยวกับสินค้าและบริการทั่วไป เช่น การโฆษณาเกินจริง การไม่ปฏิบัติตาม สญั ญา โทร. 1166 6. หน่วยงานทีร่ บั เรอ่ื งร้องเรยี นเกยี่ วกับการทวงหนอี้ ยา่ งไมเ่ หมาะสม 1) กรมการปกครอง โทร. 0 2356 9660 2) สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั โทร. 1359 3) ทีท่ าการปกครองจงั หวดั 4) กองบญั ชาการตารวจนครบาล โทร. 0 2354 5249 5) สถานตี ารวจ 6) ท่วี ่าการอาเภอ กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 3 บทบาทศนู ย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงนิ (ศคง.) และหน่วยงาน ท่ีรบั เร่ืองรอ้ งเรียนอื่น ๆ (ให้ผเู้ รยี นไปทากจิ กรรมเรอ่ื งที่ 3 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นร้)ู ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องผู้ใชบ้ รกิ ารทางการเงนิ
110 เรื่องท่ี 4 ข้ันตอนการร้องเรยี นและหลกั การเขียนหนงั สือรอ้ งเรยี น ข้นั ตอนการร้องเรียน หากได้รับการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้องหรือถูกเอาเปรียบจากสถาบันการเงิน หรือ ผู้ให้บริการทางการเงิน เช่น ได้รับข้อมูลไม่ถูกต้องทาให้เข้าใจผิดในตัวผลิตภัณฑ์ คานวณ ดอกเบย้ี ผดิ ผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ สามารถร้องเรียนได้ตามขัน้ ตอนดังน้ี 1. ร้องเรียนท่ีศูนย์บริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินหรือ ผู้ให้บรกิ ารทางการเงินนั้น ๆ เพื่อแจง้ เรอื่ งร้องเรยี นหรอื ปญั หาท่พี บ 2. หากไม่ได้รับการติดต่อกลับภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน5 หรือไม่ได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม สามารถขอรับคาปรึกษาหรือร้องเรียนได้ท่ีศูนย์คุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 ในวันจันทร์ - วันศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. หรอื ชอ่ งทางอ่นื ๆ ดังนี้ 1) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ของ ศคง. [email protected] โดย กรอกขอ้ มลู ตามแบบฟอรม์ ใน www.1213.or.th6 2) เว็บไซต์ ศคง. www.1213.or.th 3) ร้องเรียนด้วยตนเอง เพื่อติดต่อขอพบเจ้าหน้าท่ีตามเวลาราชการ โดยการนดั หมายล่วงหนา้ 4) จดหมาย/โทรสาร (fax) ตามท่อี ย่หู รือหมายเลขโทรสาร ดังนี้ 5 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยศูนยค์ ุม้ ครองผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.) รว่ มกับสมาคมธนาคารไทย และสาขา ของธนาคารพาณชิ ยต์ ่างประเทศที่ใหบ้ รกิ ารลูกคา้ บุคคลธรรมดารายยอ่ ย รวม 18 ธนาคาร กาหนดมาตรฐานการใหบ้ ริการ ของแต่ละธนาคาร (SLA) โดยจัดทาเป็นตารางแสดงระยะเวลาการใหบ้ ริการของธนาคารแต่ละแห่งเผยแพรผ่ า่ นทางเว็บไซต์ ศคง. www.1213.or.th โดยเลอื ก ข้อมลู เปรยี บเทียบ เลอื ก SLA 6 สามารถพิมพไ์ ดจ้ าก www.1213.or.th โดยเลือก เกีย่ วกบั ศคง. เลอื ก ขอรับคาปรึกษาหรอื รอ้ งเรยี น เลอื ก 04 อเี มล ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 สิทธิและหน้าท่ขี องผใู้ ช้บริการทางการเงนิ
111 ภาคกลาง ผอู้ านวยการ ศูนยค์ ุม้ ครองผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานใหญ่ 273 ถนนสามเสน แขวงวดั สามพระยา เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรสาร (fax) 0 2283 6151 ผู้อานวยการอาวโุ ส ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานภาคเหนอื ภาคเหนือ 68/3 ถนนโชตนา ตาบลชา้ งเผือก อาเภอเมอื ง จงั หวดั เชียงใหม่ 50300 หมายเลขโทรสาร (fax) 0 5393 1103 ผอู้ านวยการอาวโุ ส ภาค ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออก 393 ถนนศรจี นั ทร์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น เฉียงเหนือ 40000 หมายเลขโทรสาร (fax) 0 4324 1045 ผู้อานวยการอาวโุ ส ภาคใต้ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานกั งานภาคใต้ 472 ถนนเพชรเกษม อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 หมายเลขโทรสาร (fax) 0 7423 4701 ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สทิ ธแิ ละหน้าทขี่ องผู้ใช้บริการทางการเงิน
112 อยา่ งไรกด็ ี มเี รอื่ งร้องเรียนทีอ่ ยู่นอกเหนอื ขอบเขตการดาเนินการของ ศคง. เชน่ เรื่องร้องเรียนท่ีไม่เก่ียวข้องกับสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจภายใต้ การกากบั ดูแลของ ธปท. เรื่องร้องเรียนที่ศาลมีคาวินิจฉัย คาสั่ง หรือคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดไปแล้ว หรือ เรอื่ งทีอ่ ยใู่ นระหว่างการพิจารณาของศาล เรื่องท่ีขอให้ ธปท. ฟ้องร้องคดีแทน/ช่วยเหลือเงินในการต่อสู้คดี/ช่วยจัดหาหรือ วา่ จา้ งทนายความใหผ้ รู้ อ้ งเรยี น เร่ืองท่ีขอให้ ธปท. เรียกร้อง/ส่ังการให้สถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจภายใต้ การกากบั ดแู ลของ ธปท. ชดใชค้ ่าเสยี หายตามขอ้ พพิ าทที่คู่สัญญาผกู พนั กันทางแพ่ง เรื่องที่เป็นกรณีพิพาทระหว่างพนักงานของสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจ ภายใต้การกากับดูแลของ ธปท. กับสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจข้างต้น ท่ีไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั กฎหมายที่ ธปท. กากับดแู ล เร่อื งท่รี ้องเรียนซา้ เรื่องเดิม ซ่ึง ธปท. ได้เคยดาเนินการจนผู้ร้องเรียนได้รับคาชี้แจงแล้ว หรอื เรอ่ื งรอ้ งเรยี นทข่ี อโตแ้ ยง้ ผลการพิจารณาโดยผูร้ อ้ งเรียนไม่มีข้อมูลใหม่เพิ่มเติม/ การดาเนนิ การทีอ่ ยู่ในอานาจหนา้ ท่ขี องหน่วยงานราชการ/ผกู้ ากบั ดแู ลอน่ื เร่ืองขอความอนุเคราะห์ซึ่งเป็นดุลยพินิจทางธุรกิจของสถาบันการเงินหรือ ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกากับดูแลของ ธปท. และไม่มีข้อขัดต่อกฎหมายหรือ กฎเกณฑ์หรือแนวนโยบายของ ธปท. เช่น การขอปรับปรุงโครงสร้างหน้ี การขอเพ่ิม วงเงนิ สนิ เชอ่ื การขอลด/ยกเวน้ ดอกเบยี้ คา่ ธรรมเนียม หรอื ค่าปรับต่าง ๆ เรือ่ งทเ่ี ป็นกรณีสมมติและให้พจิ ารณาแสดงความเหน็ ว่าถกู หรือผดิ การขอตรวจสอบข้อมลู ของบคุ คลอื่น การขอขอ้ มลู ท่ี ธปท. ไม่ใช่เจา้ ของขอ้ มลู ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 สทิ ธิและหน้าทีข่ องผใู้ ช้บริการทางการเงิน
113 หลักการเขยี นหนังสือร้องเรียน ในการร้องเรียน ควรเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน เช่น เอกสารแสดง ตัวตน (สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน/หนังสือเดินทาง) เอกสารประกอบเรื่องร้องเรียน (เช่น สาเนาใบแจง้ หน้/ี สัญญา) โดยควรดาเนินการ ดงั นี้ เลา่ เหตุการณส์ าคญั โดยมีการเรียงลาดับเหตกุ ารณ์ ใหข้ อ้ มลู ท่ีสาคัญและจาเปน็ ใหค้ รบถว้ น แจง้ ส่งิ ทีต่ อ้ งการใหส้ ถาบันการเงินดาเนนิ การ แจ้งข้อมลู สว่ นตัว เชน่ ช่ือ ทีอ่ ยู่ เบอร์โทรศัพทท์ ่ีสามารถติดต่อได้ แนบเอกสารทเี่ กี่ยวข้องใหค้ รบถว้ น กิจกรรมท้ายกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 4 ขั้นตอนการร้องเรยี นและหลักการเขยี นหนังสือร้องเรียน (ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมเร่ืองท่ี 4 ท่ีสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้) ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สิทธิและหนา้ ทข่ี องผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ
114 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภยั ทางการเงิน สาระสาคัญ รูปแบบการดารงชีวิตท่ีเปลี่ยนแปลงไป ทาให้มิจฉาชีพพัฒนาสารพัดกลโกงเพื่อ หลอกขโมยเงินจากเหย่ือ โดยมักจับจุดอ่อนของเหย่ือคือ ความกลัว ความโลภ และความไม่รู้ มาเป็นตัวช่วย ผู้ใช้บริการทางการเงินจึงจาเป็นต้องรู้เท่าตามทันกลโกงของมิจฉาชีพ ไม่ว่าจะ เปน็ กลโกงที่มาในรูปแบบของการเงินนอกระบบท่ีมีทั้งหนี้นอกระบบและแชร์ลูกโซ่ หรือภัยใกล้ ตัวอนื่ ๆ เพ่ือให้สามารถป้องกนั ตนเองจากภยั เหลา่ นไ้ี ด้ รวมไปถึงรู้จักหน่วยงานหรือองค์กรที่ให้ คาปรกึ ษาหากตกเปน็ เหยอ่ื ภยั ทางการเงิน ตัวชีว้ ดั 1. บอกลักษณะของภยั ทางการเงิน 2. บอกวธิ ีการปอ้ งกันตนเองจากภยั ทางการเงนิ 3. บอกวิธแี ก้ปญั หาทเี่ กิดจากภัยทางการเงิน ขอบข่ายเน้อื หา เร่อื งท่ี 1 หนี้นอกระบบ เรอ่ื งที่ 2 แชร์ลูกโซ่ เรอ่ื งท่ี 3 ภยั ใกลต้ ัว เรอ่ื งท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ เวลาที่ใช้ในการศกึ ษา 20 ช่ัวโมง สอื่ การเรียนรู้ 1. ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 1 2. หนงั สือรู้รอบเรือ่ งการเงนิ ของศนู ย์คุ้มครองผใู้ ช้บริการทางการเงิน ตอน รู้รอบระวังภยั 3. เว็บไซต์ www.1213.or.th เฟซบ๊กุ www.facebook.com/hotline1213 ชดุ วชิ าการเงินเพ่อื ชีวติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ
115 เรื่องที่ 1 หนีน้ อกระบบ เมื่อจาเป็นต้องใช้เงิน แต่ไม่สามารถขอกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ หลายคนคงนึกถึงการกู้เงิน นอกระบบท่ีได้เงินเร็ว ไม่ยุ่งยาก ไม่ต้องมีหลักประกันหรือใช้บุคคลค้าประกัน จนอาจลืมนึกถึง เลห่ ์เหลี่ยมหรือกลโกงท่อี าจแฝงมากับการกู้เงนิ นอกระบบ ลักษณะกลโกงหน้ีนอกระบบ 1. ใชต้ วั เลขน้อย ๆ เพื่อจูงใจ นายทุนเงินกู้นอกระบบมักบอกตัวเลขน้อยเพ่ือจูงใจผู้กู้ ไม่ว่าจะเป็นจานวนเงิน ผ่อนต่องวดหรือดอกเบี้ย เช่น กู้เงิน 10,000 บาท ให้ผ่อนวันละ 150 บาทเป็นระยะเวลา 90 วัน แตเ่ มอ่ื คานวณแลว้ ตอ้ งจ่ายหน้ีคืน 13,500 บาทภายใน 3 เดือน ดอกเบ้ียสูงถึง 35% ต่อ สามเดือน หรอื 140% ต่อปี เจ้าหน้ีบางรายก็บอกแค่อัตราดอกเบ้ีย แต่ไม่ได้บอกว่าเป็นอัตราดอกเบี้ยต่อวัน ต่อเดือน หรือต่อปี เช่น เจ้าหน้ีรายหน่ึงปล่อยเงินกู้ 3% ลูกหนี้เห็นว่าอัตราดอกเบ้ียน้อยกว่า สถาบันการเงนิ กแ็ หไ่ ปกเู้ งิน แตเ่ มอ่ื คานวณดอกเบี้ยทั้งปีแล้ว ลูกหนี้ก็ตกใจ เพราะดอกเบ้ีย 3% น้นั เป็นดอกเบีย้ ตอ่ วัน ถ้าคิดเปน็ ต่อปี กส็ งู ถงึ 1,080% 2. ใหเ้ ซน็ เอกสารที่ไมไ่ ด้กรอกตวั เลข นอกจากจะใช้ตัวเลขค่างวดหรือดอกเบ้ียน้อย ๆ ดึงดูดลูกหนี้แล้ว เจ้าหน้ี บางรายกใ็ ห้ลูกหนี้เซน็ สัญญากู้ยมื โดยท่ยี ังไมไ่ ดก้ รอกตัวเลข ลกู หนรี้ ายหนึ่งต้องใช้เงินคืนเจ้าหนี้ 100,000 บาท ท้ัง ๆ ที่กู้เงินมาแค่ 20,000 บาท เพียงเพราะไปเซ็นสัญญาในเอกสารที่ยังไม่ได้ กรอกจานวนเงนิ กู้ 3. ไมใ่ ห้ลกู หนี้อา่ นเอกสารท่ตี ้องเซ็น เจ้าหนี้บางรายไม่ยอมให้ลูกหน้ีอ่านเอกสารที่จะต้องเซ็น เช่น เจ้าหนี้หวังจะ ยึดเอาท่ีดินของลูกหน้ีที่นามาค้าประกันเงินกู้ จึงหลอกว่าเป็นการทาสัญญาจานอง แต่แท้จริง เป็นสัญญาขายฝาก ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงนิ
116 4. บบี ใหเ้ ซน็ สญั ญาเงินกู้เกนิ จรงิ เจ้าหน้ีบางรายบีบบังคับให้ลูกหนี้เซ็นสัญญาเงินกู้เกินจริง เช่น ขอกู้ 10,000 บาท แต่บงั คบั ใหเ้ ซ็นในเอกสารทเ่ี ขียนว่าขอกู้ 30,000 บาท ลกู หน้บี างรายมีความจาเป็นต้องใช้ เงิน กจ็ าใจเซน็ สญั ญานนั้ 5. ทาสญั ญาขายฝากแทนสญั ญาจานอง เจ้าหน้ีหลายรายหลอกลูกหน้ีให้ทาสัญญาขายฝากแทนสัญญาจานอง ถึงแม้ เจา้ หนจี้ ะอา้ งวา่ เป็นการคา้ ประกนั เงินกู้เหมือนกัน แต่การบังคับหลักประกันต่างกัน สัญญาขาย ฝากจะทาให้กรรมสิทธ์ิของบ้านหรือที่ดินนั้นตกเป็นของเจ้าหน้ีต้ังแต่วันที่ทาสัญญา ซ่ึงลูกหน้ี จะต้องไถ่บ้านหรือท่ีดินคืนภายในเวลาที่กาหนด หากช้าเพียงวันเดียว บ้านหรือที่ดินนั้นก็จะ ตกเปน็ ของเจา้ หน้ีทันที โดยเจา้ หน้ีไมต่ อ้ งมีหนงั สือแจ้งหรอื ฟ้องศาลเพื่อบงั คบั คดี ด้วยเหตุนี้เจ้าหนี้นอกระบบบางคนจึงบ่ายเบ่ียง หลบหน้าลูกหนี้เพ่ือไม่ให้มี โอกาสได้ไถ่ถอนบ้านหรือที่ดินน้ันคืนในเวลาที่กาหนด หรือไม่ยอมขยายเวลาไถ่ให้ (การขยาย เวลาไถ่ต้องทาหลักฐานเป็นหนังสือพร้อมลงลายมือช่ือ) โดยเฉพาะบ้านหรือที่ดินท่ีอยู่ในทาเลดี และมมี ูลค่ามากกวา่ ยอดหนี้ 6. หลีกเลยี่ งใหก้ ู้โดยตรง หลายคร้ังท่ีสัญญาอาพรางเงินกู้ถูกนามาใช้เพ่ือหลอกล่อผู้ที่เดือดร้อนเรื่องเงิน เช่น ลูกหน้ีรายหน่ึงติดต่อขอกู้เงินกับเจ้าหนี้นอกระบบจานวน 20,000 บาท เจ้าหนี้บังคับให้ ลูกหน้ีใช้บัตรผ่อนสินค้าหรือบัตรเครดิตซ้ือสินค้าที่กาลังเป็นที่นิยมมูลค่า 23,000 บาทเพ่ือมา แลกกบั เงนิ กู้ 20,000 บาท ลูกหนีไ้ ดเ้ งนิ มาแค่ 20,000 บาท แตก่ ลับตอ้ งแบกภาระเงินกู้สูงถึง 23,000 บาท กับบริษัทบัตรผ่อนสินค้าหรือบริษัทบัตรเครดิต และยังมีภาระดอกเบ้ียท่ีต้องจ่ายอีกต่างหาก สว่ นเจา้ หน้แี ทบจะไม่มคี วามเสีย่ งใดเลย แถมยังไดส้ นิ ค้าในราคาถูกอีกดว้ ย ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงิน
117 7. ทวงหนโ้ี หด นอกจากภาระดอกเบี้ยท่ีแสนแพงแล้ว ลูกหน้ีเงินกู้นอกระบบอาจต้องเจอกับ การทวงหน้ีโหดหากไม่ชาระตรงตามเวลา ซึ่งเจ้าหน้ีอาจไม่ได้แค่ขู่หรือประจานให้ได้อาย แต่ บางรายก็ถงึ ขน้ั ทารา้ ยรา่ งกาย วธิ ปี ้องกันภัยหน้ีนอกระบบ 1. หยุดใช้เงินเกินตัว – ตรวจสอบพฤติกรรมการใช้เงินของตนเองโดยการจด บนั ทึกรายรับ-รายจ่าย แลว้ วางแผนใชเ้ งนิ อยา่ งเหมาะสมกับรายไดแ้ ละความจาเป็น 2. วางแผนการเงินล่วงหน้า – คานึงถึงค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ท่ีอาจเกิดขึ้นใน อนาคต เช่น ค่าเล่าเรียนลูก แล้ววางแผนทยอยออมล่วงหน้า รวมถึงออมเงินเผ่ือเหตุการณ์ ฉกุ เฉินดว้ ย 3. คิดให้ดีก่อนตัดสินใจก่อหนี้ – ทบทวนดูความจาเป็นว่าต้องใช้เงินจริง ๆ หรือไม่ และหากต้องกู้จริง ๆ จะสามารถชาระหน้ีได้หรือไม่ เพราะนอกจากดอกเบี้ยท่ีแสนแพง แลว้ อาจตอ้ งเจอกบั เหตุการณ์ทวงหนี้แบบโหด ๆ อกี ดว้ ย 4. เลือกกู้ในระบบ – หากจาเป็นต้องกู้ ควรเลือกกู้ในระบบดีกว่า เพราะ นอกจากจะมหี นว่ ยงานภาครัฐคอยดูแลแลว้ ยงั ระบดุ อกเบี้ยในสญั ญาชัดเจนและเป็นธรรมกวา่ 5. ศึกษารายละเอียดผู้ให้กู้ – ดูว่าผู้ให้กู้น้ันน่าเช่ือถือหรือไม่ มีเง่ือนไขชาระเงิน หรอื อตั ราดอกเบ้ยี ทเ่ี อาเปรียบผู้กู้เกินไปหรือไม่ 6. ศึกษาวิธีคิดดอกเบ้ีย – หน้ีนอกระบบมักคิดอัตราดอกเบี้ยด้วยวิธีเงินต้นคงที่ (flat rate) ซ่ึงทาให้ลูกหนี้ต้องจ่ายดอกเบี้ยมากกว่าการคิดดอกเบ้ียแบบลดต้นลดดอก (effective rate) เพราะดอกเบี้ยจะถูกคิดจากเงินต้นทั้งก้อนแม้ว่าจะทยอยจ่ายคืนทุกเดือน กต็ าม ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชีวติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงนิ
118 7. หากจาเปน็ ต้องกู้เงินนอกระบบต้องใสใ่ จ ไม่เซ็นสัญญาในเอกสารที่ยังไม่ได้กรอกข้อความหรือวงเงินกู้ไม่ตรงกับ ความจรงิ ตรวจสอบข้อความในสัญญาเงนิ กู้ รวมถึงดูวา่ เป็นเง่อื นไขทีเ่ ราทาไดจ้ รงิ ๆ เกบ็ สัญญาคู่ฉบบั ไวก้ ับตวั เพ่ือเป็นหลักฐานการกู้ ทาสัญญาจานองแทนการทาสัญญาขายฝาก เพราะการขายฝากจะทาให้ กรรมสิทธ์ติ กเปน็ ของเจา้ หนท้ี นั ทหี ากผู้กไู้ ม่มาไถ่คืนตามกาหนด 8. ติดตามขา่ วสารกลโกงเป็นประจา ทาอยา่ งไรเมอื่ ตกเปน็ เหย่อื หนน้ี อกระบบ หากเป็นเหยื่อหนี้นอกระบบแล้ว ผู้กู้ควรหาแหล่งเงินกู้ในระบบท่ีมีดอกเบ้ีย ถูกกว่ามาชาระคืน แต่หากไม่สามารถกู้ยืมในระบบได้ ผู้กู้อาจต้องยอมขายทรัพย์สินบางส่วน เพอื่ นามาชาระหน้ี เพอ่ื แก้ไขปญั หาดอกเบ้ียทเี่ พมิ่ ขนึ้ จนไม่สามารถชาระคืนได้ ทั้งน้ี ลูกหน้ีเงินกู้ นอกระบบสามารถขอรบั คาปรกึ ษาไดจ้ ากองค์กรดงั ต่อไปน้ี 1. ศูนยร์ บั แจ้งการเงินนอกระบบ กระทรวงการคลัง โทร. 1359 2. กองบงั คับการปราบปรามการกระทาผดิ เกยี่ วกบั การคุ้มครองผู้บริโภค สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ โทร. 1135 3. สายดว่ นรัฐบาล สานกั นายกรัฐมนตรี โทร. 1111 4. สานกั งานคุ้มครองสิทธแิ ละชว่ ยเหลอื ทางกฎหมายแกป่ ระชาชน สานักอัยการสูงสุด โทร. 0 2142 2034 5. ศนู ย์ชว่ ยเหลือลกู หนี้และประชาชนที่ไมไ่ ด้รบั ความเปน็ ธรรม กระทรวงยุติธรรม โทร. 0 2575 3344 6. ศนู ยด์ ารงธรรม กระทรวงมหาดไทย โทร. 1567 ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงิน
119 7. หน่วยงานทร่ี บั เรอื่ งรอ้ งเรียนเกี่ยวกบั การทวงถามหนีไ้ ม่เหมาะสม ได้แก่ กรมการปกครอง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ท่ีทาการปกครองจังหวัด กองบัญชาการตารวจ นครบาล สถานีตารวจท้องท่ี และทว่ี ่าการอาเภอทกุ แหง่ กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 1 หน้ีนอกระบบ (ให้ผู้เรียนไปทากิจกรรมเรอื่ งที่ 1 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้) ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงิน
120 เรอื่ งที่ 2 แชรล์ ูกโซ่ แชร์ลูกโซ่เป็นภัยทางการเงินท่ีอาจสร้างความเสียหายได้ต้ังแต่เงินจานวนน้อย ๆ จนไปถึงเงินหลัก แสนหลักล้าน มิจฉาชีพมักใช้ “โอกาสรวย” หรือ “สินค้าราคาถูกมาก” มาหลอกล่อให้เหยื่อร่วม ลงทนุ หรอื ซือ้ สนิ คา้ แล้วเชดิ เงินหนีไป ลกั ษณะกลโกงของแชร์ลกู โซ่ในคราบธรุ กิจขายตรง มิจฉาชีพจะโฆษณาชวนเชื่อให้เหย่ือทาธุรกิจขายตรงที่มีผลตอบแทนสูง โดยที่ เหยื่อไมต่ อ้ งทาอะไร เพียงแค่ชกั ชวนเพือ่ นหรอื ญาติพน่ี อ้ งให้ร่วมทาธุรกิจ ไม่เน้นการขาย สาธิต หรือทาให้สมาชิกเข้าใจในตัวสินค้า เมื่อเหยื่อเริ่มสนใจ จะให้เหย่ือเข้าร่วมฟังสัมมนา และ โน้มนา้ วหรอื หลอกล่อให้เหยื่อจ่ายคา่ สมัครสมาชิก หรือซ้ือสินค้าแรกเข้าซ่ึงมีมูลค่าท่ีค่อนข้างสูง (สนิ คา้ สว่ นมากมักไม่มีคุณภาพ) หรืออาจให้เหยื่อซื้อหุ้นหรือหน่วยลงทุนโดยไม่ต้องรับสินค้าไป ขาย แล้วกร็ อรับเงนิ ปันผลได้เลย คา่ สมัครสมาชกิ คา่ ซื้อสนิ ค้าแรกเขา้ คา่ ห้นุ หรือคา่ หน่วยลงทุนของสมาชิกใหม่จะ ถกู นามาจ่ายเปน็ ผลตอบแทนให้กับสมาชิกเก่า เม่ือไหร่ที่ไม่สามารถหาสมาชิกใหม่ได้ แชร์ก็จะล้ม เพราะไมส่ ามารถหาเงินมาจ่ายผลตอบแทนและเงินท่ีลงทนุ คืนสมาชิกได้ ปจั จบุ นั ยังมกี ารโฆษณาชักชวนผู้ลงทุนผ่านอินเทอร์เน็ตอีกด้วย โดยมิจฉาชีพจะ หลอกให้เหย่ือกรอกข้อมูลส่วนตัวในอินเทอร์เน็ต แล้วติดต่อเหยื่อเพื่อชักชวนให้เข้าร่วมงาน สมั มนาโดยอ้างว่ามีบคุ คลทมี่ ีชอ่ื เสยี งเข้าร่วมดว้ ย วธิ ีปอ้ งกันภยั แชรล์ กู โซ่ 1. ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกท่ีนามาหลอกล่อ เพราะ ผลตอบแทนยิ่งสงู ยง่ิ มีความเส่ียงมากทีจ่ ะเปน็ แชรล์ ูกโซ่ 2. ไม่กรอกข้อมูล หรือให้ข้อมูลส่วนตัวในเว็บไซต์ หรือตอบกลับอีเมลท่ี ไมน่ า่ เชื่อถือ เพราะอาจกลายเป็นเหยือ่ แชรล์ กู โซ่ ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงิน
121 3. หลีกเลี่ยงการเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มธุรกิจที่ไม่แน่ใจ เพราะอาจถูก หวา่ นลอ้ มให้ร่วมลงทุนในธุรกจิ แชร์ลูกโซ่ 4. อยา่ เกรงใจจนไม่กลา้ ปฏิเสธ เม่ือมีคนชักชวนทาธรุ กจิ ที่มีลักษณะคล้าย แชรล์ ูกโซ่ เพราะอาจทาให้สญู เสยี เงินได้ 5. ศึกษาที่มาท่ไี ปของการลงทุนหรือสินค้าให้ดีกอ่ นการลงทุน โดยเฉพาะ ธรุ กิจหรือสินค้าทใ่ี หผ้ ลตอบแทนสงู มากในเวลาส้ัน ๆ หรือมรี าคาถกู ผดิ ปกติ 6. ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเป็นประจา ทาอยา่ งไรเมอื่ ตกเป็นเหยือ่ แชร์ลูกโซ่ หากตกเป็นเหย่ือแชร์ลูกโซ่ ควรรวบรวมเอกสารที่เก่ียวข้องท้ังหมด แล้วติดต่อ ขอรบั คาปรึกษาได้ท่ี สว่ นปอ้ งปรามการเงนิ นอกระบบ สานกั นโยบายพัฒนาระบบการเงินภาคประชาชน สานักงานเศรษฐกจิ การคลัง กระทรวงการคลงั ซอยอารีย์สัมพันธ์ ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 1359 กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 แชร์ลูกโซ่ (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมเร่อื งที่ 2 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู)้ ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ
122 เร่อื งที่ 3 ภัยใกลต้ วั หลายคร้งั ที่ความโลภกลายเปน็ จดุ อ่อนทีม่ ิจฉาชพี ใช้โจมตีเหย่ือ โดยนาผลประโยชน์จานวนมาก มาหลอกล่อ ใหเ้ หยอื่ ยอมจ่ายเงนิ จานวนหนง่ึ ให้ก่อน แลว้ นาเงนิ หนไี ป ลักษณะกลโกงของภยั ใกล้ตวั 1. เบยี้ ประกนั งวดสดุ ทา้ ย มิจฉาชีพจะแอบอ้างเป็นพนักงานบริษัทประกันชีวิตติดต่อญาติของผู้ตายว่า ผู้ตายทาประกัน ชีวิตไว้กับบริษัท แต่ขาดการชาระเบี้ยประกันงวดสุดท้าย หากญาติจ่ายค่าเบ้ียประกันท่ีค้างอยู่ ก็จะได้รับเงินคืนตามกรมธรรม์ซ่ึงเป็นจานวนเงินค่อนข้างมาก เมื่อเหยื่อจ่ายเงินให้ ผู้ที่อ้างว่า เป็นพนักงานบรษิ ัทประกนั ภยั กจ็ ะหายตวั ไปพร้อมเงนิ ประกันงวดสุดทา้ ย 2. ตกทอง/ลอตเตอรีป่ ลอม มิจฉาชีพจะอ้างว่ามีทองหรือลอตเตอร่ีรางวัลที่หนึ่ง แต่ไม่มีเวลาไปขายหรือ ขึ้นเงิน จึงเสนอขายให้เหย่ือในราคาถูก กว่าจะรู้ว่าเป็นทองหรือลอตเตอร่ีปลอม มิจฉาชีพ ก็หายไปพร้อมกบั เงนิ ทีไ่ ด้ไป วธิ ปี ้องกนั จากภัยใกล้ตวั 1. ไม่โลภ ไม่อยากได้เงินรางวัลท่ีไม่มีท่ีมา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสัยไว้ ก่อนว่าอาจเปน็ ภัยทางการเงิน 2. ไม่รู้จัก...ไม่ให้ ไม่ให้ทั้งข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขที่บัตรประจาตัว ประชาชน วนั /เดือน/ปีเกดิ และข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขที่บัญชี รหัสบัตรเอทีเอ็ม/บัตรเดบิต และไม่โอนเงิน แมผ้ ตู้ ดิ ต่อจะอา้ งวา่ เปน็ หนว่ ยงานราชการหรือสถาบนั การเงิน 3. ศึกษาหาข้อมลู กอ่ นเซน็ สัญญา ตกลงจา่ ยเงนิ หรอื โอนเงนิ ให้ใคร ควรศกึ ษาข้อมลู เงือ่ นไข ขอ้ ตกลง ความน่าเชือ่ ถอื และความนา่ จะเปน็ ไปไดก้ อ่ น 4. อ้างใคร ถามคนน้ัน อ้างถึงใครให้สอบถามคนน้ัน เช่น ธนาคารแห่ง ประเทศไทย โทร. 1213 หรอื DSI โทร. 1202 ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 ภัยทางการเงิน
123 5. สงสัยให้ปรึกษา ควรหาที่ปรึกษาท่ีไว้ใจได้ หรือปรึกษาเก่ียวกับภัยทาง การเงินได้ท่ี ศคง. โทร. 1213 และศนู ยร์ บั แจง้ การเงนิ นอกระบบ โทร. 1359 6. ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจา เพอ่ื รู้เทา่ ทนั เลห่ ์เหล่ียมกลโกง ร้ไู ว้...ไม่เส่ียงเปน็ เหยอื่ 1. อ้างหน่วยงานราชการไม่ได้แปลว่าเชื่อถือได้ มิจฉาชีพมักอ้างถึง หน่วยงานราชการหรือองค์กรขนาดใหญ่เพ่ือสร้างความน่าเชื่อถือ หากมีการอ้างถึง ควรสอบถามหน่วยงานน้นั โดยตรง 2. ธุรกิจที่จดทะเบียนแล้วไม่ได้แปลว่าไม่โกง บางธุรกิจจดทะเบียนอย่าง ถกู ตอ้ งตามกฎหมายจริง แตไ่ ม่ไดป้ ระกอบธุรกจิ ตามที่ขออนุญาตไว้ 3. ไมม่ ี “ทางลดั รวยท่ีมีน้อยคนรู้” หากทางลัดนี้มีจริง คงไม่มีใครอยากบอก คนอน่ื ให้รู้ แอบรวยเงยี บ ๆ คนเดียวดกี ว่า 4. หัวขโมยไม่หม่ินเงินน้อย มิจฉาชีพไม่ได้มุ่งหวังเงินหลักแสนหลักหมื่น เทา่ นน้ั มจิ ฉาชีพบางกลุม่ มุ่งเงินจานวนน้อยแต่หวังหลอกคนจานวนมาก 5. อยา่ ระวังแคเ่ รื่องเงิน มิจฉาชีพบางรายก็หลอกขอข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมูล ที่ใชท้ าธุรกรรมการเงิน เพ่อื นาไปทาธุรกรรมทางการเงินในนามของเหย่อื 6. มิจฉาชีพไม่ใช้บัญชีตนเองรับเงินจากเหย่ือ มิจฉาชีพบางรายจ้างคนเปิด บัญชีเพอ่ื เปน็ ท่ีรับเงินโอนจากเหย่อื อีกรายหนึง่ เพอ่ื หนกี ารจบั กุมของเจา้ หนา้ ท่ีตารวจ รู้หรือไม่ว่า การรับจ้างเปิดบัญชีหรือการหลอกให้ผู้อ่ืนโอนเงินให้เข้าข่ายฉ้อโกงประชาชน ซ่ึงเป็นหน่ึงในความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 60 ต้องระวางโทษจาคกุ ต้ังแต่หน่ึงปีถึงสิบปี หรือปรับต้ังแต่สองหมื่นบาท ถึงสองแสนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ ดังนั้น การเห็นแก่ค่าจ้างเพียงไม่ก่ีบาทจึงอาจทาให้ คุณตอ้ งตกเปน็ ผ้ตู อ้ งหาและไปใชช้ วี ติ ในเรอื นจาได้ จึงไมค่ วรหลงเช่ือหรือรับจ้างเปิดบัญชีโดย เดด็ ขาด กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 3 ภัยใกล้ตัว (ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมเรือ่ งที่ 3 ทีส่ มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้) ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ
124 เรื่องท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ แก๊งคอลเซนเตอร์มักใช้วิธีสุ่มเบอร์โทรศัพท์เพ่ือโทรไปหาเหย่ือแล้วใช้ข้อความ อัตโนมัติสร้างความตื่นเต้นหรือตกใจให้แก่เหย่ือ บางคร้ังก็แอบอ้างเป็นเจ้าหน้าท่ีหน่วยงาน ต่าง ๆ โดยหลอกให้เหย่ือทารายการที่เครื่องเอทีเอ็มเป็นเมนูภาษาอังกฤษ อ้างว่าเป็นการทา รายการเพอ่ื ล้างหน้ี หรือหลอกให้เหยื่อไปโอนเงนิ ให้หนว่ ยงานภาครัฐอา้ งวา่ เพอื่ ตรวจสอบ ลักษณะกลโกงแก๊งคอลเซนเตอร์ 1. บญั ชีเงินฝากถูกอายัดหรอื เป็นหนี้บตั รเครดิต มจิ ฉาชพี จะหลอกเหยือ่ ว่า บญั ชีเงินฝากถูกอายดั หรือเป็นหนีบ้ ัตรเครดิตจานวน หนึ่ง โดยเร่ิมจากการใช้ระบบตอบรับอัตโนมัติแจ้งเหย่ือว่าจะอายัดบัญชีเงินฝากเนื่องจาก เหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น เป็นหนี้บัตรเครดิตหรือกระทาการผิดกฎหมาย โดยอาจมีเสียงอัตโนมัติ เช่น “คณุ เป็นหน้ีบัตรเครดิตกับทางธนาคาร กด 0 เพือ่ ตดิ ตอ่ พนักงาน” ซึ่งเหยื่อส่วนมากมักจะ ตกใจและรบี กด 0 เพ่อื ติดต่อพนกั งานทันที หลังจากน้ันมิจฉาชีพจะหลอกถามฐานะทางการเงินของเหยื่อ หากเหย่ือมี เงินฝากจานวนไม่มากนัก มิจฉาชีพอาจหลอกให้เหย่ือโอนเงินผ่านเคร่ืองเอทีเอ็มโดยหลอกว่า เปน็ การทารายการเพื่อลา้ งบญั ชีหนี้ 2. บัญชีเงนิ ฝากพัวพันกับการคา้ ยาเสพติดหรือการฟอกเงนิ แต่หากมิจฉาชีพพบว่า เหย่ือมีเงินฝากค่อนข้างมาก ก็จะหลอกเหยื่อให้ตกใจว่า บญั ชเี งนิ ฝากนั้นพัวพนั กบั การค้ายาเสพติดหรือการฟอกเงนิ และจะให้เหยื่อโอนเงินท้ังหมดผ่าน เคร่ืองเอทีเอ็ม / เครื่องฝากเงินอัตโนมัติ (CDM หรือ ADM) เพ่ือทาการตรวจสอบกับหน่วยงาน ราชการ ทงั้ นี้ เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ ห้เหย่ือไดม้ ีโอกาสสอบถามความจรงิ จากพนักงานธนาคาร ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภัยทางการเงนิ
125 3. เงนิ คนื ภาษี นอกจากจะหลอกให้เหย่ือตกใจแล้ว มิจฉาชีพบางรายก็อ้างว่าตนเป็นเจ้าหน้าที่ สรรพากร หลอกให้เหย่ือตื่นเต้นดีใจว่า เหยื่อได้รับเงินคืนค่าภาษี แต่ต้องทารายการยืนยัน การรับเงินทเ่ี ครอ่ื งเอทเี อม็ และวันนเี้ ปน็ วนั สุดทา้ ยทจ่ี ะยนื ยนั รับเงินคนื หากเลยกาหนดเวลาแล้ว เหย่ือจะไม่ไดร้ บั เงินคืนคา่ ภาษี ด้วยความรีบเร่งและกลัวว่าจะไม่ได้เงินคืน เหยื่อก็จะรีบทาตามที่มิจฉาชีพบอก โดยไม่ไดส้ ังเกตว่ารายการท่มี ิจฉาชพี ให้ทาที่เครอ่ื งเอทีเอ็มนัน้ เป็นการโอนเงินใหแ้ ก่มิจฉาชีพ 4. โชคดไี ด้รบั รางวลั ใหญ่ มิจฉาชีพบางรายก็หลอกให้เหย่ือดีใจว่า เหย่ือได้รับรางวัลใหญ่ท่ีมีมูลค่าสูงจาก การจับสลากรางวัล หรือเปิดบริษัทใหม่จึงจับสลากมอบรางวัลแก่ลูกค้า แต่ก่อนที่ลูกค้าจะรับ รางวัล ลูกค้าจะตอ้ งจ่ายค่าภาษใี ห้กับทางผแู้ จกรางวลั ก่อน จงึ จะสามารถส่งของรางวลั ไปให้ 5. ข้อมูลสว่ นตวั หาย มิจฉาชีพประเภทน้ีจะโทรศัพท์แอบหลอกถามข้อมูลส่วนตัวของเหย่ือเพ่ือใช้ ประกอบการปลอมแปลงเอกสาร หรือใช้บริการทางการเงินในนามของเหย่ือ โดยมิจฉาชีพจะ อ้างว่าตนเป็นเจ้าหน้าท่ีของสถาบันการเงินที่เหยื่อใช้บริการอยู่ แต่เกิดเหตุการณ์ที่ทาให้ข้อมูล ส่วนตัวของลูกค้าสูญหาย เช่น น้าท่วม จึงขอให้เหยื่อแจ้งข้อมูลส่วนตัวเพ่ือยืนยันความถูกต้อง เช่น วัน/เดอื น/ปีเกิด เลขที่บตั รประชาชน เลขท่บี ัญชเี งินฝาก เมื่อได้ข้อมูลส่วนตัวของเหยื่อแล้ว มิจฉาชีพจะนาข้อมูลเหล่านี้ไปแอบอ้างใช้ บริการทางการเงนิ ในนามของเหย่อื เช่น ขอสนิ เชือ่ 6. โอนเงนิ ผิด หากมิจฉาชีพมีข้อมูลหรือเอกสารส่วนตัวของเหยื่อ มิจฉาชีพอาจใช้วิธีหลอก เหยื่อวา่ โอนเงินผดิ แลว้ ขอใหเ้ หยอ่ื โอนเงนิ คนื โดยเริ่มจากใชเ้ อกสารและข้อมูลส่วนตัวของเหย่ือ ติดต่อขอสินเชื่อ เมื่อได้รับอนุมัติสินเชื่อ สถาบันการเงินจะโอนเงินกู้ที่ได้รับอนุมัติเข้าบัญชี ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงิน
126 เงินฝากของเหยอื่ หลงั จากน้นั มิจฉาชีพจะโทรศัพทไ์ ปแจ้งเหย่ือว่า โอนเงินผิดเข้าบัญชีของเหยื่อ และขอให้เหยื่อโอนเงินคืนให้ เม่ือเหย่ือตรวจสอบบัญชีเงินฝากของตนเองและพบว่ามีเงินโอนเงินเข้ามาใน บัญชีจริง เหย่ือก็รีบโอนนั้นให้แก่มิจฉาชีพทันที โดยไม่รู้ว่าเงินน้ันเป็นเงินสินเช่ือที่มิจฉาชีพขอ ในนามของเหยื่อ วิธปี ้องกันภยั แกง๊ คอลเซนเตอร์ 1. คิดทบทวน ว่าเร่ืองราวที่ได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทาธุรกรรมกับหนว่ ยงานทถี่ กู อา้ งถึงหรือไม่ หรือเคยเข้าร่วมชิงรางวัลกับองค์กรไหนจริงหรือ เปล่า 2. ไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย ไม่ให้ข้อมูล ท้ังข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขท่ีบัตร ประชาชนวัน/เดือน/ปีเกิด และขอ้ มลู ทางการเงนิ เชน่ เลขทีบ่ ัญชี รหสั กดเงนิ 3. ไมท่ ารายการทีเ่ คร่ืองเอทีเอม็ ตามคาบอก แมค้ นที่โทรมาจะบอกว่าเป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบาย สอบถามข้อมลู ส่วนตัวของประชาชนหรือลูกคา้ ผา่ นทางโทรศัพท์ 4. ไม่โอนเงนิ คนื เอง หากมคี นโอนเงินผดิ เข้าบัญชี ควรสอบถามโดยตรงกับ สถาบันการเงินถึงที่มาของเงินดังกล่าว หากเป็นเงินท่ีโอนผิดจริง จะต้องให้สถาบันการเงินเป็น ผู้ดาเนินการโอนเงนิ คนื เท่าน้ัน 5. ตรวจสอบขอ้ มลู ก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบนั การเงนิ หรือหน่วยงาน ที่ถูกอ้างถึงโดยตรง โดยติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) หรือสาขาของสถาบันการเงิน นัน้ ๆ ทาอยา่ งไรเม่ือตกเป็นเหยอื่ ภัยแก๊งคอลเซนเตอร์ 1. ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินน้ัน ๆ เพื่อ ระงับการโอนและถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารท่ีเกี่ยวข้องเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับ ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ
127 การโอนและถอนเงิน ท้ังนี้ แต่ละสถาบันการเงินมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน ควรติดต่อสอบถาม ข้นั ตอนจากสถาบันการเงนิ โดยตรง 2. แจ้งเบาะแสไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เลขที่ 128 ถนนแจ้ง วัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 1202 กจิ กรรมท้ายเรอื่ งท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ (ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมเรื่องท่ี 4 ท่สี มุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นร้)ู ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 ภัยทางการเงิน
1. ก เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 128 6. ง 2. ง 3. ง 4. ค 11. ง 7. ก 8. ก 9. ข 5. ค 16. ง 12. ง 13. ง 14. ก 10. ก 21. ข 17. ข 18. ง 19. ก 15. ค 26. ข 22. ค 23. ข 24. ง 20. ง 27. ก 28. ค 29. ง 25. ข 30. ข เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 1. ก 2. ง 3. ง 4. ค 5. ค 6. ง 7. ก 8. ก 9. ข 10. ก 11. ง 12. ง 13. ง 14. ก 15. ค 16. ง 17. ข 18. ง 19. ก 20. ง 21. ข 22. ค 23. ข 24. ง 25. ข 26. ข 27. ก 28. ค 29. ง 30. ข เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
129 เฉลย/แนวคาตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอื่ ง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเรอ่ื งของเงนิ กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน ให้เลือกคาตอบที่ถกู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว 1. ข้อใดตอ่ ไปนก้ี ล่าวถูกตอ้ ง ค) ถูกทุกขอ้ 2. ข้อใดต่อไปน้เี ป็นการใหย้ มื เงนิ ข) สัญญาให้เงินสายใจไปชาระหน้นี อกระบบ โดยสายใจต้องคืนเงนิ ให้สัญญาเดือนหน้า 3. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเป็นการวางแผนการเงินทด่ี ีทส่ี ุด ก) เมอ่ื ได้รบั คา่ จ้าง ใหน้ าบางส่วนไปเก็บออม สว่ นท่ีเหลือจึงนามาใช้จ่าย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่ือง ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
130 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 2 ประเภทของเงิน กจิ กรรมที่ 2.1 จากจุดสังเกตบนธนบัตรแตล่ ะข้อตอ่ ไปน้ี ใหห้ าว่าเป็นการสัมผัสยกส่อง หรือ พลกิ เอียง โดยใส่คาตอบในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง สัมผสั ยกสอ่ ง พลิกเอียง 1. เนอ้ื กระดาษธนบัตร สัมผสั 2. ลายพิมพเ์ ส้นนนู สัมผัส 3. ลายน้า ยกส่อง 4. แถบสแี ละแถบสเี่ หล่ยี มเคลือ่ นไหวสลับสี ยกส่อง/พลกิ เอยี ง 5. ภาพซ้อนทบั ยกส่อง 6. ตวั เลขแฝง พลิกเอียง 7. หมึกพิมพพ์ เิ ศษสลบั สี พลกิ เอียง เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
131 กิจกรรมท่ี 2.2 ใหน้ าชอ่ื สกุลเงินด้านขวามือมาใส่หลังชื่อประเทศให้สัมพันธ์กนั 1. มาเลเซยี รงิ กิต 2. ฟลิ ิปปินส์ เปโซ 3. สิงคโปร์ ดอลลาร์สงิ คโปร์ 4. เมียนมา จัต 5. บรูไน ดอลลาร์บรไู น 6. กัมพูชา เรยี ล 7. ลาว กีบ 8. เวียดนาม ดอง 9. ไทย บาท 10. อินโดนเี ซีย รูเปียห์ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 l ระดับประถมศกึ ษา
132 กิจกรรมท้ายเรอื่ งที่ 3 การฝากเงิน และการประกนั ภัย กิจกรรมท่ี 3.1 ใหใ้ สป่ ระเภทบญั ชเี งินฝากให้มคี วามสัมพนั ธ์กับลกั ษณะบัญชีเงนิ ฝาก เงินฝาก เงินฝาก เงนิ ฝาก เงินฝาก ออมทรพั ย์ ประจาปลอดภาษี แบบขัน้ บันได ประจาทว่ั ไป ลกั ษณะบญั ชีเงนิ ฝาก ประเภทของบญั ชีเงนิ ฝาก เงินฝากประจาปลอดภาษี ต้องฝากต่อเน่อื งในจานวนทเี่ ท่ากันทุก ๆ เดือน เดือนละ 1 ครง้ั เปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 24 เดือน เงนิ ฝากประจาทว่ั ไป เงนิ ฝากออมทรัพย์ เป็นบญั ชเี งินฝากประจาที่ไดร้ บั ยกเวน้ ภาษี แตเ่ ปิดได้ เพียงบญั ชีเดียว เงนิ ฝากแบบขน้ั บนั ได ต้องฝากให้ครบตามระยะเวลาท่ีกาหนด เชน่ 3 เดอื น 6 เดือน 12 เดือน เสียภาษีหกั ณ ทจ่ี ่าย 15% เหมาะกบั การใช้เป็นบัญชีเพ่อื รบั เงนิ เดือน/คา่ จ้าง สามารถฝากหรือถอนเงินเม่อื ใดกไ็ ด้ ไมต่ ้องเสยี ภาษี ณ ทีจ่ า่ ย 15% ของดอกเบ้ยี ท่ีได้รับ ถ้าดอกเบยี้ รับไม่เกนิ 20,000 บาท (รวมรบั จากทกุ สถาบนั การเงินใน 1 ป)ี กาหนดอตั ราดอกเบย้ี ในแตล่ ะชว่ งเวลาการฝาก ไม่เท่ากนั โดยอตั ราดอกเบย้ี จะคอ่ ย ๆ เพ่มิ สูงขึน้ ในแต่ละช่วง ส่วนใหญเ่ ดือนสุดทา้ ยอัตราดอกเบีย้ จะสูงท่ีสุด มกั เสียภาษี ณ ท่จี ่าย 15% เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
133 กิจกรรมที่ 3.2 ใหเ้ ลือกคาตอบท่ถี กู ตอ้ งท่ีสดุ เพียงคาตอบเดยี ว 1. ขอ้ ใดตอ่ ไปนก้ี ลา่ วถงึ ดอกเบี้ยเงนิ ฝากถูกต้อง ค) ถูกทุกขอ้ 2. ข้อใดตอ่ ไปน้ีไม่ได้รบั การคมุ้ ครองเงินฝากจากสถาบันคมุ้ ครองเงนิ ฝาก ก) พนั ธบตั รรัฐบาล 3. ขอ้ ใดต่อไปนี้ไดร้ ับการคุ้มครองเงนิ ฝากจากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก ค) เงนิ ฝากประจา 4. สถาบันการเงนิ ใดตอ่ ไปน้ีอยู่ภายใต้การคุ้มครองของสถาบนั ค้มุ ครองเงินฝาก ข) ธนาคารพาณชิ ย์ 5. ข้อใดตอ่ ไปน้กี ลา่ วถกู ต้องเก่ยี วกับสถาบนั คมุ้ ครองเงนิ ฝาก ก) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก มีหน้าที่จ่ายเงินคืนผู้ฝากเงินในวงเงินและระยะเวลา ท่ีกฎหมายกาหนด ในกรณที ่สี ถาบนั การเงินทอ่ี ยู่ภายใตก้ ารคมุ้ ครองถกู ปดิ กิจการ 6. ขอ้ ใดต่อไปนี้กลา่ วถกู ต้อง ก) การทาประกันภยั เป็นการโอนความเสี่ยงในอนาคตไปให้ผู้รับประกันภยั 7. ขอ้ ใดต่อไปนี้เปน็ ลกั ษณะสาคญั ของกรมธรรม์ประกันภัยสาหรบั รายย่อย ค) ถกู ทุกขอ้ 8. กรมธรรม์ประกนั ภยั ประเภทใดที่จา่ ยเบ้ยี ประกันภยั นอ้ ยทส่ี ดุ ก) กรมธรรม์ประกันภยั 200 สาหรับรายย่อย 9. ปิติทางานโรงงานมีรายได้น้อย และมีภาระเลี้ยงดูลูก 1 คน กรมธรรม์ประกันภัยชนิดใด ท่เี หมาะกบั ปิติ ก) กรมธรรมป์ ระกนั ภยั 200 สาหรับรายย่อย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 1 l ระดับประถมศึกษา
134 10.มานะปลูกข้าว ต้องการทาประกันภัยเพ่ือคุ้มครองความเสียหายหากเกิดภัยน้าท่วม มานะควรทากรมธรรมป์ ระกนั ภัยชนิดใด ค) กรมธรรม์ประกันภัยขา้ วนาปี กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 4 การชาระเงินทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใหเ้ ลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดียว 1. ขอ้ ใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นการชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์ ค) ถูกทุกขอ้ 2. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องการชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ท่มี ีตอ่ ประชาชน ค) ถกู ทุกขอ้ 3. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี คอื บัตรท่ีสามารถฝาก/ถอน/โอน/ชาระเงิน/สอบถามยอดที่เครอื่ งเอทเี อ็ม ก) บตั รเอทีเอม็ 4. ข้อใดต่อไปน้ี คือบัตรที่สามารถใช้ทาธุรกรรมทางการเงิน เช่น ฝาก/ถอน/โอน/ชาระเงิน/ สอบถามยอดที่เคร่ืองเอทีเอ็ม และใช้ซื้อสินค้าท่ีร้านค้าหรือจุดขายท่ีรับบัตร โดยจะตัดเงิน ออกจากบญั ชที นั ที ก) บัตรเดบติ 5. ขอ้ ใดต่อไปน้กี ลา่ วถกู ตอ้ ง ก) การใชจ้ ่ายผ่านบัตรเดบติ เป็นการใชเ้ งนิ ของเราทมี่ อี ยู่ในบัญชี จึงไม่สรา้ งภาระหนี้ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
135 กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 5 ระบบสถาบันการเงนิ ของประเทศไทย กิจกรรมที่ 5.1 ให้ทาเคร่ืองหมาย หน้าช่ือผู้ให้บริการทางการเงินท่ีอยู่ภายใต้การกากับ ดูแลของธนาคารแหง่ ประเทศไทย บริษัทประกนั วนิ าศภัย ผู้ประกอบธุรกจิ บัตร บรษิ ทั หลักทรัพย์ เครดติ ธนาคารพาณิชย์ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรัพย์ บรษิ ทั ประกนั ชวี ติ ธนาคารพาณิชยเ์ พือ่ ท่ีปรึกษาทางการเงนิ ผู้ประกอบธรุ กิจสนิ เชื่อ รายยอ่ ย เพอ่ื การประกอบอาชีพ ภายใต้การกากบั สถาบนั การเงนิ บริษทั หลักทรพั ยจ์ ัดการ ผ้ใู หบ้ ริการการชาระเงนิ เฉพาะกิจ กองทุน ทางอิเล็กทรอนิกส์ สาขาของธนาคาร คนกลางประกนั ภัย พาณิชยต์ ่างประเทศ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
136 กิจกรรมท่ี 5.2 ให้ทาเครื่องหมาย หน้าข้อหากเห็นว่าถูกต้อง และทาเคร่ืองหมาย X หนา้ ข้อ หากเห็นวา่ ไมถ่ ูกต้อง 1. ธนาคารพาณชิ ย์ทาหน้าที่ใหบ้ ริการรับฝากเงินและให้กู้ยมื 2. ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหน้าท่ีดแู ลอัตราเงินเฟอ้ อัตราดอกเบยี้ อตั รา แลกเปลี่ยน และกากับดูแลสถาบันการเงนิ 3. ผู้ประกอบธรุ กจิ ธนาคารพาณชิ ย์ตอ้ งได้รับอนญุ าตให้ประกอบธุรกิจ 4. สถาบนั การเงนิ เฉพาะกิจ หมายถึง สถาบันการเงินของรฐั ทมี่ กี ฎหมายเฉพาะ จดั ต้งั ข้ึน X 5. ธนาคารพาณชิ ย์เพอ่ื รายย่อยให้บริการดา้ นเงินตราตา่ งประเทศดว้ ย 6. ธนาคารออมสินเปน็ สถาบันการเงินเฉพาะกิจท่ีรับฝากเงินและให้สนิ เช่อื 7. ธนาคารพาณชิ ย์เพื่อรายย่อยประกอบธรุ กจิ เช่นเดยี วกับธนาคารพาณชิ ย์ แตไ่ มไ่ ดร้ ับอนญุ าตใหป้ ระกอบธุรกจิ ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นและมคี วามเส่ียงสงู 8. บริษัทเครดิตฟองซเิ อร์สามารถใหก้ ูย้ มื เงนิ โดยวธิ ีรับจานองอสังหาริมทรัพย์ 9. ธนาคารพาณชิ ย์เพือ่ รายย่อยมีวัตถปุ ระสงค์หลักเพือ่ ให้บริการแกป่ ระชาชน รายยอ่ ย X 10. ธนาคารแห่งประเทศไทยใหบ้ รกิ ารกยู้ ืมเงินแก่ประชาชนทวั่ ไป เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวติ 1 l ระดบั ประถมศึกษา
137 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงิน กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 1 การวางแผนการเงิน กิจกรรมที่ 1.1 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ใชต้ ัวเลอื กดงั ต่อไปนี้ เตมิ คาตอบท่ถี กู ต้องลงในชอ่ งวา่ ง ตอบ 1) ก. วัยเด็ก เป็นวัยท่ียังไม่มีรายได้ และเหมาะแก่การบ่มเพาะนิสัย การใช้จ่ายอย่างสมเหตสุ มผล ใหร้ จู้ ักคา่ ของเงิน เกบ็ ออม วางแผนใช้จ่ายเงิน 2) ข. วัยทางาน เป็นวัยที่เร่ิมมีรายได้เป็นของตนเอง มีอิสระในการ ใช้จ่าย ควรวางแผนการใช้จ่ายให้ดี ควรวางแผนการใช้จ่ายไม่ให้เกินรายได้ ทมี่ อี ยู่ ระมัดระวังการกอ่ หนี้ และควรเรม่ิ วางแผนการออมโดยกาหนดเป้าหมาย การออมใหช้ ดั เจน 3) ค. วัยสร้างครอบครัว เป็นวัยท่ีรายได้เพิ่มขึ้นขณะเดียวกันรายจ่าย ก็เพ่ิมข้ึนเช่นกัน ต้องรับผิดชอบสมาชิกในครอบครัว และอาจมีภาระหนี้ที่ต้อง จ่าย ต้องวางแผนการเงินอย่างรัดกุม ใช้จ่ายไม่ให้เกินงบ และควรวางแผน การเงนิ เพื่อการศกึ ษาบตุ ร รวมทั้งลงมือทาตามแผนการเงินเพ่ือใช้จ่ายในวัยชรา อยา่ งจริงจัง 4) ง. วัยชรา เป็นวัยที่รายได้ลดลงหรือไม่มีรายได้เลย แต่รายจ่าย ในชีวติ ประจาวันยังมีอยู่ และอาจมีค่ารักษาพยาบาลเพ่ิม ควรวางแผนใช้จ่ายให้ ไมเ่ กนิ เงินทมี่ อี ยู่ แต่ทางทีด่ คี วรออมเงินเพ่อื ใช้ในยามชราตง้ั แต่ยังหนุ่มสาว 2. ใช้ข้อมูลต่อไปน้ี เรียงลาดับการวางแผนการเงินลงในชอ่ งวา่ ง ตอบ ขน้ั ตอนท่ี 1: ค. ประเมนิ ฐานะการเงินของตนเอง ขั้นตอนที่ 2: ก. ต้ังเปา้ หมายการเงิน เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชีวิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
138 ขั้นตอนท่ี 3: ง. จดั ทาแผนการเงนิ ขนั้ ตอนท่ี 4: ข. ปฏบิ ตั ิตามแผนอยา่ งเคร่งครัด ขน้ั ตอนที่ 5: จ. ตรวจสอบและปรับแผน กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 การประเมนิ ฐานะการเงินของตนเอง กิจกรรมที่ 2.1 ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. เราสามารถประเมินฐานะการเงินของตนเองในด้านใดไดบ้ ้าง ให้อธิบาย ตอบ 1) การประเมินฐานะการเงิน (ภาพรวม) สามารถประเมินฐานะการเงินโดย คานวณหาความมง่ั ค่ังสุทธิ ซงึ่ ก็คือ มูลค่าที่เหลอื อยหู่ ลงั จากที่นาทรัพย์สินทั้งหมดลบด้วยหน้ีสิน ทัง้ หมด ความม่ังคงั่ สุทธจิ ะบอกฐานะท่ีแทจ้ รงิ ของเราว่ามสี นิ ทรัพย์ทเี่ ป็นของเราจริง ๆ เท่าไร 2) การประเมินด้านหนี้ สามารถประเมินได้จากอัตราส่วนภาระหน้ีต่อ รายได้ต่อเดอื น ซง่ึ เป็นสดั สว่ นการชาระหนีต้ ่อรายได้ สามารถคานวณไดจ้ ากนาจานวนหน้ีท่ีต้อง จ่ายต่อเดือนหารด้วยจานวนรายได้ที่ได้รับในแต่ละเดือน ผลลัพธ์ท่ีได้จะบอกว่า เราจ่ายหนี้ไป เปน็ สดั สว่ นเทา่ ไร 3) การประเมินด้านการออม สามารถประเมินได้ 2 ส่วน ได้แก่ อัตราส่วน เงินออมตอ่ รายได้ และจานวนเงนิ ออมเผอ่ื ฉกุ เฉนิ - อัตราส่วนเงินออมต่อรายได้ต่อเดอื น เป็นการประเมินสัดส่วนของเงิน ท่ีออมในแตล่ ะเดือนต่อรายไดต้ ่อเดือน โดยสามารถคานวณได้จากนาจานวนเงินที่ออมต่อเดือน เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอื่ ง ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวิต 1 l ระดับประถมศกึ ษา
139 หารด้วยจานวนรายได้ที่ได้รับในแต่ละเดือน ผลลัพธ์ที่ได้จะบอกว่า เรานารายได้ที่มีไปเป็นเงิน ออมเปน็ สัดสว่ นเทา่ ไร อัตราส่วนเงินออมต่อรายได้ควรมีอย่างน้อย 25% หรือ 1 ใน 4 ของรายได้ จะทาใหม้ ีเงินออมเพื่อซอื้ ของที่อยากได้ หรือไว้ใช้จ่ายในอนาคต แต่หากมีอัตราส่วนเงินออมต่อ รายได้น้อยกว่า 25% หรือไม่ออมเงินเลย ก็อาจเร่ิมจากการออมทีละนิด แล้วค่อยเพ่ิมจานวน เงนิ ออมข้นึ เรื่อย ๆ เพื่อไม่ใหส้ ร้างความร้สู ึกกดดนั ในการออมมากจนเกินไป 4) จานวนเงินออมเผ่ือฉุกเฉิน เป็นเงินออมที่เก็บไว้ใช้ยามจาเป็น เมื่อเกิด เหตุการณ์ไม่คาดฝันหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นอย่างกะทันหันและต้องใช้เงินจานวนมาก เช่น เจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุที่ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล รายได้ลดกะทันหัน หรือตกงาน ซ่ึงจานวน เงนิ ออมเผอื่ ฉุกเฉินควรมีอย่างนอ้ ย 6 เทา่ ของรายจา่ ยจาเป็นตอ่ เดอื น 5) การประเมินด้านรายรับ-รายจ่าย สามารถประเมินได้จากการบันทึก รายรับ-รายจ่าย แลว้ สงั เกตดวู า่ ในแตล่ ะเดอื นมรี ายรบั -รายจา่ ยอะไรบ้าง กิจกรรมที่ 2.2 ใหค้ านวณความม่งั ค่ังสทุ ธขิ องตนเอง ตอบ ความมัง่ คงั่ สทุ ธิจะบอกฐานะท่ีแท้จริงของเราว่ามสี นิ ทรัพยท์ ี่เปน็ ของเราจรงิ ๆ เท่าไร เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 1 l ระดบั ประถมศกึ ษา
140 กจิ กรรมท่ี 2.3 ให้ประเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเอง 1. ประเมนิ ดา้ นหน้ี พรอ้ มอธิบายความหมายอัตราสว่ นภาระหนตี้ ่อรายได้ของตนเอง ตอบ ผลลัพธ์ท่ไี ด้จะบอกว่าเราจา่ ยหน้ีเป็นสดั ส่วนเท่าไร 2. ประเมินดา้ นการออม พร้อมอธิบายความหมายอตั ราส่วนเงนิ ออมต่อรายได้ของ ตนเอง 1) อัตราสว่ นเงนิ ออมต่อรายได้ ตอบ ผลลัพธ์ที่ไดจ้ ะบอกวา่ เรานารายได้ท่มี ไี ปเป็นเงินออมเปน็ สดั ส่วนเทา่ ไร 2) ให้คานวณจานวนเงินออมเผ่อื ฉุกเฉนิ ที่ควรมขี องตนเอง ตอบ สามารถคานวณได้จากนาค่าใชจ้ ่ายจาเปน็ ต่อเดอื น x 6 กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 3 การบันทึกรายรับ-รายจ่าย กจิ กรรมท่ี 3.1 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ให้เติมคาลงในชอ่ งว่าง ตอบ 1) รายจา่ ยจาเป็น หมายถงึ รายจ่ายท่ีจะต้องจ่าย ไม่สามารถตัดออกได้ เพราะเป็นค่าใช้จ่ายที่สาคัญสาหรับชีวิต เช่น ค่าอาหาร ค่าผ่อนหรือเช่าท่ีอยู่ อาศัย ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปทางาน คา่ รักษาพยาบาล ค่าเทอม 2) รายจ่ายไม่จาเป็น หมายถึง รายจ่ายท่ีไม่มีบทบาทสาคัญต่อชีวิต จะจ่ายหรือไม่จ่ายก็ยังสามารถมีชีวิตอยู่ได้ เป็นแค่เพียงความต้องการ เช่น ค่าอุปกรณ์แต่งรถ ค่าหวย ค่าเส้ือผ้าที่ซ้ือมาเพียงเพราะว่าเห็นว่าสวยดีแต่ไม่ได้ ใช้ คา่ เหล้า คา่ บหุ ร่ี เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชีวิต 1 l ระดับประถมศึกษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184