จากตารางจะเห็นไดว้ ่าเมื่อเนื้อดนิ มีความละเอียดมากขึน้ จะมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้น แต่ปรมิ าณ ก๊าซออกซิเจนจะน้อยลง และเมือ่ ความลึกของดินเพ่มิ ข้ึนจะมีปริมาณก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ พิ่มขน้ึ แต่ปรมิ าณ กา๊ ซออกซเิ จนจะน้อยลง 3.3 การถ่ายเทอากาศในดิน หมายถึงการถ่ายเทก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศในดินออกไปสู่ บรรยากาศ และทดแทนกา๊ ซออกซิเจนของอากาศในดินด้วยออกซิเจนจากอากาศในบรรยากาศ อากาศในดินมีผล ต่อการเจริญเติบโตของพืช ก๊าซไนโตรเจนในดินเป็นแหล่งไนโตรเจนของพืชชั้นตํ่าบางชนิดและพืชตระกูลถ่ัว ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในดินไม่เป็นประโยชน์ต่อการสังเคราะห์แสง แต่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ชว่ ยละลายธาตอุ าหารพชื ในดินออกมาเปน็ ประโยชนต์ ่อพชื ก๊าซออกซิเจนในดินเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับส่ิงมีชีวิตในดินรวมท้ังรากพืชซ่ึงต้องหายใจเอาออกซิเจนจาก อากาศในดนิ ยกเวน้ ขา้ วนาลุ่มและนาน้ําลึกซึง่ มีกลไก (mechanism) ที่สามารถดงึ เอาออกซิเจนจากบรรยากาศลง ไปให้รากพืชหายใจได้ ก๊าซออกซิเจนในดินมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช คือช่วยในการเจริญเติบโตและการ แพร่กระจายของรากทําให้พืชมีพ้ืนที่ผิวในการดูดนํ้าและอาหารมากขึ้น นอกจากน้ีพืชยังใช้ออกซิเจนใน กระบวนการหายใจเพือ่ จะไดพ้ ลงั งานมาใชใ้ นการดดู กินธาตุอาหารจากดินหากดินมีออกซิเจนน้อยพืชจะมีพลังงาน ในการดูดนํ้าและธาตุอาหารน้อยนอกจากน้ีก๊าซออกซิเจนยังช่วยปูองกันไม่ให้เกิดสารพิษบางอย่างขึ้นกับพืชเช่น ก๊าซมีเทนซ่ึงเกิดจากการเน่าเป่ือยผุพังของอินทรียวัตถุในดินในสภาพที่มีออกซิเจนไม่เพียงพอ ส่วน Fe+2และ Mn+2 ที่เกิดข้ึนในสภาพที่ขาดออกซิเจนและสามารถละลายได้ง่ายอาจเป็นพิษต่อพืชได้หากพืชดูดเข้าไปเป็น ปรมิ าณมาก 4. การปรุงดิน การปรับปรุงดิน ในแนวทางของ เกษตรชีวภาพ หรือ เกษตรอินทรีย์น้ัน การจะดําเนินการปรับปรุงดิน ดว้ ยวิธีน้ี ส่งิ ท่ีตอ้ งคํานงึ ถึงเปน็ สาํ คญั คอื ความตั้งใจ ความขยัน ความอดทน ส่ิงท่ีกล่าวคือเครื่องมือวัดความสําเร็จ และการปรับสภาพดินให้ดีได้ต้อง ต้ังใจหาวัสดุที่ดี ความขยันคือใส่ให้ดี ความอดทนคือต้องรอสักระยะ ให้ อินทรีย์วัตถุท่ีใส่ลงไปสลายตัวแทรกอยู่ในดิน และเป็นอาหารพืชในเวลาต่อมา รวมท้ังจํานวนหรือปริมาณท่ีใส่ เพียงพอหรือไม่ ทําจนแน่ใจว่าโครงสร้างดินฟูข้ึนจะดีที่สุด แต่ความเข้าใจของท่านท้ังหลายบางครั้งอาจไม่ชัดเจน วา่ อนิ ทรยี ์วัตถทุ ่จี ะใสคืออะไรบา้ ง ยกตวั อยา่ งเช่น ใบไม้แห้ง ฟางข้าว มูลสัตว์ทุกชนิด เศษอาหารสัตว์ เศษอาหาร ในครัวเรอื น เปน็ ต้น แนวทาง การปรบั ปรุงดนิ มดี ังน้ี 1. ปลูกพชื หมนุ เวยี น พืชคลมุ ดนิ หรือ ปลูกพืชแบบผสมผสาน 2. การใสป่ ุย๋ มลู สตั ว์ หรือ ซากพชื ลงไป 3. การใชจ้ ลุ ินทรีย์ โดยธรรมชาติแลว้ จุลินทรียจ์ ะช่วยย่อยสลาย อนิ ทรีย์ และ อนนิ ทรยี ์ในดนิ ทําไดด้ ิน อดุ มไปด้วยอาหารสําหรับพืช การปรับดิน ในสภาพที่แตกต่างกันที่วัดค่าด้วยความเป็น กรด เบส ดินแต่ละพ้ืนท่ีมีความเป็นกรด เบส แตกต่างกัน และการใช้สารเคมีมาเป็นเวลานานก็เป็นปัจจัยให้สภาพของดินเสื่อมโทรมด้วย เพราะตามธรรมชาติ แล้ว ดินท่อี ดุ มสมบรู ณ์ คอื ดินทีส่ ะสมอินทรยี ว์ ัตถแุ ละมีการย่อยสลายลงไปตามธรรมชาติ จนกลายเป็นอาหารของ พืช และดนิ ท่ีอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติจะสังเกตได้ว่ามักจะมีไส้เดือนอาศัยอยู่ เพ่ือไส้เดือนเปรียบเสมือนทีมงาน พรวนดนิ ใหร้ ่วนและทําให้อากาศแทรกผา่ นในดนิ ไดด้ ี แต่หากพ้ืนท่ีทม่ี กี ารใชส้ ารเคมีอย่างต่อเนื่อง การปรับเปลี่ยน มาทําการเกษตรชีวภาพ มีความจําเป็นอย่างมากท่ีต้องปรับปรุงสภาพพ้ืนท่ีเสียก่อน การปรับปรุงดินตามหลัก เกษตรชีวภาพ ควรจะปรบั ดนิ ใหม้ คี า่ PH เป็นกลางเสียกอ่ น เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 48 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลามา้
หากดินท่ีมีความเป็นกรดสูงควรใช้ปูนขาวเพื่อปรับสภาพดินลดความเป็นกด แต่หากดินมีความเป็นเบส หรือด่าง สูง สามารถใช้น้าํ หมกั จากผลไมท้ ่มี สี ่วนผสมของผลไม้ท่ีมีความเป็นกรด เช่น มะนาว สัปปะรด ก็สามารถช่วยปรับ สภาพได้เชน่ กัน 5. การเลือกชนดิ ของผัก ผักท่ีจะปลูกควรคํานึงถึง การใช้เนื้อที่ให้ได้ประโยชน์ มากท่ีสุดโดยการปลูกผัก มากชนิดท่ีสุดเพื่อจะได้มี ผักไว้บริโภคหลาย ๆ อย่าง และควรเลือกชนิดของผักท่ีเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และปลูกให้ตรง กับฤดูกาล ทั้งท่ีควรพิจารณาเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์ วันเส่ือมอายุ ปริมาณหรือนํ้าหนัก โดยดูจากสลาก ข้าง กระป๋อง หรอื ซองทบ่ี รรจุเมล็ดพันธุ์ ซึ่งจะทําให้ทราบว่า เมล็ดพันธุ์นั้นใหม่หรือเส่ือมความงอกแล้ว เวลาวันท่ีผลิต ถึงวันท่จี ะซอื้ ถา้ ยิ่งนาน คุณภาพเมล็ดพนั ธจุ์ ะลดลง 6. ทกั ษะการทางานร่วมกนั ทักษะการทํางานรว่ มกนั เป็นทกั ษะทางสังคมทสี่ าํ คัญอย่างหน่งึ ของมนษุ ยเ์ พราะมนษุ ยเ์ ปน็ สตั ว์สังคม การทาํ งานเป็นกลุม่ จะเน้นการมีสว่ นรว่ มโดยบคุ คลหรือสมาชิกกลมุ่ ที่มีความรู้ ความสามารถรว่ มมอื กนั ทาํ งานมี การระดมสมองเพื่อใหก้ ารทํางานมีประสิทธภิ าพทงั้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ ดงั นนั้ การทาํ งานเปน็ กลุ่มจึงมี ลกั ษณะเปน็ กระบวนการท่ีเรียกวา่ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการกลุ่มหมายถงึ กระบวนการทาํ งานร่วมกันตัง้ แต่ 2 คนข้ึนไปโดยมวี ตั ถปุ ระสงคแ์ ละการ ดาํ เนนิ งานร่วมกัน ลักษณะกลุ่มที่ดีมีลักษณะดงั นี้ 1. มโี ครงสร้าง มกี ารจดั ตําแหนง่ หน้าที่ไดเ้ หมาะสมกบั ความรเู้ ชน่ ประธาน รองประธาน รองหัวหนา้ เหรัญญิก ประชาสัมพันธ์ เลขานุการ 2. มีความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมาชกิ 3. มบี รรทัดฐานหรอื กฎระเบียบ 4. มคี า่ นิยมและทัศนคติเหมือนกัน 5. มีงานมีกิจกรรมมีวัตถปุ ระสงค์ของกล่มุ 6. ตอ้ งมเี วลาในการอย่รู ่วมกันระยะหน่งึ 7. สมาชิกทุกคนต้องมีความคุ้นเคยกนั อยา่ งดี หลักการทางานของกระบวนการกลุ่มมีขน้ั ตอนดังน้ี 1. ข้ันตระหนัก สมาชกิ ทุกคนเหน็ ความสําคัญของกจิ กรรมกจิ กรรมท่สี ําคญั ของกระบวนการกล่มุ ทจี่ ะต้องทํามี 6 ประการ 1.1 ประชมุ เพือ่ เลือกประธาน 1.2 มอบหมายหน้าที่ 1.3 มอบหมายงาน 1.4 สมาชกิ รว่ มกันอภปิ ราย 1.5 ผู้ทาํ หนา้ ท่เี ลขาต้องบนั ทึก 1.5 กอ่ นปิดประชมุ ต้องนดั หมาย เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 49 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
2. ขนั้ วางแผนปฏิบัติงาน สมาชกิ รว่ มกันวางแผนว่าจะปฏบิ ตั งิ านวิธไี หนมีขั้นตอนอย่างไร ใครเป็น ผู้รบั ผิดชอบจะติดตามตรวจสอบอย่างไรปรบั ปรุงแก้ไข 3. ข้นั ลงมือปฏบิ ัติงาน นกั เรยี นปฏบิ ัติงานตามแผนที่ไดว้ างไว้โดยมตี ารางการปฏิบตั งิ าน 4. ข้ันตรวจสอบประเมินผลงาน เปน็ ไปตามแผนหรือไม่มีอปุ สรรคอะไร มสี ่งิ ใดต้องปรบั ปรุงแกไ้ ขอาจ มอบหมายให้ผ้ปู ฏิบตั งิ านเปน็ ผู้ตรวจหรอื สมาชกิ คนอ่ืน 5. ข้นั ปรบั ปรุง แกไ้ ข และพฒั นางานหลงั จากมีการประเมินผลการปฏิบัติงานถ้างานไมเ่ ปน็ ไปตามกําหนด เปูาหมายต้องปรับปรุงแกไ้ ขหรือใหพ้ ฒั นาย่ิงข้นึ ระยะเวลาของการทางานด้วยกระบวนการกลมุ่ 1. ระยะสร้างสัมพันธภาพ ระหวา่ งผู้นํากับสมาชิกกลุม่ ผู้นํากลุ่มต้องสร้างบรรยากาศ สร้างความไว้วางใจ ไม่ใชค้ วามคิดตวั เองเปน็ ตัวตดั สิน 2. ระยะดําเนนิ การ เปน็ ระยะท่สี มาชิกไว้วางใจ 3. ระยะสิ้นสุดการทํางานกลมุ่ ผู้นํากลมุ่ จะสรุปผลงานและประสบการณ์ท้ังหมดในการทํางานและให้ สมาชิกประเมนิ ความก้าวหนา้ ท่มี า : https://krupaga.wordpress.com/category เอกสารประกอบการเรียนรู้ 50 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลามา้
การถอดบทเรยี น ฐานท่ี 6 กระถางประสิทธภิ าพสูง ความรู้ คณุ ธรรม -หลักการเจรญิ เติบโตของพืช -ความประหยดั -หลักการทางานของกระถางประสิทธภิ าพสูง -ความขยัน -ระบบอากาศ -ความอดทน -การปรงุ ดนิ -การเลอื กชนิดของพืช พอประมาณ -ประหยดั น้า เวลา -ปรมิ าณการปลูกพืชใหเ้ หมาะสม กับพน้ื ท่ี -นาวัสดุทไ่ี ม่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ มีเหตผุ ล มีภูมิคุ้มกันในตวั ท่ีดี -ประหยดั น้า -ประหยดั นา้ เวลา พื้นท่ี -ประหยดั ปุ๋ย -บริโภคผลผลิตท่ีปลอดภัย -ประหยดั พน้ื ท่ี ตอ่ สุขภาพ -ประหยดั เวลา -การเผชิญภยั แลง้ วัตถุ/เศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม วฒั นธรรม -วสั ดุเหลอื ใช้ -รู้จกั การแบง่ ปัน -ลดภาวะโลกรอ้ น -ภมู ปิ ัญญาด้าน -ลดรายจ่าย -การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ -ลดการใชส้ ารเคมี เทคโนโลยีการเกษตร -เพ่มิ รายได้ -นวัตกรรมทางการ -ภูมทิ ัศนส์ วยงาม เกษตร เอกสารประกอบการเรียนรู้ 51 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลามา้
ฐานท่ี 7 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบางปลามา้ มารจู้ ักห้องสมดุ กันเถอะ ห้องสมุดประชาชน ( Publish Library ) หมายถึง ห้องสมุดท่ีให้บริการสําหรับประชาชน ทุกเพศ ทุก วยั ไมจ่ าํ กดั อายุ มวี ัตถปุ ระสงค์ดัง ต่อไปนี้ 1. เพอ่ื เปน็ ศนู ย์ข้อมูล ข่าวสารของชมุ ชน 2. เพ่อื เป็นศนู ย์ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของชุมชน 3. เพ่อื เปน็ ศูนย์กลางการจัดกจิ กรรมของชุมชน 4. เพ่อื พฒั นาเครือข่ายการเรียนรู้ ในชุมชน ลักษณะและกจิ กรรมของหอ้ งสมุด ห้องสมุดประชาชนในประเทศไทยมหี น่วยงานตา่ งๆ รบั ผดิ ชอบ ดังน้ี 1. ห้องสมุดประชาชนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด ประชาชนระดับจังหวัดและระดับอําเภอ นอกจากน้ีกรมการศึกษานอกโรงเรียนยังได้จัดท่ีอ่านหนังสือประจํา หมบู่ า้ น ที่อ่านหนังสอื ในวัด และห้องสมุดเคลอื่ นที่ 2. ห้องสมุดประชาชนสังกัดกรุงเทพมหานคร มีทั้งหมด 12 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนสวนลุมพินี หอ้ งสมุดประชาชนซอยพระนาง ห้องสมุดประชาชนปทมุ วนั หอ้ งสมดุ ประชาชนวัดอนงคาราม ห้องสมุดประชาชน วัดสังข์กระจาย ห้องสมุดประชาชนบางเขน ห้องสมุดประชาชนบางขุนเทียน ห้องสมุดประชาชนวัดรัชฎาธิษฐาน ราชวรวิหารตลิง่ ชัน ห้องสมุดประชาชนประเวช ห้องสมุดประชาชนวัดลาดปลาเค้า ห้องสมุดประชาชนภาษีเจริญ ห้องสมดุ ประชาชนวัดราชโอรส 3. หอ้ งสมุดประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เป็นห้องสมุดที่ธนาคารพาณิชย์เปิดขึ้นเพ่ือบริการสังคม และ เพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์กจิ การของธนาคารให้เป็นท่รี ้จู กั แพร่หลาย เช่น หอ้ งสมุดประชาชนของธนาคารกรงุ เทพจํากัด 4. ห้องสมุดประชาชนของรัฐบาลต่างประเทศ โดยได้รับความสนับสนุนจากรัฐบาลต่างประเทศ เช่น หอ้ งสมุดบริตชิ เคานซ์ ิล ของรัฐบาลสหราชอาณาจกั ร ต้ังอยู่ในบรเิ วณสยามสแควร์ กรุงเทพมหานคร ทีม่ า : https://sites.google.com/site/nganhxngsmudkws/khorngkar- brihar?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1 5. ห้องสมดุ ประชาชนเสียคา่ บํารงุ หอ้ งสมดุ ประชาชนประเภทนใ้ี หบ้ ริการเฉพาะสมาชิกเท่าน้ัน โดยผู้เป็น สมาชิกจะต้อง เสียค่าบํารุงตามระเบียบของห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมุดนีลสันเฮย์ ต้ังอยู่ที่ถนนสุริวงศ์ กรงุ เทพมหานคร ประโยชนข์ องหอ้ งสมุด 1. เป็นสถานทค่ี น้ ควา้ หาความรู้เพ่มิ เตมิ 2. เป็นสถานท่ี ทผ่ี ู้ใชบ้ ริการจะเลอื กหนังสือทอ่ี า่ นไดต้ ามความสนใจ 3. ชว่ ยให้ผู้ใช้บริการเปน็ คนทนั สมยั อยู่ตลอดเวลา 4. ชว่ ยใหผ้ ู้ใชบ้ รกิ ารรจู้ กั ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ 5. ช่วยให้ผใู้ ช้บริการมนี ิสยั รักการอ่าน 6. ฝกึ ให้ผูใ้ ช้บรกิ ารรู้จักรบั ผดิ ชอบในสาธารณสมบัติ เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 52 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลาม้า
หอ้ งสมุดประชาชน แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. ห้องสมุดประชาชนขนาดใหญ่ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนจังหวัด หอสมุดรัชมังคลาภิเษก พระราชวัง ไกลกังวลหัวหิน ซึ่งมีลักษณะอาคารใหญ่ 2 ช้ัน ชั้นบนจัดบริการหนังสือ เอกสารและส่ือที่เกี่ยวกับการศึกษาตาม หลักสูตรแต่ละระดับ ห้องโสตทัศนศึกษา มุมมสธ. มุมมร. และมุมข้อมูลท้องถิ่นเป็นต้น ช้ันล่าง จะจัดบริการ หนงั สือ เอกสาร และสอ่ื โดยท่ัวๆไป ทั้งทเ่ี กี่ยวกับสารคดี บนั เทิงคดี หนังสือเด็ก 2. ห้องสมุดประชาชนขนาดกลาง ได้แก่หอ้ งสมดุ ประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี\" ลักษณะอาคารเป็นอาคาร 2 ช้ัน ช้ันบน จะจัดเป็นห้องท้องถิ่นบริการเก่ียวกับข้อมูลชุมชน ห้องการศึกษานอกโรงเรียนจัดบริการส่ือ ความรู้ เกย่ี วกบั การศกึ ษานอกโรงเรียน ทกุ ระดับทุกประเภทและห้องเฉลมิ พระเกยี รตฯิ จดั บริการข้อมูลเกี่ยว กับพระราช ประวัติ พระราชกรณียกิจ โครงการพระราชดําริ หนังสือพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารแี ละพระราชวงค์ท่เี กย่ี วข้องเปน็ ต้น ชัน้ ลา่ งจะจัดบรกิ ารหนังสือ เอกสารและสอ่ื โดยทวั่ ๆ ไป 3.หอ้ งสมดุ ประชาชนขนาดเล็ก ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ ประชาชนอาํ เภอ ลกั ษณะอาคารเปน็ อาคารช้ันเดียว การ จัดบริการหนังสือและสื่อจัดเป็นมุมต่างๆ เช่น มุมเด็กและครอบครัว มุมวารสารหนังสือพิมพ์ มุมหนังสือทั่วไป มมุ อ้างอิง มุมการศึกษานอกโรงเรียน เปน็ ตน้ จุดเริ่มต้นแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงแก่สังคมไทย อยา่ งมากในทกุ ดา้ น ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม อีกทั้งกระบวนการของ ความเปล่ียนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากท่ีจะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปล่ียนแปลง ท้งั หมดต่างเป็นปจั จัยเชอ่ื มโยงซ่ึงกันและกนั สาํ หรบั ผลของการพฒั นาในดา้ นบวกน้ัน ได้แก่ การเพ่ิมขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความ เจริญทางวัตถุ และสาธารณปู โภคตา่ งๆ ระบบสอ่ื สารทท่ี ันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่าง ท่ัวถึงมากข้ึน แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผล ใหช้ นบทเกดิ ความออ่ นแอในหลายดา้ น ทง้ั การต้องพ่งึ พงิ ตลาดและพอ่ ค้าคนกลางในการส่งั สินคา้ ทุน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตาม ประเพณีเพ่ือการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสม ปรบั เปลี่ยนกนั มาถูกลืมเลอื นและเรมิ่ สูญหายไป ส่ิงสําคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดํารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพ้ืนฐานท่ีทําให้คนไทยสามารถพ่ึงตนเอง และดําเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อํานาจและความมีอิสระในการกําหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพ่ือให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ รวม ทั้ง ความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซ่ึงทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและ สงั คมไทยเคยมีอยูแ่ ต่ เดมิ ต้องถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอ ของชนบท รวมทั้งปัญหาอ่ืนๆ ทเ่ี กิดขึน้ ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยนื ยนั ปรากฎการณน์ ้ีไดเ้ ปน็ อยา่ งดี พระราชดารวิ า่ ด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง “...การพฒั นาประเทศจําเปน็ ต้องทําตามลําดับข้ัน ตอ้ งสร้าง พนื้ ฐานคอื ความพอมี พอกิน พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญ่เบอื้ งตน้ กอ่ น โดยใช้วธิ ีการและอปุ กรณ์ท่ีประหยดั แต่ ถกู ต้องตามหลักวชิ าการ เม่อื ได้พ้นื ฐานความมั่นคงพรอ้ มพอสมควร และปฏิบตั ิไดแ้ ล้ว จงึ ค่อยสร้างคอ่ ยเสรมิ ความ เจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขนั้ ทส่ี งู ข้นึ โดยลาํ ดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) เอกสารประกอบการเรียนรู้ 53 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ีพระราชทานมานานกว่า ๓๐ ปี เป็นแนวคิดที่ต้ังอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสาย กลาง และความไม่ประมาท คํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ ความรู้และคุณธรรม เป็นพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต ท่ีสําคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซ่ึงจะ นําไปสู่ “ความสุข” ในการดาํ เนนิ ชีวติ อย่างแทจ้ รงิ “...คนอืน่ จะว่าอยา่ งไรกช็ า่ งเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีส่ิงที่สมัยใหม่ แต่ เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ และทํางานต้ังจิต อธษิ ฐานตง้ั ปณธิ าน ในทางนที้ จ่ี ะใหเ้ มืองไทยอยแู่ บบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่ พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้... ” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗) พระบรมราโชวาทน้ี ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศเป็นหลักแต่ เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ ในเบ้ืองต้นก่อน เมื่อมีพื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจให้ สูงขึน้ ซ่ึงหมายถึง แทนท่ีจะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนําการพัฒนาประเทศ ควรท่ีจะสร้างความ ม่ันคงทางเศรษฐกิจพ้ืนฐานก่อน นั่นคือ ทาให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่พอมีพอกินก่อน เป็นแนวทางการ พัฒนาทเี่ น้นการกระจายรายได้ เพื่อสร้างพ้ืนฐานและความมั่นคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการ พัฒนาในระดับสงู ขน้ึ ไป ทรงเตอื นเรื่องพออย่พู อกิน ตัง้ แตป่ ี ๒๕๑๗ คือ เม่ือ ๓๐ กว่าปีที่แล้ว แต่ทศิ ทางการพัฒนามิไดเ้ ปลี่ยนแปลง “...เม่ือปี ๒๕๑๗ วนั น้ันไดพ้ ดู ถงึ วา่ เราควรปฏิบตั ใิ ห้พอมีพอกนิ พอมีพอกนิ น้ีกแ็ ปลวา่ เศรษฐกิจพอเพยี งน่นั เอง ถ้าแต่ละคนมีพอมพี อกนิ กใ็ ช้ได้ ยงิ่ ถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยง่ิ ดี และประเทศไทยเวลาน้นั ก็เริม่ จะเป็นไม่ พอมีพอกนิ บางคนก็มีมาก บางคนก็ไมม่ เี ลย...”(๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑) เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดําริ ช้ีแนะแนวทาง การดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทาง เศรษฐกจิ และเม่อื ภายหลังได้ทรงเน้นยํ้าแนวทางการแก้ไขเพ่ือให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและ ยง่ั ยนื ภายใต้กระแสโลกาภิวัตนแ์ ละความ เปลยี่ นแปลงตา่ งๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อ การกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิงในการนําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกข้ันตอน และ ขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพ้นื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีสํานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และกวา้ งขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 54 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลาม้า
ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ประกอบด้วยคุณสมบตั ิ ดงั น้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไม่เบียดเบยี นตนเองและผ้อู น่ื เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่ีอยใู่ นระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเกย่ี วกบั ระดบั ความพอเพียงน้นั จะต้องเปน็ ไปอย่างมเี หตผุ ล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคาํ นึงถงึ ผลท่คี าดว่าจะเกดิ ข้ึนจากการกระทํานั้นๆ อยา่ งรอบคอบ ๓. ภูมคิ ุม้ กัน หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดา้ นตา่ งๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้น โดย คาํ นึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดวา่ จะเกดิ ข้นึ ในอนาคต โดยมี เงือ่ นไข ของการตัดสนิ ใจและดําเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังน้ี ๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบร้เู กย่ี วกบั วิชาการตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วข้องรอบดา้ น ความรอบคอบท่จี ะนาํ ความรเู้ หล่านน้ั มาพิจารณาให้เช่ือมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ัติ ๒. เงือ่ นไขคุณธรรม ที่จะตอ้ งเสรมิ สร้าง ประกอบดว้ ย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซ่ือสัตยส์ จุ รติ และมี ความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนนิ ชีวติ พระราชดารัสทีเ่ ก่ยี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง “...เศรษฐศาสตร์เปน็ วชิ าของเศรษฐกจิ การทีต่ ้องใช้รถไถต้องไปซ้ือ เราต้องใชต้ ้องหาเงินมาสําหรบั ซื้อน้าํ มัน สําหรบั รถไถ เวลารถไถเก่าเราตอ้ งยงิ่ ซ่อมแซม แต่เวลาใช้นนั้ เราก็ต้องปูอนนํา้ มนั ให้เป็นอาหาร เสร็จแล้วมนั คาย ควัน ควนั เราสูดเขา้ ไปแล้วกป็ วดหัว ส่วนควายเวลาเราใชเ้ ราก็ต้องปอู นอาหาร ต้องให้หญา้ ให้อาหารมันกิน แตว่ ่า มันคายออกมา ท่ีมันคายออกมาก็เปน็ ป๋ยุ แลว้ ก็ใช้ได้สาํ หรับให้ที่ดินของเราไมเ่ สีย...” พระราชดาํ รสั เน่ืองในพระราชพิธพี ืชมงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ “...เราไม่เป็นประเทศรํ่ารวย เรามพี อสมควร พออยู่ได้ แต่ไม่เปน็ ประเทศทก่ี ้าวหน้าอย่างมาก เราไม่อยากจะ เป็นประเทศกา้ วหนา้ อย่างมาก เพราะถา้ เราเปน็ ประเทศกา้ วหน้าอย่างมากก็จะมแี ต่ถอยกลบั ประเทศเหลา่ นนั้ ท่ี เป็นประเทศอุตสาหกรรมก้าวหนา้ จะมีแต่ถอยหลงั และถอยหลงั อยา่ งนา่ กลวั แต่ถา้ เรามีการบรหิ ารแบบเรียกว่า แบบคนจน แบบท่ีไมต่ ิดกบั ตํารามากเกนิ ไป ทําอยา่ งมีสามัคคนี ่ีแหละคือเมตตากนั จะอยู่ได้ตลอดไป...” พระราชดํารสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔ “...ตามปกติคนเราชอบดสู ถานการณใ์ นทางดี ท่ีเขาเรียกว่าเลง็ ผลเลศิ กเ็ ห็นว่าประเทศไทย เราน่กี ้าวหน้าดี การเงนิ การอตุ สาหกรรมการคา้ ดี มกี าํ ไร อีกทางหน่ึงกต็ ้องบอกวา่ เรากําลงั เสื่อมลงไปสว่ นใหญ่ ทฤษฎวี ่า ถ้ามีเงิน เทา่ นัน้ ๆ มกี ารกเู้ ท่านัน้ ๆ หมายความว่าเศรษฐกิจกา้ วหน้า แลว้ ก็ประเทศกเ็ จริญมีหวังว่าจะเป็นมหาอํานาจ ขอ โทษเลยต้องเตือนเขาวา่ จริงตัวเลขดี แตว่ ่าถา้ เราไม่ระมัดระวังในความต้องการพนื้ ฐานของประชาชนน้ันไมม่ ีทาง...” พระราชดาํ รัส เน่อื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๖ “...เดี๋ยวนปี้ ระเทศไทยก็ยงั อย่ดู ีพอสมควร ใช้คําว่า พอสมควร เพราะเดีย๋ วมีคนเหน็ วา่ มีคนจน คนเดอื ดร้อน จาํ นวนมากพอสมควร แต่ใชค้ ําวา่ พอสมควรน้ี หมายความวา่ ตามอัตตภาพ...” พระราชดาํ รสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ “...ทเ่ี ป็นหว่ งนนั้ เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ที่เป็นปกี าญจนาภเิ ษกก็ได้เห็นสง่ิ ที่ทาํ ให้เหน็ ไดว้ า่ ประชาชนยงั มี ความเดือดร้อนมาก และมีสงิ่ ที่ควรจะแก้ไขและดําเนินการตอ่ ไปทุกดา้ น มภี ัยจากธรรมชาติกระหนาํ่ ภัยธรรมชาติ นเี้ ราคงสามารถท่จี ะบรรเทาได้หรอื แก้ไขได้ เพียงแต่ว่าต้องใช้เวลาพอใช้ มภี ัยทมี่ าจากจิตใจของคน ซง่ึ กแ็ ก้ไขได้ เหมอื นกัน แตว่ า่ ยากกวา่ ภัยธรรมชาติ ธรรมชาตินัน้ เป็นส่ิงนอกกายเรา แตน่ ิสัยใจคอของคนเป็นสง่ิ ที่อยู่ขา้ งใน อัน น้ีกเ็ ปน็ ข้อหนง่ึ ท่ีอยากใหจ้ ดั การให้มคี วามเรยี บร้อย แตก่ ็ไม่หมดหวัง...” พระราชดาํ รสั เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระ ชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 55 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
“...การจะเป็นเสือนน้ั ไมส่ ําคัญ สาํ คัญอยูท่ ่ีเรามเี ศรษฐกจิ แบบพอมพี อกิน แบบพอมีพอกินนัน้ หมายความ ว่า อุ้มชตู ัวเองได้ ให้มีพอเพยี งกบั ตนเอง ความพอเพียงน้ีไม่ไดห้ มายความว่าทุกครอบครวั จะต้องผลติ อาหารของ ตวั เอง จะต้องทอผา้ ใสเ่ อง อย่างนนั้ มนั เกินไป แตว่ ่าในหมบู่ ้านหรือในอําเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางส่ิงบางอย่างผลติ ได้มากกว่าความตอ้ งการก็ขายได้ แต่ขายในท่ีไมห่ า่ งไกลเท่าไร ไม่ต้องเสยี ค่าขนส่งมากนัก...” พระราชดาํ รัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ “...เมอื่ ปี ๒๕๑๗ วนั นัน้ ไดพ้ ดู ถึงวา่ เราควรปฏิบตั ิให้พอมีพอกิน พอมีพอกนิ น้ีก็แปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพียง น่ันเอง ถ้าแต่ละคนมพี อมีพอกนิ ก็ใชไ้ ด้ ย่งิ ถ้าท้งั ประเทศพอมีพอกินก็ย่ิงดี และประเทศไทยเวลาน้ันก็เร่มิ จะเปน็ ไม่ พอมพี อกนิ บางคนก็มมี าก บางคนก็ไม่มีเลย...” พระราชดํารัส เนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุ สดิ าลัย วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ “...พอเพียง มีความหมายกว้างขวางย่ิงกวา่ น้ีอีก คือคําวา่ พอ ก็พอเพียงนีก้ ็พอแคน่ ั้นเอง คนเราถ้าพอใน ความตอ้ งการก็มีความโลภน้อย เมือ่ มีความโลภน้อยกเ็ บียดเบยี นคนอื่นน้อย ถา้ ประเทศใดมีความคิดอันนี้ มี ความคิดว่าทาํ อะไรต้องพอเพียง หมายความวา่ พอประมาณ ซือ่ ตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยเู่ ปน็ สุข พอเพียง นี้อาจจะมี มมี ากอาจจะมีของหรหู รากไ็ ด้ แตว่ า่ ต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอน่ื ...” พระราชดํารัส เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ “...ไฟดบั ถา้ มีความจําเป็น หากมเี ศรษฐกิจพอเพยี งแบบไม่เตม็ ท่ี เรามเี ครอื่ งปั่นไฟกใ็ ช้ป่นั ไฟ หรอื ถ้าขั้น โบราณกวา่ มืดกจ็ ดุ เทียน คอื มีทางทจี่ ะแก้ปัญหาเสมอ ฉะนน้ั เศรษฐกจิ พอเพียงก็มเี ป็นข้ันๆ แตจ่ ะบอกวา่ เศรษฐกิจพอเพียงน้ี ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอรเ์ ซ็นต์นเี่ ปน็ ส่งิ ทําไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลีย่ น ตอ้ งมีการ ช่วยกนั ถา้ มีการช่วยกัน แลกเปล่ยี นกนั ก็ไมใ่ ชพ่ อเพียงแล้ว แต่ว่าพอเพยี งในทฤษฎีในหลวงนี้ คือให้สามารถทจ่ี ะ ดําเนนิ งานได้...” พระราชดาํ รสั เน่ืองในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วันท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ “...โครงการต่างๆ หรือเศรษฐกจิ ท่ใี หญ่ ต้องมีความสอดคล้องกนั ดีท่ีไม่ใชเ่ หมือนทฤษฎใี หม่ ทีใ่ ชท้ ีด่ ิน เพียง ๑๕ ไร่ และสามารถทจี่ ะปลกู ข้าวพอกนิ กิจการนใ้ี หญ่กว่า แต่ก็เป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งเหมือนกัน คนไม่เขา้ ใจ วา่ กิจการใหญๆ่ เหมือนสร้างเข่ือนปาุ สกั กเ็ ป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกนั เขานกึ วา่ เปน็ เศรษฐกิจสมัยใหม่ เป็น เศรษฐกจิ ท่ีห่างไกลจากเศรษฐกจิ พอเพยี ง แต่ท่ีจรงิ แล้ว เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกัน...” พระราชดาํ รัส เน่อื ง ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วันท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ “...ฉันพูดเศรษฐกจิ พอเพยี งความหมายคือ ทําอะไรใหเ้ หมาะสมกับฐานะของตัวเอง คอื ทําจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ข้ึนไปเป็นสองหม่ืน สามหมนื่ บาท คนชอบเอาคําพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพยี งไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพยี ง คือทําเป็น Self-Sufficiency มนั ไมใ่ ช่ความหมายไมใ่ ช่แบบท่ีฉนั คดิ ท่ีฉนั คดิ คือเป็น Self- Sufficiency of Economy เช่น ถา้ เขาตอ้ งการดูทวี ี ก็ควรใหเ้ ขามดี ู ไมใ่ ช่ไปจํากัดเขาไม่ใหซ้ ือ้ ทวี ีดู เขาตอ้ งการดู เพอ่ื ความสนุกสนาน ในหมูบ่ ้านไกลๆ ทฉ่ี นั ไป เขามที วี ดี ูแต่ใชแ้ บตเตอร่ี เขาไม่มไี ฟฟูา แต่ถ้า Sufficiency นัน้ มี ทวี เี ขาฟุมเฟือย เปรยี บเสมือนคนไม่มีสตางค์ไปตดั สทู ใส่ และยงั ใส่เนคไทเวอร์ซาเช่ อันนี้กเ็ กนิ ไป...” พระตําหนักเปีย่ มสุข วงั ไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง ม่งุ เน้นใหผ้ ู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเริ่มต้นผลิต หรือบรโิ ภคภายใต้ขอบเขต ข้อจํากัดของรายได้ หรือทรัพยากรทมี่ ีอยู่ไปกอ่ น ซ่งึ ก็คือ หลักในการลดการพ่ึงพา เพ่ิม ขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตได้ด้วยตนเอง และลดภาวะการเส่ียงจากการไม่สามารถควบคุมระบบ ตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแต่ อาจฟมุ เฟือยไดเ้ ปน็ คร้งั คราวตามอัตภาพ แต่คนสว่ นใหญ่ของประเทศ มกั ใช้จา่ ยเกนิ ตวั เกนิ ฐานะทหี่ ามาได้ เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 56 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลามา้
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนําไปสู่เปูาหมายของการสร้างความมั่นคงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจงึ ควรเนน้ ที่เศรษฐกิจการเกษตร เน้นความมั่นคงทาง อาหาร เป็นการสร้างความม่ันคงให้เป็นระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดความเส่ียง หรือความไมม่ ั่นคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้ เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทุกสาขา ทุก ภาคของเศรษฐกิจ ไม่จําเป็นจะต้องจํากัดเฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาค อสังหารมิ ทรัพย์ และการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ โดยมีหลักการที่คล้ายคลึงกันคือ เน้นการเลือกปฏิบัติอย่าง พอประมาณ มเี หตมุ ผี ล และสร้างภูมคิ ้มุ กันให้แกต่ นเองและสงั คม การดาเนนิ ชวี ิตตามแนวพระราชดาริพอเพยี ง พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงเข้าใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมือ่ ไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดําริ หรอื พระ บรมราโชวาทในดา้ นตา่ งๆ จะทรงคํานึงถึงวถิ ีชวี ติ สภาพสังคมของประชาชนดว้ ย เพื่อไม่ใหเ้ กดิ ความขัดแย้งทาง ความคิด ท่ีอาจนาํ ไปสูค่ วามขัดแยง้ ในทางปฏบิ ตั ไิ ด้ แนวพระราชดาํ รใิ นการดาํ เนินชวี ติ แบบพอเพยี ง ๑. ยดึ ความประหยดั ตัดทอนคา่ ใช้จา่ ยในทุกดา้ น ลดละความฟมุ เฟือยในการใชช้ วี ติ ๒. ยดึ ถอื การประกอบอาชีพด้วยความถกู ต้อง ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ๓. ละเลกิ การแกง่ แย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าแบบต่อสูก้ ันอย่างรุนแรง ๔. ไม่หยุดนง่ิ ท่จี ะหาทางให้ชีวิตหลดุ พน้ จากความทกุ ขย์ าก ด้วยการขวนขวายใฝุหาความรู้ใหม้ รี ายได้เพ่ิมพูนขึน้ จนถึงขัน้ พอเพยี งเปน็ เปูาหมายสาํ คัญ ๕. ปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดี ลดละสงิ่ ชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา ตวั อย่างเศรษฐกิจพอเพียงทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่ คอื ตัวอยา่ งท่ีเป็นรปู ธรรมของ การประยุกตใ์ ช้เศรษฐกิจพอเพยี งท่เี ด่นชัดท่ีสดุ ซึง่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดํารนิ ี้ เพือ่ เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรท่ีมกั ประสบปญั หาทัง้ ภัยธรรมชาติ และปจั จัยภาย นอกที่มผี ลกระทบต่อการทาํ การเกษตร ให้สามารถผ่านพน้ ช่วงเวลาวกิ ฤต โดยเฉพาะการขาด แคลนนํ้าได้โดยไมเ่ ดือดรอ้ นและยากลาํ บากนัก ความเส่ียงที่เกษตรกร มักพบเป็นประจา ประกอบด้วย ๑. ความเสย่ี งดา้ นราคาสนิ คา้ เกษตร ๒. ความเสี่ยงในราคาและการพึ่งพาปจั จัยการผลิตสมยั ใหม่จากต่างประเทศ ๓. ความเส่ียงดา้ นนํา้ ฝนทงิ้ ชว่ ง ฝนแลง้ ๔. ภัยธรรมชาตอิ ื่นๆ และโรคระบาด ๕. ความเสี่ยงดา้ นแบบแผนการผลติ - ความเสีย่ งด้านโรคและศตั รูพชื - ความเส่ยี งด้านการขาดแคลนแรงงาน - ความเสย่ี งด้านหนส้ี ินและการสูญเสียท่ีดนิ ทฤษฎใี หม่ จึงเปน็ แนวทางหรือหลักการในการบรหิ ารการจัดการท่ีดนิ และนาํ้ เพื่อการเกษตรในท่ดี นิ ขนาดเลก็ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 57 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลาม้า
ทฤษฎีใหม่ ความสาคัญของทฤษฎีใหม่ ๑. มีการบริหารและจดั แบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเปน็ สดั สว่ นท่ีชัดเจน เพ่อื ประโยชนส์ งู สุดของเกษตรกร ซ่ึง ไมเ่ คยมีใครคิดมากอ่ น ๒. มีการคํานวณโดยใช้หลกั วิชาการเกี่ยวกับปรมิ าณนํ้าทีจ่ ะกักเก็บให้พอเพียงตอ่ การเพาะปลกู ไดอ้ ย่าง เหมาะสมตลอดปี ๓. มกี ารวางแผนทส่ี มบูรณ์แบบสําหรบั เกษตรกรรายยอ่ ย โดยมีถงึ ๓ ขั้นตอน ทฤษฎใี หมข่ ้ันตน้ ให้แบ่งพืน้ ท่อี อกเปน็ ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซง่ึ หมายถึง พนื้ ทีส่ ว่ นทหี่ นง่ึ ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเกบ็ กกั น้ําเพื่อใชเ้ ก็บกักนา้ํ ฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูก พชื ในฤดูแลง้ ตลอดจนการเล้ียงสตั วแ์ ละพืชน้ําตา่ งๆ พ้ืนที่สว่ นที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลกู ข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เปน็ อาหารประจําวันสําหรบั ครอบครัวให้ เพียงพอตลอด ปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพง่ึ ตนเองได้ พน้ื ที่สว่ นทสี่ าม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ พชื ผัก พชื ไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ เพ่ือใช้เปน็ อาหารประจาํ วัน หากเหลือบรโิ ภคก็นําไปจําหนา่ ย พน้ื ที่สว่ นทส่ี ่ี ประมาณ ๑๐% เปน็ ทีอ่ ยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอนื่ ๆ ทฤษฎีใหมข่ น้ั ทสี่ อง เมอื่ เกษตรกรเข้าใจในหลกั การและไดป้ ฏิบัติในทด่ี ินของตนจนได้ผลแล้ว กต็ อ้ งเร่ิมขั้นที่สอง คือ ใหเ้ กษตรกรรวมพลังกนั ในรูป กลมุ่ หรอื สหกรณ์ รว่ มแรงร่วมใจกันดําเนินการในด้าน (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรยี มดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะต้องรว่ มมอื ในการผลิต โดยเรม่ิ ตั้งแตข่ ้นั เตรียมดนิ การหาพันธ์พุ ืช ปยุ๋ การจัดหานาํ้ และ อื่นๆ เพ่ือการเพาะปลูก (๒) การตลาด (ลานตากขา้ ว ยงุ้ เคร่อื งสีข้าว การจําหน่ายผลผลิต) - เมื่อมีผลผลิตแลว้ จะต้องเตรียมการต่างๆ เพ่ือการขายผลผลิตให้ได้ประโยชนส์ ูงสดุ เช่น การเตรยี มลาน ตากขา้ วรว่ มกัน การจัดหายงุ้ รวบรวมขา้ ว เตรียมหาเครื่องสขี ้าว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลติ ใหไ้ ด้ ราคาดแี ละลดคา่ ใชจ้ า่ ยลงดว้ ย (๓) การเปน็ อยู่ (กะปิ น้าํ ปลา อาหาร เคร่ืองนุง่ หม่ ฯลฯ) - ในขณะเดียวกนั เกษตรกรต้องมีความเปน็ อยู่ท่ีดีพอสมควร โดยมปี จั จยั พื้นฐานในการดํารงชีวติ เช่น อาหารการกินตา่ งๆ กะปิ น้ําปลา เส้อื ผ้า ท่พี อเพยี ง (๔) สวัสดกิ าร (สาธารณสขุ เงินกู้) - แตล่ ะชมุ ชนควรมีสวัสดิภาพและบริการทจ่ี ําเปน็ เช่น มีสถานอี นามยั เมื่อยามปวุ ยไข้ หรือมีกองทุนไว้ กู้ยืมเพ่ือประโยชนใ์ นกิจกรรมตา่ งๆ ของชมุ ชน (๕) การศึกษา (โรงเรียน ทนุ การศึกษา) - ชุมชนควรมบี ทบาทในการส่งเสรมิ การศึกษา เชน่ มกี องทุนเพื่อการศึกษาเลา่ เรยี นให้แก่เยาวชนของชม ชนเอง (๖) สังคมและศาสนา เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 58 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลามา้
- ชมุ ชนควรเปน็ ทีร่ วมในการพัฒนาสงั คมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นทีย่ ึดเหน่ียว โดยกิจกรรมทัง้ หมดดังกล่าวข้างตน้ จะต้องได้รับความรว่ มมอื จากทุกฝาุ ยทเ่ี ก่ยี วข้อง ไม่วา่ ส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นสําคญั ทฤษฎีใหมข่ ้นั ที่สาม เมือ่ ดําเนินการผา่ นพ้นข้ันทส่ี องแลว้ เกษตรกร หรอื กลุ่มเกษตรกรก็ควรพฒั นาก้าวหนา้ ไปสขู่ ้นั ที่ สามต่อไป คือตดิ ตอ่ ประสานงาน เพอื่ จัดหาทนุ หรอื แหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรอื บริษัท หา้ งรา้ นเอกชน มาชว่ ยในการลงทนุ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทง้ั นี้ ทัง้ ฝาุ ยเกษตรกรและฝุายธนาคาร หรอื บรษิ ัทเอกชนจะ ได้รับประโยชน์ร่วมกนั กลา่ วคือ - เกษตรกรขายขา้ วไดร้ าคาสงู (ไม่ถูกกดราคา) - ธนาคารหรือบรษิ ัทเอกชนสามารถซื้อขา้ วบรโิ ภคในราคาตํ่า (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) - เกษตรกรซื้อเคร่ืองอปุ โภคบริโภคได้ในราคาต่ํา เพราะรวมกนั ซ้อื เป็นจาํ นวนมาก (เปน็ ร้านสหกรณ์ราคา ขายสง่ ) - ธนาคารหรอื บรษิ ัทเอกชน จะสามารถกระจายบคุ ลากร เพอื่ ไปดําเนนิ การในกิจกรรมต่างๆ ให้เกดิ ผลดี ยงิ่ ขนึ้ หลักการและแนวทางสาคญั ๑. เปน็ ระบบการผลติ แบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกรสามารถเล้ยี งตัวเองได้ในระดับ ทปี่ ระหยัดก่อน ท้งั นี้ ชมุ ชนต้องมีความสามัคคี รว่ มมอื รว่ มใจในการชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกันทํานองเดยี วกับการ “ลงแขก” แบบด้ังเดิมเพื่อลดค่าใชจ้ ่ายในการจา้ งแรงงานด้วย ๒. เน่ืองจากขา้ วเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้องบริโภค ดงั นัน้ จึงประมาณวา่ ครอบครัวหนึ่งทาํ นา ประมาณ ๕ ไร่ จะทําใหม้ ขี ้าวพอกินตลอดปี โดยไมต่ ้องซ้ือหาในราคาแพง เพื่อยดึ หลกั พึ่งตนเองไดอ้ ย่างมี อิสรภาพ ๓. ตอ้ งมีน้ําเพ่ือการเพาะปลกู สาํ รองไวใ้ ช้ในฤดแู ลง้ หรอื ระยะฝนทิ้งช่วงได้อยา่ งพอเพยี ง ดังน้นั จึง จําเป็นต้องกันที่ดินสว่ นหนึง่ ไวข้ ดุ สระน้าํ โดยมีหลกั ว่าต้องมนี า้ํ เพียงพอทจี่ ะเพาะปลูกได้ตลอดปี ทง้ั น้ี ได้ พระราชทานพระราชดํารเิ ปน็ แนวทางวา่ ต้องมนี า้ํ ๑,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ต่อการเพาะปลกู ๑ ไร่ โดยประมาณ ฉะน้ัน เม่ือทํานา ๕ ไร่ ทาํ พืชไร่ หรือไมผ้ ลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร)่ จะต้องมนี าํ้ ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตรต่อปี ดังน้นั หากต้งั สมมตฐิ านวา่ มพี ื้นที่ ๕ ไร่ กจ็ ะสามารถกาํ หนดสตู รคร่าวๆ วา่ แตล่ ะแปลง ประกอบด้วย - นาข้าว ๕ ไร่ - พชื ไร่ พชื สวน ๕ ไร่ - สระนาํ้ ๓ ไร่ ขดุ ลกึ ๔ เมตร จุนํา้ ได้ประมาณ ๑๙,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร ซึง่ เป็นปริมาณน้ําท่เี พียงพอที่จะ สาํ รองไวใ้ ช้ยามฤดแู ลง้ - ท่ีอยู่อาศัยและอนื่ ๆ ๒ ไร่ รวมทั้งหมด ๑๕ ไร่ แตท่ ง้ั นี้ ขนาดของสระเก็บน้ําขึ้นอยกู่ ับสภาพภมู ปิ ระเทศและสภาพแวดล้อม ดังนี้ - ถ้าเปน็ พื้นที่ทาํ การเกษตรอาศัยน้าํ ฝน สระน้าํ ควรมลี ักษณะลึก เพือ่ ปูองกันไมใ่ หน้ ํ้าระเหยได้มากเกนิ ไป ซึ่งจะทําใหม้ นี าํ้ ใชต้ ลอดทัง้ ปี เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 59 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลามา้
- ถ้าเปน็ พน้ื ที่ทาํ การเกษตรในเขตชลประทาน สระนา้ํ อาจมีลักษณะลึก หรอื ตนื้ และแคบ หรอื กวา้ งก็ได้ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม เพราะสามารถมีนํ้ามาเติมอยเู่ รือ่ ยๆ การมสี ระเกบ็ นา้ํ ก็เพ่ือใหเ้ กษตรกรมีน้ําใชอ้ ย่างสม่ําเสมอทั้งปี (ทรงเรยี กว่า Regulator หมายถงึ การ ควบคมุ ใหด้ ี มรี ะบบน้ําหมุนเวยี นใชเ้ พอื่ การเกษตรได้โดยตลอดเวลาอยา่ งต่อเน่ือง) โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ใน หน้าแล้งและระยะฝนทิ้งชว่ ง แตม่ ไิ ดห้ มายความว่า เกษตรกรจะสามารถปลกู ข้าวนาปรงั ได้ เพราะหากนา้ํ ในสระเก็บน้ําไม่พอ ในกรณีมีเขื่อนอยูบ่ ริเวณใกล้เคียงกอ็ าจจะต้องสูบน้ํามาจากเขื่อน ซ่ึงจะทาํ ให้นํ้าใน เขื่อนหมดได้ แตเ่ กษตรกรควรทํานาในหนา้ ฝน และเม่อื ถงึ ฤดแู ล้ง หรอื ฝนทง้ิ ช่วงให้เกษตรกรใชน้ ้ําที่เก็บ ตุนนนั้ ให้เกดิ ประโยชน์ทางการเกษตรอย่างสูงสดุ โดยพจิ ารณาปลูกพืชใหเ้ หมาะสมกบั ฤดกู าล เพื่อจะได้ มีผลผลิตอน่ื ๆ ไว้บรโิ ภคและสามารถนําไปขายได้ตลอดท้งั ปี ๔. การจัดแบง่ แปลงท่ีดนิ เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดน้ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงคาํ นวณและคํานงึ จากอตั ราการถือครองที่ดินถวั เฉลีย่ ครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ อย่างไรกต็ าม หากเกษตรกรมีพ้ืนทถ่ี อื ครองน้อย กวา่ น้ี หรือมากกว่านี้ กส็ ามารถใช้อตั ราสว่ น ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ เปน็ เกณฑป์ รบั ใช้ได้ กลา่ วคือ ร้อยละ ๓๐ ส่วนแรก ขดุ สระนํา้ (สามารถเล้ียงปลา ปลกู พืชน้าํ เชน่ ผักบงุ้ ผกั กะเฉด ฯลฯ ไดด้ ว้ ย) บน สระอาจสรา้ งเลา้ ไก่และบนขอบสระน้ําอาจปลูกไม้ยืนต้นที่ไม่ใช้น้ํามากโดยรอบ ได้ ร้อยละ ๓๐ ส่วนทสี่ อง ทาํ นา รอ้ ยละ ๓๐ สว่ นทส่ี าม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยนื ต้น ไม้ใชส้ อย ไมเ้ พ่อื เป็นเชื้อฟืน ไม้สรา้ งบา้ น พชื ไร่ พชื ผัก สมุนไพร เปน็ ต้น) รอ้ ยละ ๑๐ สุดท้าย เปน็ ท่ีอยู่อาศยั และอื่นๆ (ทางเดิน คนั ดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมกั โรงเรอื น โรงเพาะเหด็ คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดบั พชื สวนครวั หลงั บา้ น เปน็ ตน้ ) อยา่ งไรก็ตาม อตั ราส่วนดงั กล่าวเป็นสูตร หรอื หลักการโดยประมาณเทา่ นั้น สามารถปรบั ปรงุ เปลีย่ นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม โดยขนึ้ อยู่กบั สภาพของพนื้ ที่ดิน ปรมิ าณนา้ํ ฝน และสภาพแวดล้อม เช่น ในกรณีภาคใต้ทมี่ ีฝนตกชุก หรือพ้ืนที่ทม่ี ีแหลง่ นาํ้ มาเติมสระได้ตอ่ เนื่อง ก็อาจลดขนาดของบอ่ หรอื สระเก็บน้าํ ใหเ้ ล็กลง เพ่ือเก็บพ้ืนที่ไว้ใชป้ ระโยชน์อื่นตอ่ ไปได้ ๕. การดําเนินการตามทฤษฎีใหม่ มปี ัจจยั ประกอบหลายประการ ขึ้นอย่กู ับสภาพภูมิประเทศ สภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถิ่น ดังนน้ั เกษตรกรควรขอรับคาํ แนะนําจากเจ้าหน้าทด่ี ้วย และทส่ี ําคัญ คอื ราคาการลงทุนค่อนข้างสงู โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การขดุ สระนํ้า เกษตรกรจะต้องได้รับความชว่ ยเหลอื จาก สว่ นราชการ มูลนธิ ิ และเอกชน ๖. ในระหวา่ งการขุดสระนํ้า จะมดี ินที่ถูกขุดข้นึ มาจาํ นวนมาก หน้าดินซ่ึงเป็นดนิ ดี ควรนาํ ไปกองไว้ ตา่ งหากเพ่อื นาํ มาใช้ประโยชนใ์ นการปลูกพชื ตา่ งๆ ในภายหลงั โดยนาํ มาเกลี่ยคลุมดินช้ันล่างท่ีเปน็ ดินไม่ ดี หรอื อาจนาํ มาถมทําขอบสระนาํ้ หรอื ยกร่องสาํ หรับปลกู ไม้ผลก็จะได้ประโยชน์อีกทางหนงึ่ ตัวอยา่ งพืชท่ีควรปลูกและสัตวท์ ี่ควรเลี้ยง ไมผ้ ลและผักยนื ตน้ : มะมว่ ง มะพร้าว มะขาม ขนนุ ละมุด สม้ กลว้ ย นอ้ ยหนา่ มะละกอ กระท้อน แคบ้าน มะรุม สะเดา ขเ้ี หลก็ กระถิน ฯลฯ ผกั ล้มลุกและดอกไม้ : มันเทศ เผือก ถว่ั ฝกั ยาว มะเขือ มะลิ ดาวเรือง บานไม่รู้โรย กหุ ลาบ รัก และซ่อนกลน่ิ เปน็ ต้น เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 60 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปลาม้า
เห็ด : เห็ดนางฟูา เหด็ ฟาง เห็ดเป๋าฮ้ือ เป็นต้น สมุนไพรและเคร่ืองเทศ : หมาก พลู พริกไท บุก บวั บก มะเกลือ ชมุ เห็ด หญ้าแฝก และพชื ผักบางชนดิ เชน่ กะเพรา โหระพา สะระแหน่ แมงลกั และตะไคร้ เปน็ ตน้ ไม้ใช้สอยและเช้ือเพลงิ : ไผ่ มะพร้าว ตาล กระถินณรงค์ มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจรุ ี กระถนิ สะเดา ข้ีเหลก็ ประดู่ ชงิ ชนั และยางนา เปน็ ต้น พืชไร่ : ข้าวโพด ถวั่ เหลือง ถว่ั ลสิ ง ถ่วั พุ่ม ถ่วั มะแฮะ อ้อย มันสําปะหลงั ละหุง่ นนุ่ เป็นต้น พืชไรห่ ลายชนิดอาจ เก็บเกย่ี วเม่ือผลผลติ ยังสดอยู่ และจาํ หน่ายเปน็ พชื ประเภทผักได้ และมีราคาดกี วา่ เก็บเมื่อแก่ ได้แก่ ข้าวโพด ถวั เหลือง ถ่วั ลสิ ง ถวั่ พ่มุ ถัว่ มะแฮะ ออ้ ย และมันสาํ ปะหลัง พืชบาํ รุงดินและพชื คลุมดิน : ถ่ัวมะแฮะ ถว่ั ฮามาตา้ โสนแอฟริกัน โสนพื้นเมือง ปอเทือง ถ่ัวพรา้ ข้ีเหล็ก กระถนิ รวมท้งั ถั่วเขยี วและถวั่ พุม่ เป็นต้น และเมื่อเกบ็ เกยี่ วแลว้ ไถกลบลงไปเพอื่ บาํ รุงดินได้ หมายเหตุ : พชื หลายชนดิ ใชท้ ําประโยชนไ์ ดม้ ากกวา่ หนึ่งชนดิ และการเลือกปลกู พชื ควรเน้นพืชยืนต้นดว้ ย เพราะ การดแู ลรกั ษาในระยะหลงั จะลดนอ้ ยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดปี ควรเลือกพืชยืนต้นชนดิ ต่างๆ กัน ให้ความ ร่มเย็นและชุ่มช้ืนกบั ทีอ่ ยู่อาศัยและสงิ่ แวดล้อม และควรเลือกตน้ ไมใ้ ห้สอดคล้องกบั สภาพของพืน้ ท่ี เชน่ ไม่ควร ปลูกยคู าลิปตัสบริเวณขอบสระ ควรเป็นไม้ผลแทน เปน็ ตน้ สัตวเ์ ลย้ี งอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ สัตวน์ า้ํ : ปลาไน ปลานิล ปลาตะเพยี นขาว ปลาดุก เพื่อเป็นอาหารเสรมิ ประเภทโปรตีน และยังสามารถนาํ ไป จําหนา่ ยเป็นรายได้เสรมิ ได้อีกดว้ ย ในบางพ้ืนที่สามารถเลี้ยงกบได้ สุกร หรือ ไก่ เล้ยี งบนขอบสระนาํ้ ทั้งน้ี มูลสกุ รและไก่สามารถนาํ มาเป็นอาหารปลา บางแหง่ อาจเลยี้ งเป็ดได้ ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ ๑. ใหป้ ระชาชนพออยู่พอกนิ สมควรแกอ่ ัตภาพในระดับทปี่ ระหยัด ไม่อดอยาก และเล้ยี งตนเองได้ตามหลักปรชั ญา “เศรษฐกจิ พอเพียง” ๒. ในหน้าแลง้ มนี ้ําน้อย กส็ ามารถเอานาํ้ ทเี่ กบ็ ไวใ้ นสระมาปลูกพืชผกั ต่างๆ ทีใ่ ชน้ ํา้ นอ้ ยได้ โดยไม่ต้องเบยี ดเบียน ชลประทาน ๓. ในปีท่ฝี นตกตามฤดูกาลโดยมนี ํ้าดตี ลอดปี ทฤษฎีใหมน่ ส้ี ามารถสรา้ งรายได้ใหแ้ กเ่ กษตรกรไดโ้ ดยไมเ่ ดอื ดรอ้ น ในเรื่องค่า ใช้จ่ายต่างๆ ๔. ในกรณที ีเ่ กดิ อุทกภยั เกษตรกรสามารถทจ่ี ะฟน้ื ตัวและชว่ ยตวั เองได้ในระดับหน่งึ โดยทางราชการไมต่ ้อง ช่วยเหลอื มากนัก ซ่ึงเป็นการประหยดั งบประมาณด้วย ทฤษฎใี หม่ทีส่ มบรู ณ์ ทฤษฎีใหม่ทีด่ าํ เนินการโดยอาศัยแหลง่ นา้ํ ธรรมชาติ นํา้ ฝน จะอยู่ในลักษณะ “หมนิ่ เหม่” เพราะหากปีใดฝนน้อย นาํ้ อาจจะไมเ่ พยี งพอ ฉะนน้ั การท่ีจะทําให้ทฤษฎีใหมส่ มบูรณไ์ ด้นนั้ จําเป็นต้องมสี ระเก็บกกั น้าํ ท่ีมปี ระสิทธิภาพ และเตม็ ความสามารถ โดยการมแี หลง่ นํา้ ขนาดใหญ่ทสี่ ามารถเพม่ิ เติมน้ําในสระเกบ็ กกั นํ้าใหเ้ ต็มอยู่ เสมอ ดังเช่น กรณีของการทดลองท่โี ครงการพัฒนาพน้ื ท่บี ริเวณวดั มงคลชยั พัฒนาอนั เนื่องมาจาก พระราชดําริ จังหวดั สระบรุ ี เอกสารประกอบการเรียนรู้ 61 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลามา้
ระบบทฤษฎีใหม่ท่สี มบรู ณ์ อา่ งใหญ่ เติมอ่างเลก็ อ่างเล็ก เติมสระน้า จากภาพ วงกลมเล็ก คือสระนา้ํ ทเี่ กษตรกรขดุ ขนึ้ ตามทฤษฎใี หม่ เมอ่ื เกิดช่วงขาดแคลนนา้ํ ในฤดแู ล้ง เกษตรกร สามารถสบู นาํ้ มาใชป้ ระโยชน์ได้ และหากน้ําในสระน้ําไม่เพียงพอกข็ อรับนา้ํ จากอา่ งห้วยหนิ ขาว (อา่ งเล็ก) ซง่ึ ได้ทํา ระบบสง่ นํ้าเชอ่ื มตอ่ ทางท่อลงมายังสระนํ้าที่ได้ขดุ ไว้ในแต่ละแปลง ซ่งึ จะช่วยใหส้ ามารถมีนํา้ ใช้ตลอดปี กรณที ่ีเกษตรกรใช้นํา้ กันมาก อา่ งหว้ ยหนิ ขาว (อ่างเล็ก) กอ็ าจมปี ริมาณนาํ้ ไมเ่ พยี งพอ กส็ ามารถใช้วธิ กี ารผนั นํา้ จากเข่ือนปาุ สักชลสทิ ธิ์ (อา่ งใหญ)่ ต่อลงมายังอ่างเก็บนา้ํ ห้วยหนิ ขาว (อ่างเล็ก) ก็จะชว่ ยใหม้ ปี รมิ าณนํ้ามาเติมใน สระของเกษตรกรพอตลอดทัง้ ปโี ดยไมต่ ้องเสี่ยง ระบบการจัดการทรัพยากรนาํ้ ตามแนวพระราชดาํ ริ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั สามารถทาํ ให้การใชน้ าํ้ มปี ระสิทธิภาพอย่างสงู สดุ จากระบบสง่ ทอ่ เปิดผา่ นไปตาม แปลงไร่นาตา่ งๆ ถึง ๓-๕ เท่า เพราะยามหนา้ ฝน นอกจากจะมีนา้ํ ในอา่ งเกบ็ น้าํ แล้ว ยงั มีนา้ํ ในสระของราษฎรเก็บ ไว้พรอ้ มกนั ด้วย ทาํ ใหม้ ีปริมาณนา้ํ เพ่ิมอยา่ งมหาศาล นํา้ ในอ่างที่ต่อมาสู่สระจะทาํ หน้าท่ีเปน็ แหล่งนาํ้ สาํ รอง คอย เติมเท่านั้นเอง ความหมายของส่ิงประดิษฐ์ ความหมายของงานประดิษฐ์ หมายถึง งานที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์สร้างหรือ ประดษิ ฐ์ขน้ึ ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีหลากหลาย หรอื เพ่ือความสวยงาม หรอื ประดบั ตกแต่งหรือเพอ่ื ประโยชนใ์ ช้สอย ความเป็นมาของงานประดษิ ฐ์ สิง่ ประดษิ ฐ์เกดิ ขนึ้ เพราะมนุษย์เป็นผู้สร้างผู้พัฒนา ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงแบบ ผลงานด้วยความคิดสร้างสรรค์ที่มีอยู่ในแต่ละบุคคล มีวัตถุประสงค์ในการสร้างส่ิงประดิษฐ์เพื่อตอบสนอง ความ ต้องการด้านประโยชน์ใช้สอย งานประดิษฐ์มีความสัมพันธ์และเก่ียวข้องกับชีวิตประจําวันของคนไทยต้ังแต่สมัย โบราณ เกย่ี วขอ้ งกบั ขนบธรรมเนียมและประเพณีทางศาสนา ในปัจจุบันโลกของเราพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมาก พร้อมกันน้ันโลกของเราก็เปล่ียนแปลงไปเช่นกัน โลก ร้อนขึ้น เพราะมนุษย์ใช้ทรัพยากรอย่างส้ินเปลืองไม่คํานึงถึงว่าทรัพยากรจะหมดหรือสูญหายไปจากโลกนี้ กลุ่ม ของพวกเราจึงคิดประดิษฐ์ส่ิงของเหลือใช้จากวัสดุเหลือใช้ เช่นกระป๋องเบียร์ ขวดพลาสติก นําส่ิงที่พวกเราหลาย คนๆคิดว่าเป็นขยะมาทําเป็นของท่ีน่าสนใจขึ้นมา โครงงานชิ้นนี้ยังเดินตามรอยพ่อหลวงของเรานั่นคือเศรษฐกิจ พอเพยี งซ่ึงเปน็ เปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงทผ่ี สมผสานหลายส่ิงหลายอยา่ งเข้าดว้ ยกนั เปน็ การบูรนาการเรื่องเศรษฐกิจ พอเพียงเข้ากบั เรื่องของภาวะโลกร้อน การสร้างสรรคผ์ ลงานประดษิ ฐ์จากเศษวสั ดุที่ย่อยสลายยาก เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 62 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปลามา้
จากวสั ดุเหลือใชป้ ระเภทพลาสติก ซึง่ เป็นของเหลอื ใชห้ รอื ขยะทม่ี อี ยูท่ กุ ที่ ซ่ึงนับวันปริมาณจะเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆดังน้ัน การประดษิ ฐจ์ ากเศษวสั ดทุ ี่ยอ่ ยสลายยากจากขยะประเภทพลาสติก จึงเป็นวิธีหน่ึงท่ีจะช่วยลดปริมาณขยะและนํา ของเหลอื ใชน้ ีม้ าใช้หรือดดั แปลงใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ โดยนํามาประดษิ ฐ์เป็นของเลน่ ของประดับตกแต่ง และของใช้ ตา่ งๆ เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสํานึกท่ีดีต่อการรักษาส่ิงแวดล้อม อีกท้ังยังเป็นการนําเศษ ส่ิงของเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ของตกแต่งแทนการท้ิงให้สูญเปล่า ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมใน ชุมชน และช่วยลดการเกิดภาวะโลกร้อน ขอเชิญชวนพวกเรานักประดิษฐ์สร้างสรรค์ทุกท่านช่วยกันนําเศษวัสดุ เหลือใช้ หรือวัสดุที่เป็นขยะต่างๆ นํามาคิดค้นประดิษฐ์เป็นส่ิงของรูปแบบต่างๆเพ่ือช่วยลดปริมาณขยะท่ีย่อย สลายยากให้ลดลง และลดปริมาณการผลิตส่ิงที่เป็นเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนข้ึน และช่วยกันประชาสัมพันธ์ บอกต่อๆกันให้ทราบว่าวัสดุเหลือใช้ เศษวัสดุ และขยะยังมีค่าสามารถนํามาใช้ทําประโยชน์ได้อีกมากมาย ถ้าเรา คิดค้นสรา้ งสรรค์ช้ินงานตา่ งๆ ใหส้ วยงามและคงคุณคา่ ไวไ้ ด้และท่ีสําคัญเพื่อเป็นการชว่ ยลดภาวะโลกรอ้ น ประเภทของงานประดิษฐ์ 1. งานประดษิ ฐ์ท่ีเปน็ เอกลักษณ์ไทย 1.1 งานประดษิ ฐด์ ว้ ยดอกไมส้ ด 1.2 งานประดิษฐ์ด้วยใบตอง 1.3 งานแกะสลกั พืชผกั และผลไม้ 1.4 งานจักสาน 2. งานประดิษฐท์ ่ัวไป 2.1 งานปั้น 2.2 งานประดิษฐด์ อกไม้ ตน้ ไม้ด้วยกระดาษหรอื ผา้ 2.3 งานประดิษฐ์จากเศษวัสดหุ รอื วสั ดเุ หลือใช้ 2.4 งานประดษิ ฐ์จากวสั ดุธรรมชาติ งานประดษิ ฐ์ทัว่ ไป งานประดษิ ฐท์ ่เี กดิ จากแนวความคดิ หรือความคดิ สรา้ งสรรค์ท่ีมุ่งสรา้ งผลงานโดยมีจุดมงุ่ หมายอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง – ประดษิ ฐ์เพอ่ื เปน็ ของเลน่ – ประดิษฐเ์ พ่อื เป็นของใช้ – ประดิษฐ์ของตกแต่งบ้าน ประโยชนข์ องงานประดิษฐ์ 1. งานประดษิ ฐม์ คี วามสมั พันธเ์ กยี่ วขอ้ งกบั ชีวติ ประจาํ วนั ของไทย 2. งานประดิษฐ์มคี วามสมั พนั ธ์เกย่ี วขอ้ งขนบธรรมเนียมและประเพณีทางศาสนา 3. งานประดษิ ฐ์ช่วยให้เกิดความรกั ความสามคั คใี นหมคู่ ณะ 4. งานประดษิ ฐ์ช่วยให้การทาํ งานของสมองและประสาทสัมผัสประสานสมั พนั ธก์ ัน 5. ใช้เป็นเครอ่ื งประดับตกแต่ง ของเลน่ ของขวัญท่รี ะลึก 6. รจู้ ักใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ 7. เป็นการฝกึ ลกั ษณะนสิ ยั ในการทาํ งานให้มคี วามอดทน หลกั การทางานประดิษฐ์ ในการทํางานประดิษฐ์เพื่อให้ได้ผลงานตามจุดหมายที่กําหนดไว้ ควรยึดหลักในการทํางานประดิษฐ์ ดังต่อไปน้ี เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 63 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลาม้า
1. ศึกษารายละเอียดของงานที่จะนํามาประดิษฐ์ให้เข้าใจ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบต่าง ๆ ของงานและเลือกทําส่ิงประดิษฐ์ให้เหมาะสมความรู้ ความสามารถของตนเอง และเป็นส่ิงท่ีสามารถนําไปใช้ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจําวันได้ 2. วางแผนการทํางาน กําหนดข้ันตอนการทํางานให้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย และออกแบบรายละเอยี ดวิธีการประดิษฐ์ไว้ใหค้ รบถว้ น เพอื่ ความสะดวกในการปฏบิ ตั งิ าน 3. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ท่ีจะใช้ในการทํางานประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วนและใช้ให้เหมาะสมกับการที่ ออกแบบไว้ โดยทัว่ ไปการเลอื กวสั ดุมาใชใ้ นงานประดิษฐ์ นิยมเลือกใช้วัสดุท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น หรือวัสดุที่มีอยู่ภายใน บ้านซงึ่ หาง่าย มีราคาถกู 4. ลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนท่ีวางแผนไว้ ขณะที่ทําการประดิษฐ์ เมื่อเกิดปัญหาไม่ควรท้อถอย ควร ปรึกษาครูหรือผูท้ ีม่ ีความสามารถ และควรพยายามต้งั ใจปฏบิ ตั ิงานตอ่ ไปจนกวา่ งานจะสาํ เรจ็ การออกแบบงานประดิษฐ์ การออกแบบ หมายถึงการแสดงความคิด การวางแผน เพ่ือกําหนดรูปแบบผลงานท่ีต้องการก่อนทํางาน ประดิษฐ์ โดยการร่างภาพเขียนด้วยดินสอและไม้บรรทัดเท่าน้ัน การออกแบบมีความสําคัญมากเพราะผู้ออกแบบ ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์การดัดแปลง แก้ผลงาน ให้มีรูปร่างแปลกใหม่ การออกแบบท่ีดีจะช่วยให้การทํางานได้ สะดวกรวดเร็วข้นึ ผลงานสาํ เร็จตรงตามตอ้ งการไมม่ ผี ดิ พลาด หลักการออกแบบ เมอ่ื จะออกแบบควรนาํ องค์ประกอบทส่ี าํ คัญของการออกแบบมาใช้โดยยึดหลกั ดังต่อไปนี้ 1. ความสมดุล เกี่ยวข้องกับความรู้สึกในการมองเห็นท้ังด้านรูปทรง น้ําหนัก สี ความสมดุลเท่ากัน และ ความสมดลุ ที่ไม่เท่ากนั 2. สัดส่วนหมายถึงการได้ส่วนกันของสิ่งที่ออกแบบ เช่น การออกแบบดอกไม้ ส่วนประกอบดอกไม้ ใบ ก้าน ควรได้สัดสว่ นดอกไมค่ วรใหญ่เกนิ กา้ นและใบมากนกั 3. ความกลมกลนื คอื การออกแบบวตั ถุให้มีรปู ทรงท่ีไปด้วยกันได้ สีก็ต้องกลมกลืนกันการใช้แสง และเงา ท่ไี ปด้วยกนั ได้ 4. ความแตกตา่ ง คอื การใช้ส่วนประกอบของการออกแบบทไี่ ม่ซ้าํ กัน ใชส้ ีท่ไี มเ่ หมอื นกัน 5. การเนน้ ใหเ้ กดิ จดุ เด่น คือการออกแบบทีท่ ําให้เกิดจดุ เดน่ สะดดุ ตา ทาํ ใหน้ ่าสนใจ น่าดู อาจเน้นส่ิงหนึ่ง สง่ิ ใดเพียงอย่างเดยี วก็ได้ เชน่ สี เสน้ รปู รา่ ง เอกสารประกอบการเรียนรู้ 64 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลาม้า
ฐานที่ 7 ฐานห้องสมุดประชาชนอาเภอบางปลามา้ ความรู้ คณุ ธรรม - ความเป็นมาของหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง - การทางานร่วมกับผอู้ ่นื - ความรูเ้ กย่ี วกับพระราชประวตั ิ และพระราชกรณยี กิจ - ความอดทน พระบรมราโชวาทของในหลวงรัชกาลที่ 9 - มีจติ สาธารณะ พอประมาณ - รจู้ กั การใช้แหล่งเรยี นรไู้ ด้อยา่ ง เหมาะสม และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ - ใช้เวลาในการจดั กจิ กรรมไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม มีเหตผุ ล มภี ูมคิ มุ้ กันในตวั ที่ดี - ได้รบั ความรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ - สบื คน้ ข้อมลู ขา่ วสารได้อย่าง อยา่ งคมุ้ ค่า สอดคลอ้ งกบั เหมาะสม วตั ถุประสงคข์ องฐานเรียนรู้ - รจู้ ักการการวางแผนในการ - ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ทางาน วตั ถ/ุ เศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม - รจู้ ักใช้วัสดุอปุ กรณอ์ ยา่ ง - รู้จกั การทางานร่วมกนั - รวู้ ธิ ีการใช้ทรพั ยากรของ - ถ่ายทอดความรสู้ ู่ชมุ ชน ประหยดั คุ้มค่า - ทักษะในการรว่ มกนั กับ ห้องสมุดใหเ้ กดิ ประโยชน์ - เห็นคณุ ค่าของวสั ดุ ผู้อืน่ สูงสุด อปุ กรณ์ ใชอ้ ย่าง - รจู้ ักการชว่ ยเหลอื ซึ่งกัน - ใชท้ รัพยากรอย่างรู้ ระมัดระวัง และกัน คณุ คา่ ไม่ทาลายทรพั ยากร ของหอ้ งสมุด เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 65 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลาม้า
ฐานที่ 8 ธนาคารน้าใตด้ นิ ระบบปดิ 1. ความหมายของธนาคารน้าใต้ดิน ธนาคารนํ้าใตด้ ิน คือ หลุมทีม่ ีลักษณะกน้ ครก เพื่อจัดกักเก็บน้าํ ฝนที่ตกลงมาในช่วงฤดูฝนไว้สู่ใต้ดิน ต้ังแต่ ระดับใตด้ ินถงึ ความลึกของหลุมท่ีขุดเพ่ือให้นํ้ากระจายออกในแนวระนาบ (เปิดอากาศให้ผิวดิน) เพราะหากเราไม่ จัดเก็บนํ้าลงสู่ใต้ดิน ปล่อยให้นํ้าฝนไหลท้ิงตามผิวดิน เม่ือน้ําฝนที่ไหลท้ิงเหล่านี้ไปรวมตัวกันเยอะก็จะเป็นสาเหตุ ของปัญหานํ้าท่วมขังได้ และหลุมนี้ยังเป็นการรักษาความชุ่มชื้นให้ชั้น ผิวดิน จากดินที่แห้งแข็งก็จะนุ่มชุ่มช้ืน ทํา ให้ต้นไม้ในบริเวณที่ทําธนาคารน้ําใต้ดิน จะอุดมสมบูรณ์ไม่แห้งแล้ง นอกจากนี้ยังสามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน ครวั เรอื นเพื่อกําจดั น้ําเสยี นาํ้ ท่วมขังได้ 2. พนื้ ที่ที่เหมาะสมกบั การทาธนาคารนา้ ใตด้ ิน 1. การเลือกพ้ืนที่ที่เหมาะสมในการทําระบบธนาคารนํ้าใต้ดิน ตําแหน่งบ่อหรือสระเพ่ือทําหน้าท่ีเติมนํ้า สามารถทําได้เฉพาะสภาพพ้ืนท่ีบริเวณที่มีลักษณะสภาพใต้ดินสามารถกักเก็บนํ้าได้เท่านั้น น่ันคือ การจัดการนํ้า แบบธนาคารนํ้าใต้ดิน จะไม่สามารถทําได้ทุกพื้นท่ี บริเวณท่ีเหมาะสมจะต้องมีชั้นตะกอนหรือหินมีความพรุนสูง หรือมีชั้นรอยแตกในเนื้อหินสงู สามารถกักเก็บนํา้ ได้ เช่น ชัน้ กรวดทราย หรือรอยต่อระหวา่ งชัน้ หินต่างกัน อธิบาย ไวต้ าม รูปท่ี 3 ส่วนท่ีเข้าใจว่าบริเวณที่พบช้ันหินตับม้า (หรือตับควาย แล้วแต่บางพ้ืนที่จะเรียก) เป็นชั้นท่ีกักเก็บ นํ้าได้ดี ตามจริงเป็นช้ันหินโคลน (Mudstone) สีตับ มีความพรุนต่ํา นํ้าอาจกักเก็บตามช่องว่างระหว่างช้ันหิน เท่านัน้ 3. หลกั การทางานของธนาคารน้าใตด้ ิน ใชห้ ลักการขดุ บ่อเพือ่ สง่ นํา้ ไปเก็บไวท้ ่ีชัน้ นํ้าบาดาล ขนาดและความลึกของบ่อข้ึนอยู่กับสภาพ และช้ันดิน ของแตล่ ะพื้นท่ี โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขุดบ่อให้ลึกถึงช้ันหินอุ้มนํ้า จากน้ันใส่ยางรถยนต์เพื่อปูองกันขอบบ่อพังทลาย จากนั้นใส่วัสดุท่ีหาได้ใน พื้นที่ เชน่ ขวดนํา้ (ใส่น้ํา 1 ใน 3 ส่วน), ท่อนไม้ หรือเศษปูนใหเ้ ต็มชอ่ งวา่ งด้านนอกยางรถยนต์ นําท่อ PVC มาวางตรงกลางบ่อเพ่ือเป็นช่องระบายอากาศ นําวัสดุชนิดเดียวกับท่ีใส่ช่องว่างด้านนอกมา เติมใสช่ อ่ งวา่ งดา้ นในใหเ้ ต็ม คลุมด้วยผ้าไนล่อน แล้วทับด้วยก้อนหิน และตามด้วยหินละเอียดอีกที เพ่ือเป็นตัวกรองให้เศษดิน หรือ ขยะไม่ให้เข้าไปอุดตันในบ่อ เมื่อฝนตกลงมานํ้าจะไหลสู่ช้ันใต้ดินโดยตรง ผ่านธนาคารนํ้าใต้ดิน ระบบปิดที่ทํา ข้ึนมา เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 66 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลาม้า
ท่มี าของภาพ ; http://www.obtwangchan.go.th/ 4. คุณสมบตั ขิ องดิน 1. คณุ สมบัติทางกายภาพของดิน คุณสมบัติทางกายภาพของดิน หมายถึง คุณสมบัติของดินท่ีเป็นส่ิงซ่ึงเราสามารถตรวจสอบได้ ด้วยการแลเห็น หรือจับต้องได้ เช่น เน้ือดิน ความโปร่งหรือแน่นทึบของดิน ความสามารถในการอุ้มน้ําของดิน และสีของดิน เป็นต้น คุณสมบัติของดินเหล่าน้ี บางครั้งเราเรียกว่า คุณสมบัติทางฟิสิกส์ จะขอกล่าวเพียงสอง ประการเท่าน้ันคือ เนื้อดิน และโครงสร้างของดิน (ก) เน้ือดิน (Soil Texture) คุณสมบัติท่ีเรียกว่า เนื้อดินนั้น เอกสารประกอบการเรียนรู้ 67 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลามา้
ได้แก่ ความเหนียว ความหยาบ หรอื ละเอยี ดของดิน ท่ีเรามคี วามรสู้ กึ เมื่อเราหยิบเอาดินที่เปียกพอหมาดๆ ข้ึนมา บี้ด้วยน้ิวหัวแม่มือกับน้ิวชี้ ความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนว่า ดินบางก้อนเหนียว บางก้อนหยาบ และสากมือนั้น เนื่องจาก อนุภาคของแร่หรืออนินทรีย์สารท่ีเป็นองค์ประกอบอยู่ในดินน้ัน มีขนาดต่างกัน อยู่ร่วมกัน ท้ังหยาบและละเอียด เป็นปริมาณสัดส่วนแตกต่างกันออกไปในแต่ละเน้ือดิน เนื้อดินมีอยู่ทั้งหมด 12 ชนิด แต่ก็สามารถแบ่งออกเป็น กลมุ่ เนือ้ ดนิ ได้ 4 กลุ่มดังนี้ กลมุ่ เนอ้ื ดนิ กลมุ่ ดนิ เหนียวทม่ี ีอนภุ าคดินเหนียวตงั้ แต่ 40% ขนึ้ ไป 1. ดนิ เหนียว 2. ดินเหนียวปนทราย 3. ดินเหนยี วปนตะกอน กลุ่มดินค่อนข้างเหนียว หรือดินร่วนเหนยี วมอี นุภาคมีอนภุ าคดินเหนยี วระหว่าง 20-40% 4. ดนิ รว่ นปนดินเหนยี ว 5. ดินร่วนเหนยี วปนตะกอน 6. ดนิ รว่ นเหนียวปนทราย กล่มุ ดินร่วน มอี นุภาคดินเหนียวตาํ่ กวา่ 30% 7. ดนิ รว่ น 8. ดนิ รว่ นปนตะกอน 9. ดินตะกอน กลุ่มดนิ ทรายมีอนุภาคดินเหนยี วต่ํากวา่ ๒๐% 10. ดินร่วนปนทราย 11. ดนิ ทรายปนดินรว่ น มอี นภุ าคทรายมากกวา่ 40% ขึ้นไป 12. ดนิ ทราย 5.ทักษะการทางานรว่ มกนั ทกั ษะการทาํ งานร่วมกนั เปน็ ทักษะทางสังคมท่ีสําคัญอย่างหนง่ึ ของมนุษยเ์ พราะมนุษยเ์ ป็นสตั วส์ ังคม การทาํ งานเปน็ กลุม่ จะเนน้ การมีส่วนร่วมโดยบุคคลหรอื สมาชิกกลุม่ ท่ีมีความรู้ ความสามารถรว่ มมือกนั ทํางานมี การระดมสมองเพ่ือให้การทาํ งานมปี ระสทิ ธภิ าพทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ ดงั นั้นการทาํ งานเป็นกลุ่มจงึ มี ลักษณะเป็นกระบวนการท่ีเรียกวา่ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการกลมุ่ หมายถึง กระบวนการทํางานร่วมกันตั้งแต่ ๒ คนขนึ้ ไปโดยมีวัตถปุ ระสงคแ์ ละการ ดาํ เนนิ งานร่วมกัน เอกสารประกอบการเรียนรู้ 68 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลามา้
ลกั ษณะกลุ่มที่ดีมลี กั ษณะดงั น้ี 1. มีโครงสรา้ ง มกี ารจดั ตําแหนง่ หนา้ ท่ีได้เหมาะสมกบั ความรเู้ ช่น ประธาน รองประธาน รองหัวหน้า เหรัญญกิ ประชาสัมพนั ธ์ เลขานุการ 2. มคี วามสมั พันธ์ระหวา่ งสมาชิก 3. มบี รรทัดฐานหรือกฎระเบียบ 4. มีคา่ นิยมและทศั นคติเหมือนกัน 5. มงี านมกี จิ กรรมมวี ัตถุประสงคข์ องกล่มุ 6. ต้องมีเวลาในการอยรู่ ่วมกันระยะหนึ่ง 7. สมาชกิ ทกุ คนต้องมีความคุ้นเคยกนั อย่างดี หลักการทางานของกระบวนการกลมุ่ มีขั้นตอนดงั นี้ 1. ขั้นตระหนกั สมาชกิ ทุกคนเหน็ ความสาํ คัญของกิจกรรมกิจกรรมทส่ี ําคญั ของกระบวนการกลุ่ม ท่จี ะต้องทาํ มี 6 ประการ 1.1 ประชุมเพอ่ื เลือกประธาน 1.2 มอบหมายหน้าที่ 1.3 มอบหมายงาน 1.4 สมาชิกรว่ มกันอภปิ ราย 1.5 ผ้ทู าํ หน้าทีเ่ ลขาต้องบนั ทกึ 1.6 กอ่ นปดิ ประชุมต้องนัดหมาย 2. ขน้ั วางแผนปฏบิ ัติงาน สมาชิกร่วมกันวางแผนว่าจะปฏิบัติงานวธิ ีไหนมีขั้นตอนอย่างไร ใครเปน็ ผู้รับผดิ ชอบจะติดตามตรวจสอบอย่างไรปรับปรงุ แก้ไข 3. ข้นั ลงมอื ปฏิบตั งิ าน นักเรียนปฏิบตั ิงานตามแผนท่ีไดว้ างไวโ้ ดยมตี ารางการปฏิบตั ิงาน 4. ข้ันตรวจสอบประเมินผลงาน เปน็ ไปตามแผนหรือไม่มีอปุ สรรคอะไร มสี ง่ิ ใดต้องปรับปรุงแก้ไขอาจ มอบหมายให้ผู้ปฏิบตั ิงานเปน็ ผูต้ รวจหรือสมาชกิ คนอื่น 5. ขั้นปรับปรุง แก้ไข และพัฒนางานหลังจากมีการประเมินผลการปฏบิ ัติงานถ้างานไมเ่ ป็นไปตามกาํ หนด เปาู หมายต้องปรับปรงุ แกไ้ ขหรือให้พฒั นาย่ิงขึน้ ระยะเวลาของการทางานด้วยกระบวนการกลุม่ 1. ระยะสร้างสัมพันธภาพ ระหว่างผ้นู ํากบั สมาชิกกลุม่ ผนู้ าํ กลุ่มต้องสรา้ งบรรยากาศ สร้างความไวว้ างใจ ไมใ่ ช้ความคดิ ตัวเองเปน็ ตัวตัดสนิ 2. ระยะดําเนนิ การ เปน็ ระยะทสี่ มาชิกไวว้ างใจ 3. ระยะส้ินสดุ การทํางานกลมุ่ ผู้นาํ กลมุ่ จะสรปุ ผลงานและประสบการณ์ทั้งหมดในการทาํ งานและให้ สมาชิกประเมินความก้าวหน้า เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 69 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปลามา้
ความรู้ การถอดบทเรยี น ฐานท่ี 8 -มีความรเู้ รอ่ื งพน้ื ที่ ธนาคารนา้ ใตด้ นิ ระบบปดิ -มีความรเู้ ก่ียวกบั คณุ สมบัติของดนิ คุณธรรม -มคี วามอดทน -มคี วามสามัคคี -มคี วามเสยี สละ -เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ -ความประหยัด พอประมาณ -ทาพอดกี บั พนื้ ที่ -ทาตามความจาเป็น -ทาแลว้ ใช้ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ มเี หตผุ ล มภี มู คิ ุ้มกันในตัวท่ีดี -เพ่ือกาจัดนา้ เสยี กลิน่ เหม็น -มรี ะบบกาจัดน้าเสยี จากครวั เรอื น นา้ ท่วมขงั ในครวั เรือน -เพอ่ื ระบายน้าไมใ่ หท้ ว่ มขงั -รกั ษาความชุ่มชื้นในผวิ ดนิ -รักษาสงิ่ แวดล้อมในชุมชน วัตถุ/เศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม -การใช้วัสดเุ หลือใชใ้ ห้ -ช่วยแก้ปญั หานา้ -แกป้ ัญหาน้าท่วมขัง -สร้างวฒั นธรรมในการ เกิดประโยชน์ เนา่ เสีย นา้ ท่วมขงั น้าเนา่ เสีย เรยี นรู้ จากปฏบิ ตั ิจรงิ -ใช้วสั ดทุ ่หี าง่ายใน ในครัวเรือน ชมุ ชน -สามารถกาจดั มลพิษ -มกี ารรว่ มกลมุ่ เพ่ือ ท้องถน่ิ -ประหยดั พื้นที่ ช่วยเหลือ แบ่งปัน -ดินมคี วามชุ่มชื้น ความรใู้ หมๆ่ อยูเ่ สมอ สามารถปลกู พืชผกั ใกลธ้ นาคารน้าโดยไม่ ต้องรดน้าบ่อยๆ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 70 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
ฐานที่ 9 ปรบั ปรุงบารุงดิน ประเภทของดนิ แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญเร่ืองดินเป็นอย่างดี ดินลักษณะไหนปลูกอ้อยได้อย่างไร เม่ือดินมีปัญหาควรบํารุงรักษาหรือปรับปรุงดินอย่างไรให้อุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการปลูกอ้อย เพราะดินซึ่ง ปจั จยั สําคัญท่ีช่วยให้อ้อยเจริญเติบโตได้ดี ซึ่งดินประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แร่ธาตุ อินทรียวัตถุหรือซากพืชซาก สัตว์ทเ่ี น่าเป่ือย นํ้า และอากาศ ท้ังนี้ดินที่เหมาะสมสําหรับการเพาะปลูกต้องดูท่ีหน้าดินด้วย อาทิ ดินชั้นบน หรือ ช้ันไถพรวน มี ความสําคัญต่อการเพาะปลูกพืชมาก เนื่องจากรากของพืชส่วนมากจะชอนไชหาอาหาร ณ ดินช้ันบนเป็นชั้นที่มี อนิ ทรียวัตถุสูงกว่าชั้นอ่ืน ปกติดินช้ันบนจะมีสีเข้ม หรือคลํ้ากว่าชั้นอื่น ๆ ใช้สําหรับการทําการเพาะปลูกพืชท่ัว ๆ ไป จะต้องมีความหนาต้ังแต่ 0 - 15 ซม.สําหรับดินช้ันล่าง รากพืชของต้นไม้ยืนต้น จะมีรากชอนไชลงไปถึงชั้นนี้ ได้ และมีอินทรียวัตถุน้อยกว่าช้ันบน ดังนั้นดินซ่ึงมีความเหมาะสมต่อการเพาะปลูกควรต้องมีหน้าดิน รวมดินช้ัน บนและดนิ ชัน้ ลา่ ง มคี วามลกึ ไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร 1 ดนิ ทราย เป็นดินร่วน เกาะตวั กนั ไม่แน่น จึงทําให้ระบายทงั้ นํา้ และอากาศไดอ้ ย่างดเี ย่ียม แต่อมุ้ นํ้าได้ น้อย พงั ทลายได้ง่าย มีความอดุ มสมบูรณต์ ํา่ เนื่องจากความสามารถในการจบั ธาตอุ าหารมีน้อย ทาํ ให้พชื ทีข่ ้นึ อยู่ ในบริเวณดินทรายขาดนาํ้ และธาตอุ าหารได้งา่ ย 2 ดนิ ร่วน เป็นดินคอ่ นข้างละเอียด จับแล้วนุม่ มีความยืดหยุน่ พอสมควร ระบายนาํ้ ไดด้ ีปานกลาง มแี ร่ธาตุ อาหารของพชื มากกว่าดินทราย เหมาะสําหรับใช้เพาะปลูกเป็นอยา่ งมาก แต่ดนิ รว่ นแบบของแท้มักไม่คอ่ ยพบใน ธรรมชาติ ท่ีมา : https://www.fsepmichigan.org/ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 71 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลามา้
ความหมายของการปรับปรงุ บาํ รงุ ดนิ ดนิ เปน็ ทรัพยากรท่ีสําคัญตอ่ การเกษตร เน่อื งจากดนิ เป็นปจั จัยข้นั พน้ื ฐานในการดาํ รงชีวิตของพืช โดยทั่วไปดนิ ท่ีมีความเหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช คือ ดินที่อุดมสมบูรณ์ มีแรธ่ าตุอาหารท่ีจาํ เป็นสาํ หรบั การเจริญเติบโตของพชื ขณะเดยี วกนั ก็มีสมบตั ิทางกายภาพที่เหมาะสมสําหรับเป็นท่ยี ึดเกาะของรากพืช ชว่ ยยดึ ลาํ ต้นให้แนน่ ไม่ให้ลม้ เอียง และยงั ทาํ หนา้ ที่เก็บกกั น้าํ เพ่อื การเจรญิ เติบโตของพืช ให้อากาศแก่รากพชื เพื่อการ หายใจ ดนิ ในธรรมชาตมิ กี ารเรยี งตวั เป็นชั้นต่อเน่อื งกนั อย่างกลมกลืน โดยชัน้ ดนิ บนเป็นชน้ั ที่เอ้อื อาํ นวยต่อการ เพาะปลูกอยา่ งย่ิง องค์ประกอบและสัดสว่ นของดนิ ในอดุ มคติต่อการเจริญเตบิ โตของพืช คอื อนนิ ทรียวตั ถุ อนิ ทรยี วัตถุ นํ้าหรือสารละลาย และอากาศ ซึ่งมีสดั ส่วนเท่ากับ 45 5 25 และ 25 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยปรมิ าณ หรือ ปรมิ าตร ดินในแต่ละช้ันมีสัดส่วนขององค์ประกอบภายในดินไม่เท่ากัน เช่น อินทรียวัตถุจะพบเป็นสัดส่วนท่ีมากใน ดินบน แต่ที่พบได้น้อยในดินล่าง และน้ําอาจพบเป็นสัดส่วนที่มากในดินล่างมากกว่าดินบน อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบของดนิ ชน้ั บนซ่งึ เหมาะสมตอ่ การเพาะปลูกพืช ประกอบด้วย 1. อนินทรียวัตถุ เป็นองค์ประกอบส่วนที่เป็นแร่ในดิน เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินและแร่ อนินทรีย วัตถุในดินเป็นองค์ประกอบหลักท่ีแสดงถึงลักษณะทางกายภาพของดิน เช่น เนื้อดิน (soil texture) นอกจากนี้ อนินทรยี วตั ถุยังเป็นแหล่งธาตุอาหารพืช แหล่งอาศัยและแหล่งดําเนินกิจกรรมของจุลินทรีย์ในดิน โดยอนุภาคดิน เหนียว (clay particle) เป็นส่วนสําคัญที่สุดในการเกิดกระบวนการทางเคมีในดิน ซ่ึงจะแตกต่างกันไปตามชนิด และปรมิ าณของอนุภาคดินเหนียวในดิน 2. อินทรยี วตั ถุ เกิดจากการเนา่ เปือ่ ยผพุ งั หรอื การสลายตัวของเศษซากพืชและสัตว์ อินทรียวัตถุเป็นแหล่ง ธาตุอาหารพชื และแหล่งอาหารของจลุ ินทรยี ใ์ นดนิ มีความสําคัญต่อสมบัติด้านต่างๆ ของดิน ทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ท่ีสําคัญได้แก่ การทําให้อนุภาคดินจับตัวกันเป็นเม็ดดิน เม็ดดินจับตัวกันเป็นก้อนดิน ทําให้เกิดเป็น โครงสร้างที่ดีและร่วนซุย ถ่ายเทอากาศได้สะดวกและระบายน้ําได้ดี ทําให้ดินมีความสามารถในการอุ้มนํ้า ดูดซับ ธาตุอาหารพืชได้สูง ช่วยเพิ่มความต้านทานการเปล่ียนแปลงความเป็นกรด-ด่างของดิน ช่วยลดความเป็นพิษของ เหล็ก อะลูมินัม และแมงกานสี ให้น้อยลง 3. นํ้า หรือ สารละลายพบอยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน (pore space) น้ําจึงเป็นตัวกลาง สาํ หรบั ทาํ ปฏิกริ ิยาทางเคมีในดิน ช่วยละลายธาตุอาหารต่างๆ ในดิน รวมท้ังช่วยในการดูดซึมและเคล่ือนย้ายธาตุ อาหารพืช ซ่ึงปริมาณนํ้าในดินเกี่ยวข้องกับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เนื้อดิน ขนาดของช่องว่างในดิน และ โครงสร้างของดิน เม่ือดินได้รับน้ําจากฝนหรือนํ้าชลประทาน ช่วงแรกๆน้ําในดินจะอยู่เต็มช่องว่างภายในดิน เมื่อ เวลาผ่านไปน้ําในช่องว่างขนาดใหญ่จะระบายออกจากดิน เหลือเฉพาะนํ้าในช่องว่างขนาดเล็กซ่ึงเป็นนํ้าท่ีพืช สามารถนําไปใช้ประโยชน์ไดเ้ ต็มท่ี แตห่ ากดินขาดนาํ้ เปน็ เวลานานน้าํ ในช่องวา่ งขนาดเลก็ ถูกใช้หมด จะคงเหลอื เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 72 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
เฉพาะนํา้ ทเ่ี คลอื บเมด็ ดินเปน็ แผน่ บางๆ และหากรากพชื มีแรงดดู ซบั นา้ํ สว่ นน้ีน้อยกว่าดิน พืชจะไม่สามารถดูดน้าํ ได้ทําให้พชื แสดงอาการเห่ยี ว 4. อากาศ พบอยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน ซึ่งโดยทั่วไปประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ โดยก๊าซไนโตรเจนในดินจะมีความเข้มข้นใกล้เคียงกับท่ีมีอยู่ในอากาศ ส่วน ก๊าซออกซิเจนจะมีน้อยกว่าในบรรยากาศ ขณะท่ีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะมีมากกว่าในบรรยากาศ ซ่ึงเ ป็นผล เน่ืองมาจากกระบวนการหายใจของรากพืชและจุลินทรีย์ในดิน สําหรับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในดินเมื่อรวมกับ น้ําจะได้กรดคาร์บอนิก (H2CO3) ซ่ึงมีความสําคัญต่อกระบวนการทางเคมีในดิน และเป็นแหล่งคาร์บอนให้แก่ จุลินทรีย์บางชนิดในดิน ส่วนก๊าซไนโตรเจนจะเป็นแหล่งไนโตรเจนให้แก่จุลินทรีย์บางชนิด อากาศในดินมักจะอยู่ ในช่องวา่ งขนาดใหญร่ ะหวา่ งเม็ดดนิ ในดินที่มีน้ําขัง ดินจะอยู่ในสภาพไม่มีอากาศ ซึ่งพืชปกติโดยท่ัวไปไม่สามารถ เจริญเติบโตได้เนื่องจากรากพืชขาดอากาศ รวมถึงจุลินทรีย์ชนิดท่ีต้องการก๊าซออกซิเจนก็ไม่สามารถเจริญเติบโต ได้ด้วยเช่นกัน วธิ ีการปรบั ปรงุ บาํ รุงดิน เปน็ การชว่ ยใหด้ นิ มีความอดุ มสมบรู ณ์ และชว่ ยเพม่ิ ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชดว้ ยวธิ ีการต่างๆ ดังนี้ 1. การปรบั ปรงุ บํารงุ ดินดว้ ยปุ๋ยแรธ่ าตุ แบง่ ออก เปน็ 2 กลมุ่ - กลมุ่ ที่ 1 ปุย๋ แร่ธาตุท่ีได้จากหนิ และแรธ่ รรมชาติ คอื หินฟอสเฟต และแร่ซิลไวท์ เชน่ ปุ๋ยโพแทสเซยี ม ฯลฯ -กลุ่มท่ี 2 ปุ๋ยแร่ธาตุท่ไี ด้จากการผลิตโดยวิธีการทางเคมี เชน่ ป๋ยุ แอมโมเนยี มซัลเฟต ปุ๋ยทริปเปิ้ลซูเปอร์ ฟอสเฟต ฯลฯ ปยุ๋ แรธ่ าตทุ ั้ง 2 กลุม่ นี้ จะชว่ ยเพ่มิ ปรมิ าณธาตุอาหารใหด้ ินตามระยะเวลาทพี่ ชื ต้องการ เพ่ือนําไปสร้างการ เจริญเตบิ โตและผลผลิตไดท้ นั ความตอ้ งการของพืช 2. การปรับปรงุ บํารงุ ดนิ ดว้ ยปุ๋ยอินทรยี ์ ได้แก่ ป๋ยุ หมัก ปุ๋ยคอก และป๋ยุ พืชสด 2.1 ปุ๋ยหมกั ใชเ้ พ่ือเพ่ิมหรือยกระดับปริมาณอนิ ทรียวัตถุในดนิ ชว่ ยปรบั ปรงุ โครงสรา้ งดินใหด้ ีข้นึ ทําให้ ดินมีความเหมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตของพืชมากยงิ่ ขึ้น เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 73 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
ฐานที่ 10 การปลูกผกั สวนครวั ความหมาย ความสาคญั และประโยชน์ของพชื ผักสวนครวั ความหมายพืชผักสวนครัว หมายถึง สวนผักขนาดเล็กที่ปลูกในบริเวณบ้านหรือโรงเรียน ในพ้ืนที่เล็กน้อย เพ่ือใช้รับประทานในครัวเรือน การทําสวนครัวนอกจากจะได้ผักที่ปลอดสารพิษแล้ว ยังช่วย ประหยัดรายจ่าย เหมาะสาํ หรบั งานอดเิ รกใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ความสาคัญของพืชผักสวนครัว 1. ความสาํ คญั ในด้านคณุ คา่ ทางอาหาร เป็นแหล่งอาหารท่ีสําคัญของมนุษย์ ให้สิ่งต่างๆ ที่จําเป็นต่อร่างกายซ่ึงอาหารชนิดอื่นๆมีไม่เพียงพอหรือไม่มี ผักสวนครัวมีคุณสมบัติช่วยให้ระบบย่อยอาหารของ ร่างกายลดสภาพความเป็นกรดโดย สาเหตุจากย่อยอาหารประเภทเนื้อสัตว์ เนย และอื่นๆ เย่ือใยของพืชผัก สวนครัว ช่วยระบบขับถ่ายเป็นไปอย่างปกติ ลดการเป็นโรคลําไส้ และมะเร็งในลําไส้ ลดปริมาณคลอเรสตอรอล ลดความอ้วน ผกั สวนครัวอดุ มไปด้วยธาตุแคลเซียมและธาตุเหล็ก ผักสีเขียวและเหลืองให้ วิตามินเอ ซี สําหรับถั่ว ตา่ งๆจะใหโ้ ปรตนี ประเภทหัว เช่น มันฝร่ัง มันเทศ ให้คาร์โบไฮเดรต 2. ความสําคัญในด้านคุณค่าทางเศรษฐกิจ เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านการบริโภคการ อุตสาหกรรมเกษตรและการผลิตเมล็ดพันธุ์ ซึ่งมีทั้งใช้บริโภคภายใน และส่งไปจําหน่าย จึงทําให้พืชผักสวนครัว มีแนวโนม้ ท่จี ะเปน็ เศรษฐกิจในอนาคต ประโยชนข์ องพืชผกั สวนครวั 1. ประโยชน์โดยตรง มีโปรตนี แปูง ไขมนั แร่ธาตุ 2. ประโยชน์ทางอ้อม เป็นอาหารชรู ส เพราะมีรูปร่าง สี กลิ่นและรสต่างๆ ทาํ ให้เลอื กรับประทานตามใจ ชอบ ทาํ ให้เกดิ ความอยากอาหารและรับประทานได้มาก เป็นยาเจรญิ อาหาร ยิง่ กวา่ น้นั กากและโครงสร้างของผกั มีส่วนหยาบออ่ น เหมาะแกก่ ารชําระล้างลาํ ไส้ ชว่ ยปูองกนั ท้องผกู เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 74 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
การจะหารับประทานผักทาได้ 3 วธิ ี คอื 1. เก็บผกั ตามธรรมชาติ 2. ซอ้ื จากตลาด 3. ปลูกขึ้นเอง สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการปลูกพชื ผักสวนครัว สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมประกอบด้วยส่ิงต่อไปน้ี 1. ทตี่ งั้ แหล่งชมุ ชน ผักหลายชนดิ โดยเฉพาะผักกนิ ใบ และผกั ตา่ งๆแปลงควรต้ังอยู่ในเขตชาน เมือง เพือ่ ลดการสูญเสยี และรักษาความสดระหวา่ งการขนส่งอกี ท้งั ลดต้นทนุ ในการขนสง่ อกี ด้วย 2. ดิน ถงึ แม้เทคโนโลยีได้อํานวยการผลติ พืชผักสวนครัว ไมจ่ ําเปน็ ต้องพง่ึ พาอาศัยดินก็ตามแต่ ยงั เป็นปัจจัยสาํ คญั และคมุ้ คา่ ทาง เศรษฐกจิ ในการใชผ้ ลิตพืชผกั สวนครัวอยู่ในปจั จบุ ัน ดินทีเ่ หมาะตอ่ การปลกู พืชผกั สวนครวั ควรมชี น้ั หน้าดนิ ลกึ อดุ มสมบรู ณ์ระบายนํา้ ได้ดี เนือ้ ดินร่วนซุย 3. แหล่งน้ํา ต้องมอี ยา่ งเพยี งพอแก่ความตอ้ งการโดยเฉพาะในระยะท่ีแห้งแล้งท่ีสุดของปี พชื ผัก สวนครัวเปน็ ทตี่ อ้ งการนาํ้ มากและสม่ําเสมอ การใช้ฝนเพยี งอย่างเดียวไมเ่ พยี งพอควรมีการคํานวณการใชน้ ้าํ อยา่ ง คร่าวๆตลอด ฤดูกาล 4. ความลาดเทของพ้ืนท่ี ทางเขตอบอนุ่ ทางซกี โลกเหนอื ความลาดเทของพื้นที่มผี ลต่อการผลติ ผักให้สําเร็จอย่างย่ิงโดยทั่วไปความลาดเท ของภูเขาทางด้านใต้ จะได้รับแสงแดดมากกว่า จึงอบอุ่นมากกว่าด้าน เหนือ การท่ีพื้นท่ีมีความลาดเทสูงเป็นอุปสรรคต่อการเตรียมดินและการปลูกพืชผักสวน ครัว เกิดการชะล้าง ผวิ หน้าดินไปได้ง่าย จึงจําเปน็ ต้องหามาตรการทเ่ี หมาะสมเพอ่ื อนุรกั ษ์ดินไว้ โดยทวั่ ไปพนื้ ทีร่ าบมคี วามเหมาะสม ในการปลูกพชื ผกั สวนครัวมากกว่า แต่ถา้ พน้ื ที่มีความลาดเทเลก็ น้อยจะเหมาะสมทีส่ ุดเพราะจะชว่ ยใหด้ นิ ระบาย นํ้า ได้ดี และสะดวกต่อการให้น้ําตามร่อง 5. ความสูงของพื้นท่จี ากระดับนาํ้ ทะเล มผี ลกระทบทางอ้อมตอ่ ผลผลติ ของพืชผักสวนครัว เนอ่ื งจากความสงู ของพน้ื ทีม่ ีความสมั พนั ธ์โดยตรงกับปัจจยั ทสี่ ําคญั ต่อการ เจริญเติบโตของพืช คืออุณหภมู ิ ความช้ืน เอกสารประกอบการเรียนรู้ 75 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลามา้
6. ภมู ิอากาศของทอ้ งถ่นิ 6.1 อณุ หภมู ิ ในบ้านเราอุณหภูมิเปลยี่ นแปลงไมเ่ ป็นผลต่อการเจรญิ เติบโตของพืชถา้ มี นํา้ เพียงพอ แต่ถา้ ผกั หลายชนิดทนี่ าํ มาจากประเทศจะเกดิ ปัญหา ความเยน็ ไมพ่ อต่อการกระตุ้นในการสรา้ งดอก 6.2 ปริมาณน้าํ ฝน ในเขตเอเชีย ฝนเป็นผลมาจากมรสุม ปรมิ าณนํา้ ฝนมักจะมีมาก ในช่วงฤดฝู น มักขาดแคลนในฤดูแลง้ แตล่ ะภมู ภิ าคมีการกระจายตัวของปริมาณน้าํ ฝน ในแต่ละเดือนแตล่ ะปี แตกตา่ งกนั ออกไป การทราบสถิติข้อมูลนาํ้ ฝนจากกรมอุตนุ ิยมวทิ ยา เพื่อใชป้ ระกอบการพจิ ารณาในการใชน้ ํ้า อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ ระหวา่ งฤดูปลกู พชื ผกั สวนครัวทมี่ ปี ริมาณนํา้ ฝนเพยี งพอ อาจไมจ่ าํ เป็นใหน้ ้ําเพ่มิ เติม 6.3 ชว่ งวนั บ้านเราตั้งอยใู่ นเขตรอ้ น มีความแตกตา่ งของช่วงวันนอ้ ยมากคือไมน่ ้อยกว่า 30 นาท/ี วนั พนั ธุ์พืชผักสวนครัวทส่ี ามารถเจริญเติบโตได้ดีในบา้ นเราเสมอมา ถือวา่ เป็นพืชผกั สวนครัวประเภท วนั สน้ั หรือชว่ งวนั กลาง สามารถปรับตัวเจริญได้ดเี มอ่ื มคี วามยาวของวนั ประมาณ 12_121/2ชว่ั โมงต่อวนั พันธ์ุ ผกั ต่างประเทศหลายชนิด เช่น หอมหวั ใหญบ่ างพันธ์ุ ซ่ึงเป็นพืชชว่ งวนั ยาว ต้องการแสงอยา่ งน้อย 14-16 ช่ัวโมง/วัน ไม่สามารถปลกู ให้สรา้ งหวั ได้ 6.4 ลมในทเ่ี ปิดโลง่ ลมแรงสามารถทําอันตรายต่อพชื ผกั สวนครัวไดโ้ ดยตรง ลมแรงเกดิ จากพายุโซนร้อนสามารถสร้างความเสยี หายได้อยา่ งมาก ถ้าไม่มีการสร้างฉากกาํ บัง โดยเฉพาะพชื ตระกลู ถว่ั เปน็ ต้น อ่อนแอต่อสภาพลมแรงโดยเฉพาะระยะออกดอกและผล การเตรียมดนิ ปลูก แปลงเพาะ แปลงปลูก การเตรยี มดนิ มี 2 อย่าง คือการเตรยี มดินเพอื่ เพาะกล้า กับการเตรยี มดนิ เพื่อปลกู พืชผักสวนครวั การเตรยี มดิน หมายถงึ การทําให้ดินเหมาะสมก่อนการปลูกพืช การเตรียมดินเพ่ือเพาะกลา้ กบั การเตรียมดนิ เพอื่ ปลกู น้นั มดี งั น้ี 1. กําจัดวัชพืช ในพ้นื ทีจ่ ะทําการเตรยี มดินควรใชจ้ อบถากหรอื ขุดเพื่อใหว้ ัชพชื ตาย 2. กําหนดพน้ื ท่ปี ลูก 2.1 แปลงเพาะ ตอ้ งกาํ หนดบริเวณท่ีจะเพาะลงไปแน่นอน ซง่ึ ขนาดของแปลงเพาะจะ กวา้ งยาวข้นึ อยู่กับความต้องการของผู้ท่ีจะเพาะ 2.2 แปลงปลกู ต้องใชไ้ มป้ ลักทั้ง4 มมุ โดยวดั ความกว้างยาวตามความต้องการซ่งึ วิธี ท่วั ไปแปลงปลูกจะมีความกว้าง 1 เมตร ยาว 4 เมตร 3. ขุดบริเวณท่ีกาํ หนดไว้ ถ้าเปน็ แปลงผักลกึ ประมาณ 15 ซม. พลิกดินดา้ นล่างขึน้ มาด้านบน ตากหนา้ ดินไว้ให้แหง้ ประมาณ 2-3 วนั จากนนั้ ทาํ การย่อยดนิ และเก็บเศษหญ้าออกทงิ้ เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 76 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปลามา้
4. ตกแตง่ ร่องให้เปน็ รูปทรงตามทกี่ ําหนด พรวนดนิ อีกครัง้ ถ้าดนิ เปน็ กรดใสป่ ูนขาวโรยบางๆ ผสมคลุกเคล้าพรอ้ มปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ท้งิ ไวอ้ ยา่ งน้อย 1 สปั ดาห์ ถา้ พืชทป่ี ลูกจะใชป้ ลูกเปน็ หลมุ เช่น พริก มะเขือ ควรใส่ป๋ยุ คอก ปุย๋ หมกั รองก้นหลุมในวันปลกู การเตรยี มแปลงเพาะปลูกพืชผกั สวนครวั ปฏิบัตดิ ังนี้ 1. วัดขนาดของพนื้ ทท่ี ีจ่ ะทําแปลงเพาะ โดยวัดความกว้างความยาวตามความตอ้ งการ 2. ใช้จอบถากหญา้ หรือวัชพชื ออกจากบริเวณทจี่ ะทําแปลงเพาะ 3. ทาํ การเก็บเศษหรอื วัชพชื ออกโดยการใชค้ ราด คราดออกแล้วเก็บท้งิ 4. เมือ่ บรเิ วณพนื้ ทส่ี ะอาดเรียบรอ้ ยแล้ว ใช้จอบขุดดินลึกประมาณ 15 ซม. เพื่อพลิกหนา้ ดนิ ลง ไปขา้ งล่างและดินลา่ งขึ้นมาด้านบน 5. ตากดินที่ขุดไวป้ ระมาณ 2-3 วนั แล้วทําการย่อยดนิ ให้ละเอยี ด 6. เกบ็ เศษวัชพชื ออกใหห้ มด แล้วนําปยุ๋ คอก ปุย๋ หมัก ใสล่ งไป ผสมคลุกเคลา้ ดนิ ให้เข้ากับปุย๋ ให้ ดที ี่สดุ 7. ทาํ การตกแต่งแปลงใหเ้ ป็นรปู สเี่ หลี่ยมผนื ผ้า ความตอ้ งการ พร้อมที่จะทาํ การเพาะเมล็ดต่อไป วิธกี ารปลกู พืชผักสวนครวั วิธกี ารปลูกพชื ผกั สวนครัวพันธ์ุพชื สวนครวั ทีป่ ลกู กนั มากในปจั จบุ นั มีววิ ฒั นาการเปน็ ไปอยา่ ง รวดเร็วมนษุ ย์เรารู้จักคดั เลือกพันธ์ุไดต้ า่ งกันคือ 1. การหวา่ น พืชผกั กินใบพวกผกั บุ้ง ซึ่งเปน็ พืชอายสุ น้ั การหวา่ นท่จี ะให้ผลดีควรจะนาํ เมล็ดไป แช่นา้ํ ท้ิงไว้ 1 คืน ให้เมลด็ ขยายตัวเกิดการงอกขึน้ ก่อน แล้วจงึ นาํ ไปหว่านบนพ้ืนที่ๆเตรียมไว้ การปลูกโดยการ หวา่ นนี้ ควบคมุ การงอกของเมลด็ ได้ยาก และจะไดร้ ะยะที่ปลูกไม่แน่นอนจะมขี ้อดีในเรื่องของต้นที่ไดจ้ ากการ หวา่ นปลกู แต่งใหม่ ในปัจจบุ ันน้ีบรษิ ัทบางแห่งซง่ึ เป็นผ้ผู ลิตเมลด็ พันธุ์ ได้ผลิตแผ่นเทปยาวๆทมี่ เี มล็ดจดั วางอยู่ ตามลกั ษณะระยะปลูกของผกั แตล่ ะชนิด เม่ือนําไปปลูกลงดินแผ่นเทปก็จะเปื่อยยุ่ยผสมกับดนิ ไปเมลด็ ก็จะงอกขนึ้ ตามระยะที่จัดไว้ เปน็ เรอื่ งที่ทันสมัยแตไ่ มป่ ระหยดั การหวา่ นเมล็ดลงแปลงกลางแจ้งโดยตรงจะใช้ไม่ได้กับเมล็ด พนั ธ์ุทมี่ ขี นาดเล็กมากๆ ซง่ึ เมล็ดพนั ธุ์ทม่ี ขี นาดเลก็ มากนัน้ ส่วนมากจะมีราคาแพง ต้องการการเตรยี มดินทลี่ ะเอยี ด มกี ารปูองกันแสงแดด ลมแรงและฝนได้ดี 2. การหว่านเมลด็ แล้วถอนแยก เป็นวธิ ีการท่นี ยิ มมาก ในแหลง่ ปลูกพชื ผกั สวนครัวในภาคกลาง ผกั ที่นยิ มปลูกโดยวิธนี ีไ้ ด้แก่ คะนา้ ผกั กาดขาว ผักกาดเขยี วปลี ผักกาดหอม ผักกาดหัว วิธกี ารนกี้ ารเตรยี มดนิ ก็ เหมอื นกับการหวา่ นกลางแจง้ ปกติ แตเ่ ม่ือต้นกลา้ งอกแล้วประมาณ 2 สัปดาห์ หลังจากหวา่ นกท็ ําการถอนแยก ต้นกล้า เพ่ือจัดระยะปลูกใหเ้ หมาะสมใหม่ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 77 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลาม้า
3. การหยอดเป็นหลมุ วิธีการหยอดเป็นหลมุ นี้ นิยมใชก้ ับพืชผกั ทม่ี เี มลด็ โต ปลูกแล้วจะได้ ตน้ กลา้ ทีม่ ีการเจรญิ เติบโตเรว็ เช่น ข้าวโพด ถ่ัวชนดิ ตา่ งๆแตงไทย ฯลฯ วธิ นี ท้ี าไดโ้ ดยการเตรยี มหลมุ ให้ไดร้ ะยะ ปลูกที่เหมาะสม กบั เมล็ดพนั ธ์ุแตล่ ะชนดิ แล้วหยอดหลุมๆละ1-3 เมลด็ หลงั จากงอกแล้วกถ็ อนแยกให้เหลือตน้ กล้าที่โตแข็งแรงตามจานวนที่ตอ้ งการ 4. การปลูกดว้ ยวธิ ียา้ ยกลา้ กล้าผักคอื พชื ต้นอ่อนทใ่ี บจริง 2-3 ใบ มคี วามสูง 5-10 ซม. หรอื อายุ 21-30 วนั ท้ังน้แี ลว้ แตช่ นิดของผัก การปลกู พชื ด้วยการเพาะกลา้ นี้มขี ้อดีคือ สามารถกาํ หนดระยะเวลาใน การปลูกไดต้ ามต้องการ พชื ที่ปลกู ดว้ ยกลา้ มีเวลาอยู่ในแปลงน้อย ดแู ลได้ทั่วถึง 5. การปลูกด้วยการใชส้ ่วนตา่ งๆ เชน่ ตน้ ราก และหัว ได้แก่ หอมแบ่ง กระเทยี ม ขิงข่า ตะไคร้ การดูแลพืชผักสวนครวั 1. การใหน้ าํ้ เป็นการรกั ษาความชุม่ ชน้ื การรักษาความชุ่มช้นื หมายถึง การให้นาํ้ แก่พืชซึ่งตอ้ งคํานงึ ถึง การทดนา้ํ และระบายนํ้า การทดนาํ้ เปน็ การเอานํ้าเขตในแปลงเพาะปลูกแต่เมือ่ นา้ํ ท่วมสวนและขังนานๆพชื หายใจไม่ได้ก็อาจจะตายในที่สดุ จึงตอ้ งขุดร่องระบายนํ้าใหร้ ะดบั นํ้าลดลง สําหรบั การใหน้ ํา้ มีหลักเกณฑป์ ฏิบตั ดิ งั น้ี 1.1 รดน้ําตน้ ไม้ในตอนเช้าและตอนเย็น ซง่ึ ฝนไม่ตก ให้ความชุม่ ช้นื อย่เู สมอ 1.2 อปุ กรณ์ที่ใช้รดนาํ้ ถ้าตน้ พชื ยังเล็ก ควรใชบ้ วั ฝอยละเอียดๆ แตเ่ ม่ือตน้ โตข้นึ จะใชบ้ วั ฝอย หยาบขึน้ ก็ได้ 1.3 รดนํ้าให้ชุ่มชื้นพอดี ไมร่ ดจนดินแฉะ และดินแข็งจนเกนิ ไป หรือรดน้อยจนต้นไมเ้ หี่ยวเฉาตาย 1.4 ไมร่ ดนํา้ แรงจนเกนิ ไป เพราะอาจทาํ ให้ยอดต้นล้มหรือหักและพืชพบั ใบ 1.5 รดน้าํ ให้ท่วมแปลง เพื่อว่ารากพชื ซ่งึ กระจายอยูท่ ั่วไปจะได้ดูดแร่ธาตุอาหารได้ทั่วถึง 1.6 หลงั จากรดนํ้าแล้ว เอาหญา้ หรอื ฟางคลุมดินไว้ใหช้ มุ่ พืชจะได้มีนํา้ ใช้นานๆ 2. การพรวนดิน วธิ ีการพรวนดินที่ถกู ต้องปฏบิ ัติดังนี้ 2.1 ควรพรวนดนิ เม่ือพชื ที่ปลกู ต้ังตัวไดแ้ ล้ว 2.2 คร้ังต่อไปพรวนดินเม่อื ดินแนน่ หรอื เวลาใสป่ ุ๋ย 2.3 อย่าให้กระทบกระเทือนตน้ พืช อย่างัดโคนตน้ ขึน้ 2.4 ควรพรวนรอบๆ บรเิ วณตน้ โดยถอื หลกั วา่ ใบไปไหน รากไปถงึ นน่ั ประโยชนข์ องการพรวนดนิ 1. ทําให้ดินรว่ นซุย 2. ทาํ ให้อากาศถา่ ยเทได้สะดวก 3. ชว่ ยเกบ็ ความชืน้ ในดนิ 4. ทําลายวัชพืช 5. ช่วยทาํ ลายโรคบางอย่าง 6. ทําให้เกิดรากงอกใหม่มากมาย 7. ชว่ ยรากดดู น้าํ แร่ธาตขุ องอาหารพืช เอกสารประกอบการเรียนรู้ 78 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปลาม้า
3. การใส่ป๋ยุ พชื ทเี่ จริญงอกงามผลดิ อกออกผล ย่อมแสดงถึงความอดุ มสมบูรณ์ของดนิ และของ พืช แตเ่ มอ่ื ต้นพืชเหย่ี วเฉาหรือเติบโตชา้ กแ็ สดงว่าดนิ ขาดธาตุอาหาร การใส่ปุย๋ มีหลกั การดงั นี้ 1. การใส่ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ ปยุ๋ หมกั ปุ๋ยเทศบาล ใหใ้ ส่ระหวา่ งต้นหรือหลังจากพรวนดนิ ใช้ปยุ๋ เคลา้ ให้ทัว่ 2. การใสป่ ยุ๋ อนินทรีย์ ปุย๋ เคมี หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ตอ้ งดูวิธีการใสเ่ สียก่อนโดยอา่ นข้าง กระสอบป๋ยุ ปุ๋ยอนินทรีย์ท่สี ําคัญ ได้แก่ ปยุ๋ ไนโตรเจน ป๋ยุ ฟอสฟอรสั ปุ๋ยโพรแทสเซยี ม – ปุย๋ ไนโตรเจน ไดแ้ ก่ ปยุ๋ แอมโมเนียมซัลเฟต ป๋ยุ ยเู รยี – ปุ๋ยฟอสฟอรัส ได้แก่ ปุ๋ยฟอสเฟต – ป๋ยุ โพรแทสเซียม ได้แก่ ปุ๋ยโพรแทสเซยี มคลอไรด์ ปุ๋ยโพรแทสเซียมซัลเฟต 4. การกําจดั วัชพชื วัชพชื เป็นพืชทเี่ ราไม่ต้องการ เปน็ พชื ท่ีคอยแย่งธาตุอาหารพชื และแสงสวา่ ง ทีใ่ ดมีวัชพชื ข้ึนรก เป็นทอ่ี ยู่อาศัยของเชื้อโรคและศัตรูพืช ทาํ ใหผ้ ลผลติ น้อยลง เจรญิ เตบิ โตได้ 3 ประเภท คือ 1. ประเภทลม้ ลกุ คือพวกท่ีออกดอกออกผลแลว้ ตายไปภายใน 1 ปี ขยายพนั ธโุ์ ดยเมลด็ เช่น หญ้ายาง หญ้านกสชี มพู ผกั โขมหนาม หญา้ ขจรจบ เปน็ ต้น 2. ประเภทท่ีมอี ายุขา้ มฤดู คือ พวกท่ีเติบโตแตกกง่ิ ก้านภายในปีแรก แล้วจึงออกดอกออกผล และตายภายในปที ี่ 2 ขยายพันธ์ุโดยเมลด็ 3. ประเภทท่ีมีอายุมากกว่า 3 ปี พวกน้สี ่วนมากมีรากเหง้าซ่ึงอยู่ใต้ดิน ขยายพันธ์ุโดยเมล็ด เช่น หญ้าคากระทกรก ตดู หมูตดู หมา หญา้ พง แห้วหมู เป็นต้น การกาจดั วชั พชื หมายถงึ การคอยดูแลตดั หรือถอนวัชพชื ท่ีข้นึ แซมพชื ทเี่ ราปลูกออกทิ้งโดยไมใ่ ห้มาแยง่ อาหารพชื เช่น น้ํา แรธ่ าตุอาหารต่างๆ ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการป้องกันและกาจัดวัชพืช มีดังต่อไปน้ี 1. ใช้เมลด็ พนั ธ์ุที่สะอาดปราศจากวชั พืชและสิง่ เจือปน 2. หมั่นตรวจแปลง ขยายพนั ธุ์หรอื เรือนเพาะ เพราะอาจมีวชั พชื ติดมากบั กิ่ง ตน้ อ่อน ดิน หรอื ภาชนะทหี่ อ่ ห้มุ 3. ไมเ่ ล้ียงสัตวด์ ้วยเมล็ดพชื หรือหญา้ ฟางท่มี เี มล็ดวัชพชื ปนอยู่ เพราะเม่ือสตั ว์กินเข้าไปก็จะถ่าย ออกมา ทําใหว้ ชั พืชแพรห่ ลายไปได้ 4. ไม่ควรใช้ปยุ๋ คอกสด เพราะอาจมีเมลด็ วชั พืชตดิ อยู่ในมูลสัตว์ ควรหมกั ไวเ้ สียก่อน 1 เดอื น 5. ดนิ ท่ใี ชส้ ําหรบั การเพาะปลกู การปราศจากเมลด็ เหง้าหรอื หวั วชั พืช 6. เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการเกษตรควรสะอาด ไม่มสี ่วนต่างๆ ของวัชพืช หรือเมล็ดวชั พืชท่ีติดอยู่ 7. ต้องดายหญ้าทุกๆ 15 วัน ในบรเิ วณท่ปี ลูกพืชผกั สวนครวั 8. ควรถอนวชั พชื ท่เี ป็นตน้ อ่อน เพราะรากหย่ังดินยังไมล่ ึก งา่ ยต่อการถอน เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 79 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปลาม้า
5. การเดด็ หรือการตกแตง่ 5.1 การเดด็ เปน็ การตัดหรือเด็ดส่วนทีเ่ กิน หรือสว่ นทีเ่ ป็นโรคของพืชทง้ิ เพื่อไม่ใหเ้ กดิ โรคติดตอ่ ง่าย 5.2 การตกแตง่ เปน็ การตกแตง่ พชื เพ่ือความสวยงาม เพอ่ื ความเจรญิ เตบิ โต ตามต้องการ เช่น ตดั ยอดไมใ่ ห้สูงข้ึน แตใ่ ห้แผก่ ระจายไปดา้ นข้าง วิธีการตกแตง่ ปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1. เครือ่ งมือทใ่ี ชต้ อ้ งคมและสะอาด 2. เลือกตัดเฉพาะก่ิงบางกิ่งเทา่ น้ัน และคงไวแ้ ต่ก่งิ ทงี่ ามใหผ้ ลดก 3. ตดั ก่งิ อยา่ งประณีต เพอ่ื รักษาพชื ให้อยใู่ นสภาพดีและมีข้อเสียน้อยท่สี ดุ 4. ต้องคอยตดั กงิ่ กา้ นที่ไมต่ ้องการเป็นประจํา 5. หลงั จากตัดกิ่งใหญ่ทุกครั้ง ใช้นํ้ามนั ขโ้ี ลท้ าลงบนแผลกิ่งนน้ั เพื่อปูองกันโรคพชื 6. การทําค้างหรอื หลักราว พืชบางชนิดลาํ ตน้ อ่อนจําเป็นต้องทาํ คา้ ง หรือหลักราวจงึ จะออกดอก ออกผล จึงจะทําให้ได้ผลผลิตสงู ถ้าไม่ทําค้างหรือหลกั ราว อาจเน่าเสียผลไม่น่ารับประทาน ราคาไม่ดี เชน่ แตง ตา่ งๆ ถวั่ ฝกั ยาว มะเขือเทศ เป็นต้น 6. การปอู งกนั และกาํ จัดศตั รูพืช ศตั รูพชื หมายถึง ส่ิงทม่ี ีชวี ิตจําพวกจลุ ินทรีย์ รวมทง้ั ภยั ธรรมชาตทิ ี่ทาํ ให้พืชผลเสียหาย หยดุ การเจรญิ เตบิ โตหรือ ตายในทีส่ ดุ 6.1 ศัตรมู หี ลายชนิด เกดิ จากสงิ่ สําคญั 4 อยา่ ง ได้แก่ 1. มนษุ ย์ เกิดจากการลักขโมยหรือเหยียบยํา่ ทาํ ลายใหเ้ สยี หาย 2. สัตว์ เชน่ หนู กระรอก นก แมลง คอยกดั กินเมล็ดผล 3. ภัยธรรมชาติ ได้แก่ – อุทกภยั หมายถงึ ภัยทเ่ี กิดจากนํา้ ทว่ ม เนื่องจากฤดูฝนมีฝนตกหนัก ทําให้พืชเสยี หาย – วาตภัย หมายถงึ ภยั ทเ่ี กิดจากลม เช่น ลมมรสมุ ลมพายุ ซึง่ เกดิ ขนึ้ ได้ทุกฤดู 4. โรคต่างๆ เชน่ – โรคทเ่ี กดิ จากเชื้อรา ได้แก่ โรคโคนเนา่ ของตน้ กล้า – โรคท่เี กดิ จากเชื้อแบคทีเรีย ไดแ้ ก่ โรคเนา่ ดําของผกั – โรคที่เกดิ จากเช้ือไวรสั ไดแ้ ก่ โรคใบหดยาสูบ 6.2 วิธปี อู งกันและกาํ จัดศตั รูพชื 1. รักษาบริเวณ ไร่ สวน ใหส้ ะอาด 2. ขดุ ไถ พรวนดิน 3. เม่ือสิ้นฤดูเก็บเก่ยี ว ควรขุดดนิ ตากแดด เพ่ือฆ่าเชื้อโรค 4. สร้างเครอื่ งกีดขวาง เช่น สรา้ งร้วั รอบบรเิ วณ ปลกู แนวต้นไผ่บังลม 5. สรา้ งเข่ือนปูองกันน้าํ ท่วม 6. บํารงุ รกั ษาพชื ให้แขง็ แรง 7. ปลกู ต้นพืชท่ีแข็งแรง 8. ฉีดยา พ่นยา ปูองกนั โรค 9. ปลกู พชื หมนุ เวียน ควรปลูกสลบั อยา่ ปลกู ซ้าํ ชนิดกัน เพราะโรคบางอยา่ งจะเป็นกับ พชื บางชนิดเทา่ นั้น 10. เมอ่ื พืชเรม่ิ เป็นโรค ให้รีบรักษาหรือทําลาย เพื่อไมใ่ หล้ ุกลามตอ่ ไป เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 80 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
การถอดบทเรียน ฐานท่ี 10 การปลูกผักสวนครัว ความรู้ คุณธรรม -ชนดิ ของผกั สวนครัว -ความขยนั หมนั่ เพยี ร -ประโยชนแ์ ละโทษของผักสวนครัว -ความอดทน -การดูแล/บารุงรักษา -ความซอ่ื สัตย์ -การเตรยี มดินปลูก -ความรบั ผิดชอบ -วิธีการขยายพันธ์ุ -การทางานรว่ มกนั -สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสม -ความเสียสละ -การเกบ็ เก่ยี ว -วธิ ีการปรุงเปน็ อาหาร/การแปรรูป พอประมาณ -การแบง่ พน้ื ทป่ี ลกู ผักสวนครัว ไมต่ ้องใหญ่มาก ปลูกผักสวน ครวั เท่าที่จาเปน็ -นาพชื ทีห่ าได้ง่ายมาปลูกไว้ บรโิ ภคไม่ตอ้ งซื้อ มเี หตุผล -เกบ็ เมลด็ พันธุ์ไว้ขยายพันธุ์มภี ูมิค้มุ กนั ในตวั ท่ดี ี -ลดรายจ่ายในครวั เรอื น -มีผักทป่ี ลอดสารเคมีไว้ -มีผักปลอดสารเคมีไว้บรโิ ภค บริโภค -ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ -มีสขุ ภาพดี วตั ถ/ุ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม -ลดรายจา่ ย -การแบ่งปนั -ลดการใช้สารเคมี -ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ น -เพม่ิ รายได้ -การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ -ลดภาวะโลกรอ้ น เกษตรอินทรยี ์ -วฒั นธรรมการบริโภค ผกั สวนครวั -การแปรรปู /การ ประกอบอาหาร เอกสารประกอบการเรียนรู้ 81 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลามา้
ฐานที่ ๑๑ การปลูกกล้วย กล้วย เป็นพรรณไมล้ ม้ ลกุ ในสกลุ Musa มหี ลายชนิดในสกลุ บางชนดิ กอ็ อกหน่อแต่ว่าบางชนดิ ก็ไม่ออก หนอ่ ใบแบนยาวใหญ่ กา้ นใบตอนล่างเปน็ กาบยาวหุม้ ห่อซ้อนกันเป็นลําตน้ ออกดอกที่ปลายลําตน้ เป็น ปลี และ มักยาวเปน็ งวง มีลูกเปน็ หวี ๆ รวมเรยี กว่า เครือ พืชบางชนิดมีลาํ ตน้ คล้ายปาล์ม ออกใบเรยี งกนั เปน็ แถวทํานอง พัดคล่ี คลา้ ยใบกลว้ ย เช่น กลว้ ยพัด (Ravenala madagascariensis) ทว่าความจรงิ แล้วเปน็ พชื ในสกุลอนื่ ท่ีมใิ ช่ ทงั้ ปาลม์ และกล้วย ชนิดของกล้วย กล้วยน้ําว้า – “กล้วยนํ้าว้า” มีช่ือสามัญหรือช่ือเรียกท้องถ่ินว่า กล้วยใต้ กล้วยตานีอ่อง กล้วยมะลิอ่อง หรือกล้วยอ่อง (Pisang Awak) และมีช่ือเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Musa (ABB) ‘Nam Wa’ มีเหล่ียมเล็กน้อย เปลือกผลหนา เมื่อผลสุก มีสีเหลือง เน้ือสีขาวนวล รสหวาน ไส้กลางสีเหลือง ชมพู หรือขาว มีหลากหลายสายพันธ์ุ อาทิ กล้วยนํ้าว้าค่อม กล้วยนํ้าว้าดํา กล้วยนํ้าว้ามะลิอ่อง และกล้วยนํ้าว้าจันทร์ ให้คุณประโยชน์มากมาย มีธาตุเหล็กสูงท่ีสุด ช่วย ปูองกันโรคโลหิตจางได้ยอดเยี่ยม เป็นยาอายุวัฒนะ สามารถทานเพ่ือลดน้ําหนัก นอกจากน้ียังมีสารฮิสโตแฟน ทเ่ี ปน็ สารต้งั ต้นฮอรโ์ มนเอนดอร์ฟิน หล่ังสารแห่งความสุข ช่วยให้หลับสบาย คลายความเครียด ท้ังยังมีแคลเซียม สงู ชว่ ยปูองกันฟันผุ – กล้วยหอม – “กลว้ ยหอม” หรอื “กลว้ ยหอมทอง” เปน็ ชอื่ ท้องถน่ิ ทีถ่ ูกเรียกโดยทั่วไป มีชื่อสามัญคือ Gros Michel และชื่อทาง วิทยาศาสตร์คอื Musa (AAA) ‘Hom’ มผี ลใหญ่ ปลายโค้งเรียวยาว เปลือกบาง เมื่อสุกจะมีสีเหลืองทอง เน้ือในสี ส้มอ่อน รสหวาน มีกล่ินหอม สายพันธุ์ท่ีเป็นท่ีรู้จัก ได้แก่ กล้วยหอมเขียว กล้วยหอมทอง กล้วยหอมค่อม และ กล้วยหอมแกรนด์เนน มีผลวิจัยพบว่า กล้วยหอมทองมีโปรตีนสูง ช่วยให้ร่างกายเติบโตแข็งแรง มีแร่ธาตุเป็น จํานวนมาก สรรพคุณมากมาย รักษาอาการโลหิตจาง นอกจากนี้ยังช่วยลดอาการของโรคหลอดเลือดในสมอง บํารุงประสาท ปรับอารมณ์ ลดความตึงเครียด ช่วยให้ร่างกายสดชื่น สามารถปูองกันโรคซึมเศร้าและบรรเทา อาการปวดต่างๆ – กล้วยไข่ – “กลว้ ยไข่” มีชื่อท้องถน่ิ วา่ กล้วยกระ และชื่อทางวิทยาศาสตรว์ า่ Musa (AA) ‘Khai’ มลี กั ษณะคือ ผลคอ่ นขา้ ง เลก็ กา้ นผลส้นั มีเปลือกบาง เมือ่ สกุ เปลือกและเน้ือมสี เี หลืองสด มีจดุ กระสีดําทเี่ ปลอื ก มีรสชาติหวาน กลว้ ยไข่มี ๒ สายพนั ธุ์ท่ีเปน็ ที่รู้จกั คือ กล้วยไขก่ ําแพงเพชร และกล้วยไข่ทองเงย มเี บตา้ แคโรทนี สงู ชว่ ยต้าน มะเรง็ ได้อย่างวิเศษ เม่อื สกุ ช่วยบาํ รงุ กาํ ลงั เปน็ ยาระบาย ผลดิบใช้ชงนาํ้ รอ้ นหรือบดเปน็ ผงรับประทาน ช่วยรักษา แผลในกระเพาะอาหารและอาการท้องเสยี เร้ือรงั มีรสฝาด เอกสารประกอบการเรียนรู้ 82 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลามา้
– กล้วยเล็บมือนาง – “กลว้ ยเล็บมือนาง” มีช่อื เรยี กโดยทั่วไปคือ กล้วยข้าว กลว้ ยเลบ็ มอื กลว้ ยทองดอกหมาก และกลว้ ยหมาก ช่ือทาง วทิ ยาศาสตร์คือ Musa (AA) ‘Lep Mue Nang’ เปน็ กล้วยประจําท้องถนิ่ ของภาคใต้ ปจั จบุ นั นาํ มาปลูกกันทั่วทกุ ภาค โดยเฉพาะภาคกลาง กลว้ ยเลบ็ มือนางมีผลเลก็ ปลายเรียวยาวและโค้ง ก้านผลส้นั เปลอื กหนา เม่ือสุกสี เหลอื งทองและมกี ้านเกสรเพศเมียตดิ ทีป่ ลายผล เน้ือด้านในมีสเี หลืองหรอื สีครีม เน้ือนุ่ม รบั ประทานง่ายเพราะผล มขี นาดเรยี วเล็ก กลิ่นรสหวานหอม ผลดบิ มรี สมนั ไม่ฝาด นิยมนํามาปรงุ อาหารปกั ษใ์ ต้ ไม่นิยมนาํ มาแปรรูป เหมือนกลว้ ยชนดิ อน่ื เพราะขนาดเลก็ นอกจากนย้ี งั มฟี อสฟอรัสมากทสี่ ดุ ชว่ ยบํารงุ ให้กระดกู และฟันแข็งแรง – กล้วยนาก – “กลว้ ยนาก” เปน็ กล้วยโบราณหายาก มีความแตกตา่ งจากกลว้ ยชนดิ อืน่ ดว้ ยผลที่มีสีแดงเหมือนกับสีของนาก ทํา ให้มเี อกลกั ษณโ์ ดดเดน่ มชี ื่อท้องถ่นิ วา่ กลว้ ยกุ้ง กล้วยกงุ้ เขียว กลว้ ยแดง กลว้ ยคร่ัง และกลว้ ยน้ําคร่งั เป็นกล้วยท่ี พบทางภาคใต้ มีช่อื ทางวทิ ยาศาสตร์วา่ Musa (AAA) ‘Nak’ เม่อื ผลสกุ จะเปลยี่ นเปน็ สีแดงเข้ม ก้านผลสั้น เนอ้ื สี เหลืองอมสม้ มีรสหวานอมเปรี้ยวและกลนิ่ หอมเย็น เน้ือนิม่ ละเอียด และไม่มเี มลด็ บางตํารากลา่ วว่า กลว้ ยนากมี สารแอนตอิ อกซแิ ดนต์สงู นยิ มนาํ มารบั ประทานสดเม่ือผลสกุ ส่วนผลดิบใช้ทอดหรือฉาบนาํ้ ตาลเพื่อบรโิ ภคหรอื ขาย นอกจากนยี้ งั นาํ มาใชใ้ นการประกอบเครือ่ งบชู าเทวดาและในงานพธิ ีมงคลตา่ งๆ – กล้วยน้ําไท – “กล้วยนํ้าไท” หรอื กลว้ ยหอมเลก็ เปน็ กล้วยท้องถ่ินของกรุงเทพฯ ในปัจจุบนั พบได้ยาก มชี อ่ื เรียกทางวิทยาศาสตร์ ว่า Musa (AAB) ‘Nam Thai’ มีลกั ษณะของผลคล้ายกลว้ ยหอมจนั ทร์ แตโ่ ค้งงอกว่า เป็นเหล่ียม เปลอื กหนา ปลายผลมจี ุกและมักมีกา้ นเกสรตัวเมียตดิ เม่อื สุกมสี ีเหลืองเข้มและมจี ุดดําเล็กๆคลา้ ยกล้วยไข่ เน้ือสีเหลอื งอมส้ม กล่นิ รสหวานหอม ไม่มเี มลด็ นยิ มกนิ ผลสด ถา้ นาํ ไปเช่ือมหรอื ผ่านความร้อนจะมรี สฝาด มีสรรพคณุ เปน็ ยาดี สามารถนํามาดองกับนาํ้ ผึ้งใช้เปน็ ยาอายุวัฒนะ แต่เดมิ เปน็ กลว้ ยท่ีใชโ้ ดยท่ัวไปในพธิ ีกรรมตา่ งๆ แตป่ ัจจุบันหายาก จงึ เปล่ยี นมาใชก้ ล้วยนํ้าว้าแทน กล้วย เปน็ ผลไมท้ ่หี ากนิ และหาซื้อง่ายในบา้ นเรา ซื้อมายกหวีแต่มีปญั หาตรงท่ีกินไม่ทันหมด กล้วยก็ดาํ เสยี แลว้ แตก่ ต็ ้องซื้อมายกหวจี ะทาํ อย่างไรดี หากกลัวว่ากล้วยจะเหลือก็นาํ ไปทําขนมดสู ิวนั นเ้ี รามาแบง่ ปันสตู รขนมที่มี ส่วนผสมของกลว้ ย คนชอบกินกล้วยตอ้ งฟนิ แน่นอนคะ่ ลองนาํ ไปทําดู ทาํ กินเองก็ได้ ถา้ อร่อยก็ทาํ ขายได้ รวมสูตรกล้วยๆ กบั เมนกู ลว้ ย ผลไมก้ ับขนมหวานเป็นของคกู่ นั 1. กล้วยปงิ้ ราดน้ากะทิ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 83 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลามา้
2. เค้กกล้วยหอมนึ่ง 3. กลว้ ยนมสดมะพร้าวออ่ น 4. กลว้ ยคาราเมล เอกสารประกอบการเรียนรู้ 84 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลามา้
5. กล้วยทอดอินโด 6. กลว้ ยแขก 7. ขนมกล้วย เอกสารประกอบการเรียนรู้ 85 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลามา้
8. กล้วยเช่ือมแดง 9. มสู กล้วยหอม 10. กล้วยบวชชี เอกสารประกอบการเรียนรู้ 86 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
11. ครมี พายกล้วยหอม 12. กล้วยฉาบ 13 .ขา้ วต้มมดั เอกสารประกอบการเรียนรู้ 87 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลาม้า
ประโยชนจ์ ากตน้ กลว้ ย กล้วย กล้วย เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนช้ืน ถิ่นแรกของกล้วยจึงอยู่ในแถบเอเชียตอนใต้ ซึ่งจะพบกล้วยพ้ืนเมืองท้ังท่ีมี เมลด็ และไมม่ ีเมล็ด และจากผลของการยา้ ยถน่ิ ฐานในการทาํ มาหากิน การอพยพประชากรจากเอเชียตอนใต้ไปยัง หมเู่ กาะแปซิฟิก ต้งั แตต่ น้ ศรสิ ตศ์ กั ราชเปน็ ตน้ มา ในการอพยพแตล่ ะครั้งจะต้องมีการนําเอาเสบียงอาหารติดตัวไป ด้วย จึงได้มีการนํากล้วยไปปลูกแถบหมู่เกาะฮาวายและหมู่เกาะทางด้านตะวันออก สําหรับประวัติกล้วยใน ประเทศไทย เข้าใจว่าประเทศไทยเปน็ แหลง่ กาํ เนิดของกลว้ ยปุาและตอ่ มาได้มีการนํากล้วยตานี และกล้วยชนิดอื่น ในชว่ งทีม่ กี ารอพยพของคนไทยในการตั้งถ่ินฐานของจังหวัดสุโขทัย มีเอกสารกล่าวว่าในสมัยอยุธยาพบว่ามีกล้วย ร้อยหวี ลักษณะท่ัวไปของกล้วย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า : Musa sapientum L. ช่ือวง : Nusaceae ชื่อสามัญ : Banana กลว้ ย เปน็ ไมผ้ ล ลําต้น เกดิ จากกาบหุ้มซ้อนกัน สูงประมาณ ๒-๕ เมตร ใบเป็นใบเด่ียวเกิดกระจายส่วนปลายของ ลําต้นเวียนสลับซ้ายขวาต่างระนาบกัน ก้านใบยาว แผ่นใบกว้างเส้นของใบขนานกันปลายใบมน มีติ่ง ผิวใบเรียบ ลนื่ ใบสเี ขียงด้านลา่ งมไี ขนวลหรอื แปูงปกคลุมเสน้ และขอบใบเรียบขนาดและความยาวของใบข้ึนอยู่กับแต่ละพันธ์ ดอกเป็นดอกห้อยลงมายาวประมาณ ๖๐ – ๑๓๐ ซม. ซ่ึงเรียกหัวปลี ตามช่อจะมีกาบหุ้มสีแดงเป็นรูปวงรี ยาว ๒๕- ๓๐ ซม. ช่อดอกท่ีมีการเจริญก็จะกลายเป็นผล ผลเป็นผลสดจะประกอบไปด้วยหวีกล้วย เครือละ ๗- ๘ หวี แต่ละหวีมีกล้วยอยู่ประมาณ ๑๐ กว่าลูก ขนาดและสีของกล้วยมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามชนิดของแต่ละ พนั ธุ์ บางชนิดมผี ล เหลือง, เขียว,แดง แต่ละตน้ ใหผ้ ลครั้งเดี่ยวเท่าน้ัน เมล็ด มีลักษณะกลมขรุขระเปลือกหุ้มเมล็ด มีสีดาํ หนาเหนยี วเน้ือเมลด็ สีขาว ขยายพันธ์ุด้วยการแยกหนอ่ หรือแยกเหงา้ รถชาตฝิ าด ประโยชน์จากสว่ นตา่ งๆของกล้วย นอกจากที่เราจะนยิ มนาํ ผลกล้วยมารบั ประทาน ส่วนอืน่ ๆของกล้วยเราก็ยงั สามารถนาํ มาใช้ประโยชน์ไดม้ ากมาย อาจกล่าวได้วา่ เราสามารถใช้ประโยชน์จากล้วยได้ทกุ สว่ น โดยจะกลา่ วเพียง ย่อ ๆ คือ เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 88 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลาม้า
รากและลาต้นแท้ สามารถนํามาทาํ เป็นสมุนไพร ใช้รกั ษาโรคตามแผนโบราณ หรือใช้รักษาผิวหนังทแ่ี ดง ปวด เน่ืองจากถกู แดดเผา โดยรากและลาํ ต้นจะมสี ารแทนนนิ ซ่ึงชว่ ยในเร่อื งของแผลไหม้ นํา้ ร้อนลวกสว่ นรากของกล้วย ตบี เม่ือนาํ มาต้มจะชว่ ยแกร้ อ้ นในกระหายน้าํ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ลาตน้ เทียมหรือกาบลาต้น ใชท้ ําเสน้ ใยหรอื ทาํ เชือกทอผ้า ทําอาหารสัตว์ เชน่ อาหารของสุกรและยังเปน็ อาหาร ของคนอีกดว้ ย เชน่ แกงหยวกกล้วย กาบกล้วยก็ใชเ้ ปน็ สมุนไพรไดเ้ ช่นกัน ส่วนน้ําคน้ั จากลําต้นกย็ ังสามารถนาํ มา ทากันผมรว่ งหรอื เร่งทาํ ให้ผมข้ึนได้อีกด้วย ใบ สมยั ก่อนที่พลาสตกิ จะเขา้ มามบี ทบาท คนโบราณมักใช้ใบตองเป็นภาชนะแทนจานขา้ วและยังนาํ มาใชห้ ่อของ ทาํ มวนบหุ รี่ หรอื ทํางานประดษิ ฐ์ เช่น กระทง บายศรี ใบกล้วยทน่ี ยิ มมากคือใบกลว้ ยตานีเพราะมใี บที่ใหญ่ เหนียว และเขียงเป็นเงา เมือ่ นําไปทาํ งานประดิษฐจ์ ะสวยงามและไมแ่ ตกง่าย ดอกหรอื ปลี สว่ นชอ่ ดอกของตน้ กลว้ ย อนั ประกอบด้วยดอกจรงิ ทจี่ ะถูกหุ้มอยู่ภายในด้วยใบประดับสแี ดงขนาด ใหญ่ ลกั ษณะเปน็ กาบซ้อนกันจนสดุ ปลายชอ่ คลา้ ยดอกบัวตูม เม่ือดอกเพศเมียเจรญิ เป็นผลโดยทีไ่ มต่ อ้ งได้รับการ ผสมเกสร จนเปน็ กล้วยหวเี ล็ก ๆ หรอื ท่เี รียกกันวา่ “กล้วยตนี เตา่ ” ชาวสวนก็จะตดั ปลที ี่ปลายช่อทงิ้ เพ่ือไม่ใหแ้ ย่ง อาหารทีจ่ ะไปเลย้ี งผลกล้วย ท้ังยงั เปน็ การปูองกนั การสะสมเชอ้ื โรคของเครือกลว้ ยด้วยและทีเ่ รานิยมรบั ประทาน กนั หรือใช้บํารงุ นํ้านมของมารดา ตม้ ค้ัน แก้เบาหวาน เมือ่ นาํ มาตากแห้งกส็ ามารถใช้รักษาโรคโลหิตจางได้ เอกสารประกอบการเรียนรู้ 89 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลามา้
ผล ใชร้ บั ประทานได้ท้ังอ่อน แก่ และสกุ ถ้าผลดบิ ยังออ่ นอยสู่ ามารถใช้ปรงุ อาหารในแกงปาุ สม้ ตําสว่ นผลดบิ ท่ีแก่ แล้วสามารถนาํ มาเชื่อมหรอื ทํากล้วยฉาบสว่ นกลว้ ยสุกนัน้ สามารถนาํ มารบั ประทานสดได้เลย การรบั ประทาน กล้วยสุกนน้ั มผี ลดีคือจะทาํ ให้ทอ้ งไม่ผกู เพราะในกล้วยสุกจะมีสารเพ็คติน และยังช่วยเพ่ิมกากอาหารในลําไส้ กาก อาหารเมื่อเพ่ิมมาถึงระดบั หน่ึงจะทาํ ให้ถ่ายออกมีสารทาํ ให้ท้องผูก เมอ่ื รบั ประทานก็ควรเค้ยี วใหล้ ะเอยี ดจะช่วยใน การทาํ งานของกระเพาะและทาํ ใหท้ ้องไม่อดื เอกสารประกอบการเรียนรู้ 90 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปลาม้า
การถอดบทเรียน ฐานที่ 11 การปลกู กล้วย ความรู้ คุณธรรม -สายพันธข์ุ องกลว้ ย -ความขยนั หม่นั เพยี ร -ประโยชน์และสรรพคณุ ของกลว้ ย -ความอดทน -การเตรยี มดินปลกู -ความซ่ือสัตย์ -การขยายพนั ธุ์ -ความรับผิดชอบ -การดแู ล/บารุงรักษา -การทางานร่วมกัน -อาหารทที่ าจากกล้วย/การแปรรูป -ความเสียสละ พอประมาณ -ลดรายจา่ ย -เพ่ิมรายได้ -การแบ่งพ้นื ทก่ี ารปลูกกลว้ ย -การใช้ประโยชน์จาก สว่ นประกอบตา่ งๆของกลว้ ย มเี หตผุ ล มีภูมคิ ุ้มกันในตัวที่ดี -ใชเ้ ปน็ อาหาร -ประหยดั -ใชเ้ ปน็ ของใช้ -ปลอดภัย -มสี ขุ ภาพดี วัตถ/ุ เศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม -ลดรายจา่ ย -การแบ่งปัน -ลดการใชส้ ารเคมี -ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นดา้ น -เพม่ิ รายได้ -การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ -ลดภาวะโลกรอ้ น การประกอบอาหาร จากกล้วย -การอนุรกั ษ์พนั ธ์ุกลว้ ย -การประกอบอาหาร จากกล้วย/การแปรรูป เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 91 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางปลาม้า
บรรณานกุ รม https://www.google.com/search?q=%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0 %B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%82% E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99&oq=&aqs=chrome.2.35i3 9i362l8...8.211699363j0j15&sourceid=chrome&ie=U คดั แยกขยะ. (มปพ.) คน้ เมอ่ื กรกฎาคม 20, 2564, จาก http://www.khamphai.go.th/files/pdfcontent/pdf-1505984172.pdf ผกาวดี ศรวี ะสทุ ธิ. (มปพ.). หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ทักษะการทางานรว่ มกนั . ค้นเม่ือ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://krupaga.wordpress.com/category สุธี ฮั่นตระกลู . (2558). การลดปริมาณขยะ. คน้ เมือ่ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://www.gotoknow.org/posts/81462 Thianthip Diawkee. (2561). ประเภทขยะ. คน้ เมื่อ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/44429%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B 9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0.html ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองงานประดิษฐ์กับการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชุดที่ 1 โรงเรยี นปากเกร็ด. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 21, 2564, จาก http://www.pk.ac.th/pdf/m1.pdf สรุ ยี พ์ ร ฉํา่ กลิน่ . งานประดษิ ฐ์. ค้นเม่ือ กรกฎาคม 21, 2564, จาก https://sites.google.com/site/sfddfb8989090/sara-sakhay หลักการปลกู ผัก กรมสง่ เสริมการเกษตร 2551. กรงเทพฯ ค้นเมอื่ สิงหาคม 18, 2564, จาก https://ka.mahidol.ac.th/ClinicTechnology/file/techBook.pdf โดยสํานักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2563). ปฏิทนิ การปลกู ผกั ค้นเม่อื สิงหาคม 18, 2564, จาก https://www.opsmoac.go.th/news-preview-412791791556 ฐานขอ้ มลู พชื ผัก บทความเกษตร . (2521). การดแู ล/บารุงรกั ษา. คน้ เมื่อ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://vegetweb.com คู่มอื การปลูกสมนุ ไพร ภาวนา อศั วะประภา ผู้จดั การสมนุ ไพร กลุ่มสมนุ ไพรเคร่ืองเทศ กองส่งเสรมิ พชื สวน สวพ.8 สาํ นักวจิ ยั และพฒั นาการเกษตร เขตท่ี 8 สงขลา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ อ้างองิ ข้อมูลและภาพ NUSANTARABIOSCIENCE November 2018 ละ กรมสง่ เสริมการเกษตร เฟสบุ๊ก ประชาสมั พันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร การปลกู กระชายขาว คน้ เม่อื กรกฎาคม 14,2564 จาก https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_132408 10 คณุ ประโยชน์ของขมนิ้ ชัน สรรพคณุ ปูองกันสารพัดโรค คน้ เมอื่ กรกฎาคม 14,2564 จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/food/1999331 หูเสอื ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี คน้ เม่อื กรกฎาคม 15,2564 จากhttp://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=173 เอกสารประกอบการเรียนรู้ 92 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลามา้
ขลู่ วิกพิ ีเดยี สารานุกรมเสรี ค้นเม่อื กรกฎาคม 16,2564 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%88#%E0%B8 %AD%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%87 ขลู่ ประโยชน์ดๆี สรรพคุณเด่นๆและข้อมลู งานวิจัย ค้นเมือ่ กนั ยายน 11,2564 จาก https://www.disthai.com/17075710/%E0%B8%82%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%88 ทองพันชั่ง วิกิพเี ดยี สารานุกรมเสรี คน้ เมือ่ กรกฎาคม 16,2564 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8% B1%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87 ผกาวดี ศรีวะสทุ ธิ. (มปพ.). หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ทกั ษะการทางานรว่ มกัน. คน้ เมอ่ื กรกฎาคม 21, 2564, จาก https://krupaga.wordpress.com/category ครูชยั ณรงค์ การงานอาชีพฯ การเลือกชนดิ ผัก คน้ เมื่อ มถิ ุนายน 2564 จาก https://sites.google.com/a/nwit.ac.th/khru-chaynrngkh- karxachiph/home/reuxngkarleuxkplukphuchphakswnkhraw หลักการเจรญิ เตบิ โตของพชื tmpl=component&flexiblelayout=print. (19 มถิ นุ ายน 2564) https://sites.google.com/site/projectphysics122/--paccay-kar-ceriy-teibto-khxng-phuch ปัจจยั ทจ่ี ําเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช.[Online}. Available : https://dongsuta.wikispaces.com/ปัจจัย ที่จาํ เปน็ ตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช. (19 มิถนุ ายน 2563) ความชืน้ ของดนิ .Online. Available (19 มิถนุ ายน 2563) http://elearning.nsru.ac.th/web_elearning/soil/lesson_4_2.php. ชนดิ ดนิ ที่เหมาะสมกบั การเพาะปลูกพชื .[Online}. Available (19 มิถุนายน 2563) http://www.thaigoodview.com/node/98455. ที่มา : http://www.gerapatr.com/craftsmanship/index.php/editorial/35-application-of-knowledge ท่ีมา : https://www.chaipat.or.th/site_content/item/3579-2010-10-08-05-24-39.html ผกาวดี ศรวี ะสุทธิ. (มปพ.). หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ทกั ษะการทางานรว่ มกัน. ค้นเมือ่ 20 กรกฎาคม 2564, ที่มาภาพ : http://www.thaicityfarm.com นราวุฒิ หลกั การทํางานของธนาคารนํา้ ใต้ดิน ค้นเมื่อ ค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2564 , <bhttp://www.obtwangchan.go.th/site/index.php?option=com_content&view=article&id= 276:2018-09-07-03-55-17&catid=45:2015-11-12-16-35-26&Itemid=96 ธนาคารน้ําใตด้ นิ เหมือนกบั ธนาคารฝากเงนิ ไหม ประเภท และ ประโยชน์ของธนาคารนํ้าใตด้ ิน ค้นเม่ือ 20 กรกฎาคม 2564 , https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/123647.html แหลง่ ทีม่ า : https://tonzaza11.wordpress.com/2014/03/08/พืชผักสวนครวั ทมี่ า : https://krupaga.wordpress.com/category สว่ นตา่ ง ๆ ของกล้วย กบั คุณประโยชนท์ ห่ี ลากหลาย | https://intrend.trueid.net › ความรู้ ประโยชน์จากส่วนต่างๆ ของกล้วย - เรื่องกลว้ ยๆ http://bananabananastory.blogspot.com › blog-post_ เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 93 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปลามา้
บรรณานกุ รม https://www.google.com/search?q=%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C %E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8 %82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99&oq=&aqs=chrom e.2.35i39i362l8...8.211699363j0j15&sourceid=chrome&ie=U คัดแยกขยะ. (มปพ.) ค้นเมอื่ กรกฎาคม 20, 2564, จาก http://www.khamphai.go.th/files/pdfcontent/pdf-1505984172.pdf ผกาวดี ศรีวะสทุ ธิ. (มปพ.). หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 ทักษะการทางานรว่ มกนั . ค้นเม่ือ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://krupaga.wordpress.com/category สธุ ี ฮ่ันตระกลู . (2558). การลดปรมิ าณขยะ. ค้นเมอื่ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://www.gotoknow.org/posts/81462 Thianthip Diawkee. (2561). ประเภทขยะ. ค้นเม่ือ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/44429%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0 %B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0.html ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องงานประดิษฐ์กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชดุ ท่ี 1 โรงเรยี นปากเกรด็ . คน้ เมื่อ กรกฎาคม 21, 2564, จาก http://www.pk.ac.th/pdf/m1.pdf สุรยี พ์ ร ฉ่ากลิน่ . งานประดิษฐ์. คน้ เมือ่ กรกฎาคม 21, 2564, จาก https://sites.google.com/site/sfddfb8989090/sara-sakhay หลักการปลกู ผัก กรมส่งเสริมการเกษตร 2551. กรงเทพฯ ค้นเม่ือ สิงหาคม 18, 2564, จาก https://ka.mahidol.ac.th/ClinicTechnology/file/techBook.pdf โดยสา่ นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2563). ปฏทิ นิ การปลูกผกั คน้ เมือ่ สงิ หาคม 18, 2564, จาก https://www.opsmoac.go.th/news-preview-412791791556 ฐานขอ้ มลู พชื ผัก บทความเกษตร . (2521). การดูแล/บารงุ รกั ษา. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 20, 2564, จาก https://vegetweb.com คู่มือการปลกู สมุนไพร ภาวนา อศั วะประภา ผจู้ ัดการสมุนไพร กลมุ่ สมุนไพรเครอื่ งเทศ กองส่งเสรมิ พชื สวน สวพ.8 สา่ นกั วจิ ัยและพัฒนาการเกษตร เขตท่ี 8 สงขลา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ อ้างอิงข้อมูลและภาพ NUSANTARABIOSCIENCE November 2018 ละ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร เฟสบุก๊ ประชาสัมพนั ธ์ กรมส่งเสรมิ การเกษตร การปลูกกระชายขาว คน้ เมอื่ กรกฎาคม 14,2564 จาก https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_132408 10 คุณประโยชนข์ องขมนิ้ ชัน สรรพคณุ ป้องกันสารพัดโรค คน้ เมอื่ กรกฎาคม 14,2564 จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/food/1999331 หูเสือ ฐานข้อมูลสมนุ ไพร คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ค้นเมื่อ กรกฎาคม 15,2564 จากhttp://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=173 ขลู่ วิกิพเี ดีย สารานุกรมเสรี ค้นเมอ่ื กรกฎาคม 16,2564 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%88#%E0% B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%87
ขลู่ ประโยชน์ดีๆ สรรพคณุ เด่นๆและข้อมูลงานวิจัย ค้นเมือ่ กันยายน 11,2564 จาก https://www.disthai.com/17075710/%E0%B8%82%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%8 8 ทองพนั ช่งั วกิ ิพีเดีย สารานุกรมเสรี ค้นเมอ่ื กรกฎาคม 16,2564 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B 8%B1%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87 ผกาวดี ศรวี ะสุทธิ. (มปพ.). หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ทักษะการทางานร่วมกนั . ค้นเมือ่ กรกฎาคม 21, 2564, จาก https://krupaga.wordpress.com/category ครชู ัยณรงค์ การงานอาชีพฯ การเลอื กชนิดผัก คน้ เม่ือ มถิ ุนายน 2564 จาก https://sites.google.com/a/nwit.ac.th/khru-chaynrngkh- karxachiph/home/reuxngkarleuxkplukphuchphakswnkhraw หลกั การเจริญเตบิ โตของพืช tmpl=component&flexiblelayout=print. (19 มิถนุ ายน 2564) https://sites.google.com/site/projectphysics122/--paccay-kar-ceriy-teibto-khxng- phuch ปจั จัยทจ่ี า่ เปน็ ต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช.[Online}. Available : https://dongsuta.wikispaces.com/ ปัจจัย ทจ่ี ่าเป็นตอ่ การเจริญเติบโตของพืช. (19 มิถนุ ายน 2563) ความช้นื ของดนิ .Online. Available (19 มถิ นุ ายน 2563) http://elearning.nsru.ac.th/web_elearning/soil/lesson_4_2.php. ชนดิ ดินที่เหมาะสมกับการเพาะปลกู พืช.[Online}. Available (19 มถิ นุ ายน 2563) http://www.thaigoodview.com/node/98455. ที่มา : http://www.gerapatr.com/craftsmanship/index.php/editorial/35-application-of- knowledge ท่มี า : https://www.chaipat.or.th/site_content/item/3579-2010-10-08-05-24-39.html ผกาวดี ศรีวะสุทธิ. (มปพ.). หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ทกั ษะการทางานร่วมกัน. คน้ เมอื่ 20 กรกฎาคม 2564, ทม่ี าภาพ : http://www.thaicityfarm.com นราวุฒิ หลกั การท่างานของธนาคารน้า่ ใต้ดิน คน้ เม่ือ คน้ เม่ือ 20 กรกฎาคม 2564 , <bhttp://www.obtwangchan.go.th/site/index.php?option=com_content&view=article& id= 276:2018-09-07-03-55-17&catid=45:2015-11-12-16-35-26&Itemid=96 ธนาคารน้่าใต้ดิน เหมือนกบั ธนาคารฝากเงินไหม ประเภท และ ประโยชนข์ องธนาคารน้่าใต้ดิน คน้ เมื่อ 20 กรกฎาคม 2564 , https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/123647.html แหลง่ ทีม่ า : https://tonzaza11.wordpress.com/2014/03/08/พชื ผกั สวนครวั ทม่ี า : https://krupaga.wordpress.com/category สว่ นตา่ ง ๆ ของกล้วย กบั คุณประโยชนท์ หี่ ลากหลาย | https://intrend.trueid.net › ความรู้ ประโยชน์จากสว่ นตา่ งๆ ของกลว้ ย - เรื่องกล้วยๆ http://bananabananastory.blogspot.com › blog-post_
Search