Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม

หลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม

Description: หลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม

Search

Read the Text Version

หลักสูตรสถานศึกษา หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรงุ ครัง้ ท่ี 7 พ.ศ.2564 ระดบั ประถมศกึ ษา สาระการพฒั นาสังคม รายวิชาเลือก รหัสวิชา สค12025 รายวชิ าลูกเสอื กศน. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางปลาม้า สงั กัดสำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย จังหวัดสุพรรณบุรี สงั กัดสำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 5 สาระ ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ สาระความรพู้ ้ืนฐาน สาระการประกอบ อาชีพ สาระทักษะการดำเนินชีวิต สาระการพัฒนาสังคม และมีแนวทางในการจัดการศึกษา ได้แก่ การจัดการ เรียนรู้ ก การจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การเทียบโอน การวัดผลและประเมินผล เกณฑ์การจบหลักสูตร เอกสารหลักฐานการศึกษา ในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สถานศึกษาจะต้องดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการพัฒนา ของจังหวัด อำเภอ ชุมชน และผู้เรียน ซึ่งออกแบบได้ตามตามสถานการณ์ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุ มาตรฐานการเรียนร้ทู ก่ี ำหนดไว้ ในการนศี้ ูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลาม้า ได้ทำการปรับปรงุ หลักสตู ร สถานศึกษา ครั้งที่ 7 ในระดับประถมศึกษา โดยอาศัยแนวทางท่ีสำนักงาน กศน. ได้ให้แนวทางในการจัดทำ หลักสูตร ในรายวชิ าเลอื ก ดังนี้ สาระพฒั นาสังคม รหัสวิชา สค12025 รายวิชาลกู เสือ กศน. จำนวน 2 หนว่ ยกิต อยู่ในหน้าท่ี 55 ของ หลักสูตร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า ขอขอบคุณในการให้ความร่วมมือ อยา่ งดยี ่งิ จากคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาในครง้ั น้ี ให้ความเหน็ ชอบ เมอื่ วันท่ี .............เดอื น ........................... พ.ศ.2564 ลงชอื่ ...........................................กรรมการ ลงชอ่ื ...........................................กรรมการ (นายสมพร วงั อมรมิตร) (นายนิธิ คงสมจิตต์) ลงชือ่ ...........................................กรรมการ ลงชอ่ื ...........................................กรรมการ (นายเชาว์ นวมทอง) (นายสุเทพ ทองธรรมชาติ ) ลงช่ือ...........................................ประธานกรรมการ (นายณัฐวฒุ ิ แสงดาว) ลงชือ่ ...........................................กรรมการ/เลขานุการ (นางสมควร วงษแ์ กว้ )

สารบญั หน้า 1 คำนำ 1 บรบิ ทของจงั หวัด อำเภอ ชุมชน 2 12 ประวัติความเปน็ มาของจังหวดั สพุ รรณบุรี 12 ข้อมูลอำเภอบางปลาม้า 12 ข้อมูลศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลาม้า 12 15 จดั ตั้งเมื่อ 15 สังกัด 16 ประวัติ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลาม้า 17 จำนวนบคุ ลากร 19 กศน.ตำบล ทไ่ี ดร้ ับการแต่งตัง้ จำนวน 14 แหง่ 19 ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน 19 การวเิ คราะห์ จดุ แขง็ จดุ อ่อน ของสถานศึกษา 20 เปา้ หมายการจัดการศึกษาศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลามา้ 20 ทิศทางการจัดการศึกษานอกระบบขั้นพน้ื ฐาน 21 ปรชั ญา 21 วสิ ัยทัศน์ 21 พันธกจิ 18 โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั ประถมศึกษา 22 หลกั การ 22 จุดหมาย 22 กลมุ่ เป้าหมาย 22 ระดบั การศึกษา 22 สาระการเรียนรู้ 22 กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ 23 มาตรฐานการเรยี นรู้ 24 เวลาเรยี น หน่วยกิต โครงสรา้ งหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สารบญั (ตอ่ ) หน้า 27 สาระการพัฒนาสังคม 27 เปา้ หมายการเรยี นรู้ 28 มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั บังคับ 30 คำอธบิ ายรายวชิ าเลอื ก 31 รายวิชาภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ 32 คำอธบิ ายรายวิชา รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า 34 35 รายวชิ าการเขียนโครงการ คำอธบิ ายรายวชิ า 36 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า 37 รายวชิ าการเงินเพื่อชีวิต 1 42 คำอธิบายรายวชิ า 43 รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า 47 รายวิชาสพุ รรณบ้านฉนั 1 48 คำอธิบายรายวชิ า รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา 51 52 รายวชิ าการปกครองในท้องถ่ินของเรา คำอธิบายรายวิชา 55 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า 56 62 รายวิชาประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย 62 คำอธิบายรายวิชา 64 รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า 64 64 รายวชิ าลูกเสือ กศน. 65 คำอธบิ ายรายวิชา 66 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า วธิ กี ารจัดการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ การเทียบโอน การวดั ผลประเมินผลการเรยี น การจบหลกั สูตร เอกสารหลักฐานการศกึ ษา

สารบญั (ตอ่ ) บรรณานุกรม หนา้ คณะผจู้ ัดทำ 60 62

1 บรบิ ทของจังหวดั อำเภอ ชมุ ชน ประวตั ิความเป็นมาของจงั หวดั สุพรรณบรุ ี สุพรรณบุรี เป็นเมืองโบราณ พบหลักฐานทาง โบราณคดี มีอายุไม่ต่ำกว่า 3,500 - 3,800 ปี โบราณวตั ถุท่ีขุดพบมีท้ังยุคหินใหม่ ยุคสัมฤทธิ์ ยุคเหล็ก และสืบทอดวัฒนธรรมตอ่ เนื่องมาตั้งแต่ สมัยสุวรรณ ภมู ิ ฟูนนั อมราวดี ทวารวดี ศรวี ชิ ัย สุพรรณบุรี เดิมมีชื่อ \"ทวารวดศี รสี ุพรรณภมู ิ หรือ \"พันธุมบุรี\" ตั้งอยบู่ นฝ่ัง แม่น้ำท่าจีน แถบ บริเวณตำบลรั้วใหญ่ไปจดตำบลพิหารแดง ต่อมาพระเจ้ากาแตได้ย้ายเมืองมาต้ังอยูท่ ี่ฝ่ังขวา ของแม่น้ำ แล้วโปรดให้มอญน้อยไปสร้างวัดสนามชัย และบูรณะวัดป่าเลไลยก์ ชักชวนให้ข้าราชการจำนวน 2000 คนบวช จึงขนานนามเมอื งใหม่ว่า \"เมืองสองพันบุรี\" คร้ังถึงสมยั พระเจ้าอู่ทอง ได้สร้างเมืองมาทางฝ่ังใต้ หรือทางตะวันตกของแม่นำ้ ทา่ จนี ชือ่ เมอื งเรยี กวา \"อทู่ อง\" จวบจนสมยั ขุนหลวงพะงั่ว เมืองจึงถูก เรียกวา่ ช่ือ ว่า \"สุพรรณบุรี\" นับแต่น้ันมา ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองสุพรรณบุรี เป็นเมืองหน้าด่านและเป็น เมืองอ่ขู า้ วอูน่ ำ้ ทสี่ ำคญั ตอ้ งผา่ นศึกสงครามหลายตอ่ หลายครงั้ สภาพเมือง ตลอดจนประวตั ิศาสตร์โบราณ สถาน ถูกทำลาย ปรกั หักพัง จนกระท่ังถึงสมัยรตั นโกสินทร์ เมอื ง สพุ รรณไดฟ้ ื้นตัว และต้ังอยูบ่ นฝ่งั ตะวันออก ของแม่ น้ำท่าจีน (ลำน้ำสุพรรณ) มาจนตราบทุกวันน้ี ความสำคัญของสุพรรณบุรี ในด้านประวัติศาสตร์ การกอบกู้เอกราชไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ชัยชนะ แห่งสงครามยุทธหัตถีทีส่ มเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงมีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา ณ สมรภูมิดอน เจดีย์ เป็นมหาวีรกรรมคชยุทธอนั ยิ่งใหญ่ท่ไี ด้ถูกจารึกไว้ และมีการจัดงานเพื่อเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ทุก ปีเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ ในด้านวรรณคดี เป็นเมืองต้น กำเนดิ แห่งตำนาน \"ขุนชา้ งขนุ แผน\" วรรณคดี ไทยเร่อื งราวและสถานท่ีทปี่ รากฏตามท้องเร่ืองยังคงมใี ห้เห็นใน ปัจจุบัน อาทิบ้านร้ัวใหญ่ วัดเขาใหญ่ ท่าสิบเบ้ีย ไร่ฝ้าย วัดป่าเลไลยก์ วัดแค อำเภออู่ทอง และอำเภอศรี ประจันต์ เป็นต้น สุพรรณบุรี ดนิ แดนแหง่ ความอุดมสมบูรณ์บนพื้นที่ราบภาคกลางสืบสานความเจริญรุ่งเรอื ง มาตั้งแต่ อดตี เมอื่ พ.ศ. 1420 จากนามเดิม เมืองพันธมุ บุรี ในยคุ ทวารวดตี ามหลกั ฐานทางโบราณคดี ได้จารึก ชื่อไว้ในพงศาวดารเหนือและนาม \"สุพรรณภูม\"ิ ปรากฏในศิลาจารกึ พอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราชระบวุ ่าเป็นนครรัฐ ทม่ี ีความสำคัญมาก่อนกรุงศรีอยธุ ยา เม่ือมีการสถาปนากรงุ ศรีอยุธยา เมืองสุพรรณบุรี จึงจัดอยู่ในฐานะเมือง ลกู หลวง ซ่งึ เป็นเมืองอูข่ ้าวอูน่ ำ้ ทส่ี ำคญั อีกด้วย นับเป็นส่ิงมหัศจรรย์และเปรียบเสมือนการย้อนกลับไปสู่อดีตที่จังหวัดสุพรรณบุรีได้เป็น ศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองด่ังเช่นในอดีต ทั้งความเป็นพาณิชย์ เมืองเกษตร เป็นศูนย์การศึกษา เป็น ศูนย์กลางทางด้านศาสนา วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ฯ ลฯ อันล้วนเป็นความ ภาคภูมิใจท่ีเหล่าข้าราชการและประชาชน ต้องมีความรักและผูกพันกันช่วยกันจรรโลงรักษาสุพรรณบุรี สุพรรณบรุ แี หง่ ความจงรักภักดใี ห้เปน็ เกยี รตแิ ละศักดศิ์ รขี องประเทศชาตบิ ้านเมืองไทยสืบไป

2 ข้อมูลอำเภอบางปลาม้า ทีม่ าของชื่อ \"อำเภอบางปลาม้า\"จากการสอบถามผอู้ าวโุ ส และผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ไดค้ วามว่าเดิม บริเวณลุ่มนำ้ ท่าจนี ต้งั แต่ตอนใต้ตลาดเก้าหอ้ งลงมาจนถึงคุ้งตาเพชร ตำบลวังตาเพชร เปน็ ลุ่มนำ้ นำ้ ในหว้ ย หนอง คลอง บึง ไหลมารวมกนั ในแมน่ ้ำ จงึ เปน็ บริเวณที่มีปลาชุกชมุ โดยเฉพาะปลามา้ มีมากกว่าบริเวณ อ่นื ๆ เมื่อกำหนดเขตสรา้ งทีว่ ่าการอำเภอขน้ึ พ.ศ.2440 บริเวณดงั กล่าวจึงให้ช่อื ว่า\"อำเภอบางปลาม้า\" ตอ่ มา ในปี พ.ศ.2442 ไดเ้ กิดเพลงิ ไหม้ทีว่ า่ การอำเภอ (อาคารไมห้ ลังคามุงจาก)ประกอบกบั ที่ต้ังอยรู่ มิ ฝง่ั แมน่ ำ้ ถกู นำ้ กัดเซาะตลอดเวลา จึงได้ย้ายมาต้ังใหมท่ ี่ หมู่ที่ 5 ต.โคกคราม เมอื่ ปี พ.ศ.2504 สมยั นายตอม พร หมายน นายอำเภอคนที่ 25 ส่วนช่อื ก็ยังคงใช้ช่อื เดิม อำเภอบางปลาม้าจนถงึ ปจั จุบัน ท่ีตงั้ และอาณาเขต อำเภอบางปลาม้ามอี าณาเขตตดิ ต่อกบั อำเภอข้างเคียง ดังน้ี • ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับอำเภอเมืองสุพรรณบุรี • ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับอำเภอผกั ไห่และอำเภอบางซ้าย (จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา) • ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั อำเภอสองพีน่ ้อง • ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับอำเภออู่ทอง การปกครองส่วนภมู ิภาค อำเภอบางปลาม้าแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 14 ตำบล 127 หมบู่ ้าน ได้แก่ 1. ตำบลโคกคราม (Khok Khram) จำนวน 12 หมบู่ ้าน 2. ตำบลมะขามล้ม (Makham Lom จำนวน 14 หมบู่ า้ น 3. ตำบลไผ่กองดิน (Phai Kong Din) จำนวน 8 หมู่บ้าน 4. ตำบลบางใหญ่ (Bang Yai) จำนวน 8 หมู่บ้าน 5. ตำบลวัดดาว (Wat Dao) จำนวน 11 หม่บู ้าน 6. ตำบลสาลี (Sali) จำนวน 8 หมู่บ้าน 7. ตำบลจรเข้ใหญ่ (Chorakhe Yai) จำนวน 8 หมู่บ้าน 8. ตำบลวัดโบสถ์ (Wat Bot) จำนวน 11 หมู่บ้าน 9. ตำบลกฤษณา (Kritsana) จำนวน 7 หมู่บ้าน 10. ตำบลตะค่า (Takha) จำนวน 9 หมู่บา้ น 11. ตำบลบางปลาม้า (Bang Pla Ma)) จำนวน 12 หมูบ่ ้าน 12. ตำบลองครกั ษ์ (Ongkharak) จำนวน 7 หมู่บ้าน 13. ตำบลบา้ นแหลม (Ban Laem) จำนวน 5 หมบู่ ้าน 14. ตำบลวังน้ำเยน็ (Wang Nam Yen) จำนวน 7 หมบู่ ้าน

3 การปกครองสว่ นท้องถน่ิ อำเภอบางปลาม้า แบ่งการปกครองออกเปน็ 6 เทศบาล 12 อบต. ดงั นี้ เทศบาล 6 แหง่ 1 เทศบาลตำบลโคกคราม ครอบคลมุ พน้ื ท่ี หมู่ 5 และหมู่ 10 บางส่วนของตำบลโคกคราม 2 .เทศบาลต้นคราม ครอบคลมุ พนื้ ท่ี หมู่ 1, 2, 3, 4, 6, 7, 8, 9, 10 บางส่วน หมู่ 11, 12 3 เทศบาลตำบลบางปลามา้ ครอบคลมุ พนื้ ท่บี างสว่ นของตำบลบางปลาม้า 4 เทศบาลตำบลบา้ นแหลม ครอบคลุมพน้ื ทีบ่ างสว่ นของตำบลบ้านแหลม 5 เทศบาลตำบลไผ่กองดนิ ครอบคลุมพ้ืนที่ หมู่ 3,4 6 เทศบาลตำบลตะค่า ครอบคลุมพื้นท่ีบางสว่ นของตำบลตะค่า องคก์ ารบริหารส่วนตำบล 12 แหง่ 1. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลบ้านแหลม 2. องค์การบริหารส่วนตำบลบางปลามา้ 3. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบางใหญ่ 4. องค์การบริหารสว่ นตำบลสาลี 5. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลไผก่ องดนิ 6. องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลจรเขใ้ หญ่ 7. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลกฤษณา 8. องค์การบริหารสว่ นตำบลมะขามลม้ 9. องคก์ ารบริหารส่วนตำบลวงั น้ำเยน็ 10. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลวดั โบสถ์ 11 องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลวดั ดาว 12. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลองครกั ษ์ สภาพพื้นที่ทัว่ ไป อำเภอบางปลาม้า ตง้ั อยู่ทางทศิ ใตข้ องจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ระยะทางหา่ งจากจังหวดั สุพรรณบุรี 10 กโิ ลเมตร ระยะทางหา่ งจากกรุงเทพฯ ประมาณ 100 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดนิ สาย 340 มีพืน้ ท่ที ั้งหมด 482.83 ตารางกโิ ลเมตร มีแมน่ ำ้ ท่าจีนไหลผา่ น สภาพพืน้ ทีท่ ั่วไปเป็นท่ีราบลุม่ ดนิ ดี มคี ู คลองจำนวนมากเหมาะแกก่ ารทำการเกษตรกรรม แต่ในระหว่างช่วงเดือนสงิ หาคม - ธันวาคม ของทกุ ปจี ะมีนำ้ ท่วมขงั

4 ประชากรและอาชพี การเมืองการปกครอง อำเภอบางปลาม้า มีลักษณะการปกครองทอ้ งท่ีออกเป็น 14 ตำบล 127 หมู่บา้ น และมี องคก์ ารบริหารสว่ นตำบล 12 แห่ง และเทศบาลตำบล 6 แห่ง มปี ระชากร 77,764 คน เปน็ ชาย 37,848 คน เป็นหญงิ 40,216 คน มีครวั เรือนท้ังส้นิ 19,894 ครัวเรอื น ความหนาแน่นของประชากร เฉล่ยี ต่อพน้ื ท่ี 18.7 คน / ตร.กม. (ขอ้ มลู ปี 2559) สว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การทำนา ประมาณรอ้ ยละ 70 การเลย้ี งปลานยิ มเล้ยี งในพื้นทีต่ ำบลมะขามล้มและการเลย้ี งกุง้ กา้ มกรามมเี ล้ียงกนั มาก ในแถบตะวันออก ไดแ้ ก่ ตำบลสาลี ตำบลตะคา่ ตำบลไผ่กองดนิ และตำบลองครกั ษ์ ขอ้ มูลการปกครองและประชากรอำเภอบางปลามา้ ตำบล จำนวนหมู่บา้ น ชาย หญิง รวม ครอบครัว โคกคราม 12 3,423 3,739 7,162 2,846 มะขามล้ม 14 2,286 2,783 4,769 1,275 ไผ่กองดิน 8 3,232 3,405 6,637 2, ,631 บางใหญ่ 8 2,219 2,241 4,460 996 วดั ดาว 11 2,937 3,128 6,065 1, ,868 สาลี 8 3,409 3,627 7,036 2,475 จระเข้ใหญ่ 8 2,303 2,353 4,656 1,293 วัดโบสถ์ 11 2,328 2,485 4,813 1,374 กฤษณา 7 1,924 1,978 3,902 1,150 ตะค่า 9 2,667 2,892 5,559 1,251 บางปลามา้ 12 4,353 4,353 8,706 2,115 องครักษ์ 7 2,504 2,713 5,217 2,284 บา้ นแหลม 5 1,464 1,656 3,120 1,437 วงั น้ำเย็น 7 2,799 2,863 5,662 1,398 127 37,848 40,216 77,764 19,894 รวม

5 พื้นทีแ่ ละการใช้ประโยชน์ พืน้ ท่ี 301,846 ไร่ เป็นพน้ื ทใี่ ชท้ ำการเกษตร จำนวน 278,002 ไร่ การถือครองที่ดิน การออกเอกสารสิทธใิ หแ้ กร่ าษฎร ดังน้ี - โฉนดที่ดิน จำนวน 25,600 แปลง - หนงั สือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3) จำนวน 589 แปลง เนื้อที่ 1,757 ไร่ 40 ตารางวา - หนงั สอื สำคัญสำหรับทีห่ ลวง (น.ส.ล) จำนวน 45 แปลง เนอ้ื ท่ี 1,933 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา ลักษณะภมู ิอากาศ สภาพพน้ื ที่ทั่วไปเปน็ ที่ราบลุม่ มีแมน่ ้ำท่าจนี ไหลผา่ นและมคี ู คลอง จำนวนมาก ระหวา่ ง เดือนสิงหาคม – ธันวาคม ของทกุ ปี จะมนี ้ำทว่ มพนื้ ทีร่ ิมแม่นำ้ ท่าจนี ภมู อิ ากาศ ลักษณะเป็นแบบลมมรสุม มี 3 ฤดู ฤดรู ้อน ตงั้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน ฤดูฝน ต้งั แตเ่ ดอื นพฤษภาคม – ตลุ าคม ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-กมุ ภาพันธ์ ศาสนา มีสถาบันหรือองค์กรทางศาสนา วัด จำนวน 75 แหง่ วดั รา้ ง จำนวน 24 แหง่ ศาลเจ้า จำนวน 3 แหง่ ประชาชนสว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ คิดเปน็ รอ้ ยละ 95 ประชาชนนับถอื ศาสนาอ่นื ๆ คิดเป็นร้อยละ 5 สว่ นราชการสังกัดส่วนภูมภิ าค จำนวน 10 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. ที่ทำการปกครองอำเภอ 2. พฒั นาการอำเภอ 3. สสั ดีอำเภอ 4. ที่ดินอำเภอ 5. สาธารณสขุ อำเภอ 6. เกษตรอำเภอ 7. สถานตี ำรวจภูธรอำเภอบางปลามา้ 8. ปศุสัตวอ์ ำเภอ 9. ประมงอำเภอ 10. ทอ้ งถิน่ อำเภอ

6 สว่ นราชการที่ขึ้นตรงตอ่ ส่วนกลางโดยมที ่ตี ้ังอยใู่ นเขตอำเภอ จำนวน 4 หนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย 1. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลาม้า 2. สรรพากรพน้ื ท่สี าขาบางปลาม้า 3. โรงพยาบาลบางปลามา้ 4. สำนกั งานหมวดการทางบางปลามา้ การศกึ ษา 1. สถานศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษา 3 แห่ง 1. โรงเรยี นบางปลามา้ “สูงสมุ ารผดุงวิทย์” 2. โรงเรียนหรรษาสจุ ติ ต์วิทยา 2 3. โรงเรียนบางแม่หมา้ ยรฐั ราษฎรร์ ังสฤษฏ์ 2. สถานศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา จำนวน 54 แหง่ 3. ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ จำนวน 23 แหง่ รัฐวสิ าหกิจ จำนวน 4 แหง่ 1. สำนกั งานการไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าคอำเภอบางปลามา้ 2. ธนาคารออมสิน สาขาบางปลาม้า 3. ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณก์ รการเกษตร สาขาบางปลามา้ 4. สำนักงานไปรษณยี อ์ ำเภอบางปลามา้ ธนาคาร จำนวน 3 แห่ง 1. ธนาคารออมสนิ สาขาบางปลาม้า (รัฐวิสาหกิจ) 2. ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร (รฐั วิสาหกิจ) 3. ธนาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา จำกัด (มหาชน) (เอกชน) โครงสรา้ งพ้ืนฐาน ไฟฟ้า สำนกั งานการไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าคอำเภอบางปลาม้า 1 แหง่ ประปา - การประปาส่วนภมู ภิ าค จำนวน 3 แห่ง - การประปาหมบู่ ้าน จำนวน 73 แหง่ (กรมอนามัย 35 แห่ง รพช. 2 แหง่ โยธาธิการ 2 แหง่ กรมทรัพย์ 21 แหง่ และอื่น ๆ 13 แหง่ ) - บ่อน้ำต้ืน จำนวน 5 บอ่ (กรมอนามยั 5 บ่อ) - ภาชนะเกบ็ น้ำสะอาดขนาดใหญ่ จำนวน 89 แหง่ (ฝ.99 จำนวน 3 แห่ง ฝ.33 จำนวน 61 แหง่ ฝ.30 จำนวน 5 แห่ง และอื่น ๆ จำนวน 20 แหง่ )

7 โทรศัพท์ การโทรคมนาคมตดิ ต่อสอื่ สาร ส่อื สารโทรศัพทร์ วมทีโ่ ทรศพั ท์จงั หวัดสุพรรณบรุ ี - ชุมสายโทรศัพท์บางปลามา้ 1,524 เลขหมาย - ชมุ สายโทรศัพท์สาลี 235 เลขหมาย - หอกระจายข่าว 122 หมู่บ้าน 6 เทศบาล การคมนาคมทางบก 1. ทางหลวงแผน่ ดินสายสพุ รรณ – บางบวั ทอง (สาย 340) 2. ทางหลวงแผน่ ดนิ สายสพุ รรณ – บางล่ี 3. ทางหลวงแผน่ ดนิ สายเก้าหอ้ ง - ดอนแจง 4. ทางหลวงชนบท 5. ถนนลูกรังติดตอ่ ระหว่างตำบลและหมูบ่ ้าน การคมนาคมตดิ ต่อระหว่างอำเภอจังหวดั และจังหวดั ใกล้เคยี ง รวมท้งั การคมนาคมภายในตำบลและหมูบ่ า้ น ทางเรอื มีบางหมู่บ้านใชเ้ รอื พายติดต่อระหวา่ งหมูบ่ า้ น ไมม่ ี ท่าเรอื สำคัญ ทางอากาศ ไม่มี แหล่งน้ำ แม่น้ำทา่ จนี ไหลผ่าน จำนวน 1 สาย คลองชลประทานจำนวนมาก เศรษฐกจิ อาชพี หลกั ประมาณรอ้ ยละ 57 % 1. เกษตรกร ทำนา ประมาณรอ้ ยละ 3 % 2. พืชผลการเกษตร ประมาณรอ้ ยละ 35 % 3. เลย้ี งสัตว์ ประมาณรอ้ ยละ 5 % 4. อาชพี อืน่ พืชเศรษฐกจิ 1. ข้าวนาปี พ้นื ที่ 171,700 ไร่ ผลผลติ เฉลีย่ 850 กก./ไร่ 2. ไม้ผล/ไมย้ นื ตน้ 5,816 ไร่ 3. พชื ผกั 1,006 ไร่ 4. ทำการเกษตร 5 ไมด้ อกไม้ประดบั 213,381 ไร่ 85 ไร่

8 สัตว์เศรษฐกิจ จำนวน 2,066 ราย ไกพ่ ืน้ เมอื ง จำนวน 102 ราย ไกเ่ นื้อ จำนวน 146 ราย เป็ดเทศ จำนวน 89 ราย เปด็ เน้ือ จำนวน 78 ราย เป็ดไข่ จำนวน 144 ราย สกุ ร จำนวน 205 ราย โคเนื้อ จำนวน 17 ราย โคนม จำนวน 1 ราย กระบอื จำนวน 7 ราย แพะ จำนวน 43 ราย ไก่ไข่ จำนวน 10 ราย นกกระทา อตุ สาหกรรม 1. โรงสขี ้าว 29 แหง่ 2. โรงเล่ือยจักร 2 แห่ง 3. โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก 6 แหง่ สหกรณ์ จำนวน 3 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรบางปลาม้า จำกดั มีทุนหมุนเวยี นปลี ะ ประมาณ 295,536,085.41 บาท สมาชกิ 6,894 คน 2. สหกรณ์ประมงน้ำจดื จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จำกดั มีทุนหมนุ เวียนปีละประมาณ 136,418.76 บาท สมาชกิ 179 คน 3. สหกรณ์บรกิ ารวสิ าหกิจชุมชน ตำบลสาลี จำกดั สมาชกิ 40 คน การพฒั นาชมุ ชน 1. กลุ่มออมทรพั ย์ 58 กลุ่ม 2. หม่บู ้านตามโครงการแกไ้ ขปัญหาความยากจน 21 หม่บู ้าน 3. ศูนยส์ าธิตการตลาด 2 แห่ง 4. โครงการกองทุนหมู่บ้าน 127 กองทุน

9 5. กลมุ่ อาชพี 14 กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ดร้ ับรางวลั และเปน็ ท่ีสนใจ ดงั นี้ - กลมุ่ ไม้กวาดใยมะพรา้ ว หมู่ท่ี 4 ตำบลบางใหญ่ - กลมุ่ จกั สานหวายและไม้ไผ่ หมทู่ ่ี 3 ตำบลบางปลาม้า - กลมุ่ ไข่เค็ม บ้านวดั โบสถ์ หมูท่ ี่ 6 , 10 ตำบลมะขามลม้ - กลมุ่ ขนมหวาน หมทู่ ี่ 9 ตำบลโคกคราม บา้ นลำบัว หมทู่ ่ี 5 ตำบลไผก่ องดิน บ้านบ่อหวั กรวด 6. อาสาพัฒนาชมุ ชน (อช) 484 คน 7. คณะกรรมการพัฒนาสตรีหมบู่ า้ น (กพสม.) 125 คณะ 8. คณะกรรมการพฒั นาสตรตี ำบล (กพสต.) 14 คณะ 9. คณะกรรมการพัฒนาสตรอี ำเภอ (กพสอ.) 1 คณะ การสาธารณสุข 1. โรงพยาบาลชุมชน 60 หอ้ ง 1 แห่ง แหง่ 2. โรงพยาบาลสาขา (บางใหญ่) 1 แหง่ รา้ น 3. สถานอี นามยั 17 ร้าน ร้าน 4. ร้านขายยาแผนปัจจบุ ัน 7 รา้ น 5. รา้ นขายยาบรรจเุ สรจ็ 19 6. รา้ นขายยาแผนปจั จุบันบรรจเุ สรจ็ สำหรับสัตว์ 2 7. รา้ นขายยาแผนโบราณ 5 ข้อมูลสถานสุขภาพ สาเหตุการปว่ ยของผปู้ ว่ ยนอก 3 อันดับแรก 1. โรคระบบหายใจ 2. โรคระบบไหลเวยี นเลือด 3. โรคระบบย่อยอาหาร ความปลอดภัย 1. สถานตี ำรวจภูธรอำเภอบางปลาม้า 1 แหง่ 2. จุดตรวจจุดสกัด 11 แห่ง ศนู ย์จราจร 1 แห่ง (สามแยกวงั ตาเพชร หมทู่ ี่ 8 ตำบลบางปลามา้ 3. อปพร. 414 คน 4. ทสปช. 1,207 คน 5. สส.ชบ. 3,403 คน 6. กนช. 113 คน

10 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม สภาพดนิ เหนียวเหมาะสำหรบั ปลกู ข้าวและพืชไร่ 1. ทรพั ยากรดนิ มีลำคลองในตำบลหมู่บา้ นจำนวนมากทำใหม้ ีน้ำเพือ่ เกษตร 2. ทรัพยากรนำ้ อยา่ งทวั่ ถงึ และเพียงพอในการปลูกข้าวและพืชไร่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี อำเภอบางปลาม้า มีวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่สำคญั ดังน้ี ประเพณีทำบญุ วันข้ึนปใี หม่ ประเพณที ำบญุ วนั ขน้ึ ปใี หม่ อำเภอบางปลาม้า จดั ใหม้ กี ารทำบุญวนั ขึน้ ปใี หม่ ในวันท่ี 1 มกราคม ของทุกปี โดยมกี ารนมิ นต์พระรบั บณิ ฑบาตขา้ วสาร อาหารแห้งจากประชาชนในเขตอำเภอบางปลาม้า บริเวณริมเขอื่ นหนา้ ที่ว่าการอำเภอบางปลาม้า ประเพณีแขง่ ขนั เรือยาวชงิ ถ้วยพระราชทานฯ ประเพณีแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน เป็นการแข่งขันเปน็ เรือยาวทชี่ นะการแขง่ ขันจาก สนามท่วั ประเทศมาแล้ว เขา้ รว่ มการแข่งขันชิงถ้วยพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จะแขง่ ขนั ในสปั ดาห์ที่สาม ของเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ณ ลำน้ำท่าจนี หน้าวดั สวนหงส์ หมูท่ ี่ 8 ตำบล บางปลาม้า ประเพณบี ญุ บัง้ ไฟชาวไทยพวน ประเพณีบุญบง้ั ไฟชาวไทยพวน เป็นประเพณีชาวไทยพวน เป็นการประกวดแขง่ ขันบั้งไฟของ หมบู่ ้านชาวไทยพวนท่ีอย่ใู นอำเภอบางปลาม้า เพื่อการสนุกสนาน สามคั คี และเปน็ การอนรุ กั ษ์ประเพณีของชาว ไทยพวน ซึ่งจะจดั เป็นประจำทกุ ปี ในชว่ งวันที่ 11-13 เมษายน ณ เทศบาลบางปลามา้ (บ้านเกา้ ห้อง) ตำบล บางปลามา้ ประเพณตี กั บาตรกลางนำ้ ประเพณีตกั บาตรกลางนำ้ ประเพณตี กั บาตรกลางนำ้ จะมขี น้ึ ในแรม 12 คำ่ เดือน 12 มชี าวบ้าน มารว่ มกนั ตกั บาตรข้าวสาร อาหารแห้ง มรี าษฎรในตำบลและตำบลใกล้เคียงมารว่ มตกั บาตรในตอนเช้าประมาณ 6 โมงเช้ามพี ระสงฆ์พายเรอื มาจากหลายวัดมารบั บิณฑบาต โดยจัดใส่บาตรท่ีแพหน้าวดั ปา่ พฤกษ์ เสร็จมกี ารแขง่ ขนั กีฬา ฟุตบอลเยาวชนแต่ละหมูบ่ า้ น

11 สถานทส่ี ำคัญ อำเภอบางปลาม้า มีสถานที่สำคัญ ๆ ดงั น้ี วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ เป็นวดั ที่เก่าแก่ ชาวบ้านให้ความศรทั ธาและเลื่อมใส ซึง่ มพี ระครูคุณารักษ์ (หลวงพอ่ ปลมื้ ) เป็นเจา้ อาวาส เปน็ พระเกจิอาจารย์ด้านพระพทุ ธคณุ ท่ีชาวอำเภอบางปลาม้าและใกล้เคียง ใหค้ วามเคารพนบั ถอื ศรัทธาในตวั พระคุณทา่ น วดั ดอกบวั วดั ดอกบัว เป็นวัดทเ่ี ปน็ ท่ีตง้ั ของห้องสมดุ เจดยี ์ที่สวยงามและมหี นงั สอื ท่ีน่าสนใจเปน็ จำนวนมาก วดั อาน วดั อาน มีหลวงพอ่ จันทรงั ษีเป็นท่ีสักการะของประชาชนท่วั ไป วัดบางเลน วดั บางเลน เปน็ วดั ท่ีมอี ุโบสถ์สวยงาม มีพระทเ่ี ป็นท่ีเคารพนับถือของชาวบา้ นอยู่ห่างจากจังหวัด ประมาณ 24 กม. ภายในบรเิ วณวัดมคี า้ งคาวแมไ่ ก่อยูเ่ ปน็ จำนวนมากอาศัยเกาะอยู่ตามตน้ ไม้ อทุ ยานมจั ฉา วัดปา่ พฤกษ์ อุทยานมัจฉาวัดปา่ พฤกษ์ ทหี่ นา้ วัดป่าพฤกษ์มีปลาธรรมชาติทท่ี างวดั สงวนพันธป์ุ ลาไว้ ไมใ่ หบ้ ุคคล ใดมาจับปลาและทางวัดได้ให้อาหารเพอ่ื ทำเปน็ แหล่งท่องเท่ยี วใหป้ ระชาชนได้มาพักผอ่ นหย่อนใจ มพี ันธุ์ปลามากมาย หลายชนิดโดยเฉพาะปลาสวายตวั ละหลายกโิ ลกรัม ประมาณหลายรอ้ ยตวั และปลาอื่น ๆ รวมหลายพันตัวมี นักทอ่ งเทยี่ วมากมายหลายพน้ื ทมี่ าเทีย่ วและให้อาหาร วงั มจั ฉา วัดสาลี วงั มัจฉา วดั สาลี เป็นอทุ ยานมัจฉา มีปลามากมายบริเวณคลองหนา้ วดั เชน่ ปลาสวย ปลากราย ปลาเทโพ เปน็ ตน้ วัดวงั น้ำเย็น วัดวงั นำ้ เยน็ เปน็ วดั เกา่ แก่ของตำบลวงั นำ้ เย็น เปน็ ท่ีตัง้ ของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ วงั นำ้ เยน็ เป็นแหลง่ รวมใจของชาวบา้ น

12 ข้อมูลศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางปลาม้า จดั ต้งั เม่อื ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลามา้ ได้ประกาศ จัดต้ังเมื่อวนั ที่ 27 สงิ หาคม พ.ศ.2536 ท่ีตั้ง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางปลาม้า ต้งั อยใู่ นศูนยร์ าชการ อำเภอบางปลาม้า ติดกับทวี่ า่ การอำเภอ สถานตี ำรวจภูธร สำนักงานสาธารณสขุ สำนักงานเทศบาลตำบลโคก คราม สำนักงานเกษตรอำเภอ อยูห่ า่ งถนนสพุ รรณบุรี -บางปลาม้า ประมาณ 500 เมตร ทิศตะวันออกของแม่ นำ้ ทา่ จีน อาคารทท่ี ำการ เป็นอาคารคอนกรตี 2 ช้นั สงั กดั ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลาม้า สังกดั สำนักงานสง่ เสริม การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดสพุ รรณบุรี สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประวัติ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า กรมการศึกษานอกโรงเรยี น (กศน.) จดั ตง้ั ข้นึ เมอื่ วนั ท่ี 24 มนี าคม 2552 เป็นกรมหนึง่ ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมรี ากฐานทม่ี น่ั คงมาจาก “ การศึกษาผู้ใหญ่ ” ซ่งึ เริ่มต้นตัง้ แต่ช่วง ปลายทศวรรษของปี 2474 เปน็ ตน้ ไป เมอ่ื รัฐบาลไดต้ ระหนกั ถงึ ความจำเป็นทจ่ี ะต้องจัดการศึกษา ในรปู แบบอ่นื เพ่ือยกระดบั อัตราการรู้ หนังสอื ซึ่งขณะนัน้ อตั ราการรู้หนังสือของประชากรท่มี อี ายุต้ังแต่ 20 ปขี นึ้ ไป มีเพียงรอ้ ยละ 42 ในปี 2483 รัฐบาลจึงไดจ้ ัดตัง้ กองการศกึ ษาผู้ใหญ่ขน้ึ ในสำนกั ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพ่อื รบั ผิดชอบงานการศึกษาผูใ้ หญโ่ ดยตรง และได้ริเร่มิ โครงการรณรงค์เพือ่ การรู้หนังสอื ทัว่ ประเทศพรอ้ มกับ ประกาศใชก้ ฎหมายบังคับใหป้ ระชาชนผู้ไม่ร้หู นังสอื ทม่ี ีอายรุ ะหว่าง 20 - 45 ปี เสียคา่ เลา่ เรียนเปน็ รายปี จนกวา่ จะผา่ นการทดสอบว่าเปน็ ผรู้ ู้หนงั สอื แลว้ โครงการรณรงคฯ์ ดังกลา่ วประสบความสำเร็จพอสมควรแต่ ต้องหยุดชะงกั ไปเน่ืองจากภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2 ในชว่ งระหว่าง 2513 - 2523 ภารกิจการดำเนนิ งานของการจัดการศกึ ษาผใู้ หญ่ได้ขยายตัวและมี บทบาทหนา้ ทเี่ พ่ิมมากขนึ้ จนได้มีการตั้งกรมการศึกษานอกโรงเรียนเพอ่ื จดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น สำหรับ ประชาชนทั่วไปท่ีพลาดและขาดโอกาสทางการศกึ ษาใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ปัจจุบันมีฐานะเป็น สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สงั กดั สำนักปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ งานการศึกษานอกระบบ เปน็ งานท่ีมขี อบขา่ ยกว้างขวางครอบคลุมพ้ืนทที่ ่วั ประเทศมกี ิจกรรมท่ี หลากหลายรูปแบบสำหรับใหบ้ ริการแกป่ ระชาชนทวั่ ไป โดยเฉพาะประชาชนท่อี ยนู่ อกระบบได้มโี อกาสรบั การศึกษาและการพัฒนาตามสภาพความพร้อมได้อย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษานอกตามอัธยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวง ศึกษาธิการ มจี ดุ มุ่งหมายในการจัดการศกึ ษาให้ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ิตและความเปน็ อยู่ทด่ี ีข้นึ โดยใหบ้ ริการ

13 ทางการศึกษาไดห้ ลากหลายรปู แบบ ได้แก่ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานนอกระบบ การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชีพ การศึกษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและชุมชน การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ิต และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ซึง่ สามารถ เลอื กเรยี นได้ตามความต้องการ และความเหมาะสมกับสภาพความพรอ้ มของตนเอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า เป็นสถานศึกษาในราชการ ส่วนกลาง สงั กัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (เดิมคอื สำนักบริหารงาน การศึกษาโรงเรียน) ได้รับจัดตั้งโดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เม่ือวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2536 ต่อมา กรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้มีคำสั่งท่ี 94/2537 ลงวันที่ 18 มกราคม 2537 แต่งตั้งนายสมพงษ์ เคนผา พงษ์ ตำแหน่งอาจารย์ 2 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดสุพรรณบุรี มาปฏิบัติราชการในหน้าท่ี ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า ตั้งแต่วันท่ี 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา โดยใช้อาคารห้องสมุดประชาชนอำเภอบางปลาม้า เป็นท่ีปฏิบัติงานซ่ึง ค่อนข้างคับแคบ ไม่พอเพียงต่อการปฏิบัติงาน ไม่สะดวกต่อผู้มาติดต่อประสานงาน ต่อมาในปีงบประมาณ 2543 ได้รับการจัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคารอำนวยการโดยได้รับการสนับสนุนเป็นอาคารคอนกรีตสอง ชน้ั และในปี พ.ศ. 2545 นายชูชีพ เปล่งอารมณ์ ได้รับการแตง่ ตั้งให้มาดำรงตำแหน่งผ้บู ริหาร ในปี พ.ศ. 2548 นายมนตรี ศรีบัวทอง ได้รับการแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งผู้บริหารถึงวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2553 นายสมพงษ์ เคนผาพงษ์ ได้รับการแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งผู้บริหารถึงวันท่ี 30 กนั ยายน 2557 วันท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2558 นางบญุ ปลูก สัจจะเวทะ ไดร้ ับการแต่งต้ังให้มาดำรงตำแหน่งผบู้ ริหารจนถงึ ปัจจบุ ัน

14 ท่ีต้ังศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปลามา้ 1.  ศนู ย์ กศน.บางปลาม้าแมน่ ้าท่าจีนไไปwx;yf,IU:IIIไปสุพรรณบุรี ไปสุพรรณบรุ ี 2.  3.  4.  5.     ไปคอวัง / บางแม่หมา้ ย  ถนนหมายเลข 340 ไปกรุงเทพฯ แม่น้าท่าจีน   หมายเหตุ 1. ศูนย์ กศน.อาเภอบางปลามา้ 2. ทว่ี ่าการอาเภอบางปลาม้า 3. เทศบาลตาบลโคกคราม 4. สถานตี ารวจภธู รอาเภอบางปลาม้า 5. สาธารณสุขอาเภอบางปลาม้า

15 ประเภทขององคก์ ร เป็นองคก์ รหลักในการจดั การกระบวนการเรียนรู้เพ่ือให้เกดิ สงั คม แหง่ การเรยี นรู้และ การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื โดยใช้รปู แบบการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จำนวนบคุ ลากร ประเภทบุคลากร จำนวน ระดบั การศึกษาสงู สุด ผู้บรหิ าร รวม ชาย หญิง ต่ำกว่า ป.ตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก ข้าราชการครู พนกั งานราชการ 1 -1 - -1 - ครู ศรช. บรรณรกั ษอ์ ตั ราจ้าง 4 22 - 4- - พนกั งานบริการ 17 3 14 - 18 - - 3 12 - 2- - 1 -1 - 1 1 1- 1 1- - กศน.ตำบล ท่ีได้รับการแตง่ ต้ัง จำนวน 14 แห่ง ที่ ชอื่ กศน.ตำบล ทอ่ี ยู่ 1. กศน.ตำบลโคกคราม ตง้ั อยทู่ ี่วัดวดั กลาง หมู่ 6 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 2. กศน.ตำบลมะขามลม้ ตั้งอยทู่ ี่ หมู่ 7 ตำบลมะขามล้ม อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 3. กศน.ตำบลไผก่ องดิน ต้งั อยู่ที่ หมู่ 3 ตำบลไผก่ องดิน อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี 4. กศน.ตำบลบางใหญ่ ตง้ั อยู่ทห่ี มู่ 4 ตำบลบางใหญ่ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสพุ รรณบุรี 5. กศน.ตำบลวัดดาว ตง้ั อยูท่ ี่วัดดาว หมู่ 4 ตำบลวดั ดาว อำเภอบางปลาม้า จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 6. กศน.ตำบลสาลี ตง้ั อยู่ที่ หมู่ 2 ตำบลสาลี อำเภอบางปลาม้า จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 7. กศน.ตำบลจรเข้ใหญ่ ตงั้ อยทู่ ่ี หมู่ 2 ตำบลจรเข้ใหญ่ อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สุพรรณบรุ ี 8. กศน.ตำบลวดั โบสถ์ ตัง้ อยทู่ ่ี หมู่ 2 ตำบลวดั โบสถ์ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบรุ ี 9. กศน.ตำบลกฤษณา ตั้งอยูท่ ่ี หมู่ 5 ตำบลกฤษณา อำเภอบางปลาม้า จงั หวดั สพุ รรณบุรี 10. กศน.ตำบลตะค่า ตั้งอย่ทู ว่ี ดั เจา้ ขาว หมู่ 4 ตำบลตะคา่ อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สุพรรณบรุ ี 11. กศน.ตำบลบางปลาม้า ตง้ั อยทู่ ี่ หมู่ 7 ตำบลบางปลามา้ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสพุ รรณบรุ ี 12. กศน.ตำบลองครักษ์ ตง้ั อยู่ที่ หมู่ 7 ตำบลองครกั ษ์ อำเภอบางปลาม้า จงั หวดั สพุ รรณบุรี 13. กศน.ตำบลบ้านแหลม ตั้งอยทู่ ี่ หมู่ 1 ตำบลบ้านแหลม อำเภอบางปลาม้า จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 14. กศน.ตำบลวงั นำ้ เย็น ตง้ั อยูท่ ่ี หมู่ 7 ตำบลวังนำ้ เย็น อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสพุ รรณบุรี

16 ภูมิปัญญาท้องถนิ่ และแหลง่ เรียนรู้ในชุมชน 1 . จักสานบ้านโพธ์ิศรี อยู่ที่บา้ นโพธศิ์ รี เลขท่ี 24 หมู่ 12 ตำบลบางปลามา้ เนื่องจากชาวบ้านโพธิศ์ รี หมู่ 12 ส่วนใหญ่ มีอาชพี ทำนา ทำสวน เมื่อว่างจากฤดูทำนาจะไปรับจ้าง บางส่วนจะจกั สานผลิตภัณฑต์ ่างๆ เช่น ฝาชี มา่ น กนั้ ห้อง กระเปา๋ โดยมนี างดารณี วงษ์จันทร์ เป็นภมู ิปัญญา 2. เครือ่ งเบญจรงค์บ้านชีปะขาว อยู่ทีบ่ า้ นบ้านชีปะขาว เลขที่ 104 หมู่ 1 ตำบลบ้านแหลม นางสาคร เรอื งเดช ประกอบอาชีพ การทำเคร่ืองเบญจรงค์ โดยนำภาชนะทีข่ นึ้ รปู แล้วมาเขียนลวดลายตามแบบหรือคดิ สร้างสรรค์ใหม่ 3.ขนมหวานบา้ นลำบัว อยู่ท่บี า้ นลำบวั เลขท่ี 57 หมู่ 9 ตำบลโคกคราม ผู้นำกลมุ่ สตรีและคณะกรรมการหมูบ่ ้านไดม้ ี แนวคดิ ทีจ่ ะช่วยประชาชนใหม้ ีรายได้เพมิ่ จงึ ได้รวมกลมุ่ จดั ตง้ั กลมุ่ อาชพี ข้ึน เนอื่ งจากส่วนใหญ่มีความรู้พื้นฐาน และทกั ษะการทำขนมไทย ผลติ ภัณฑ์ทก่ี ลุ่มจัดทำขึ้นได้ ขนมสาล่ี ขนมชนั้ ใบเตย ขนมสาลีท่ ิพย์ ขนมขา้ วสาคู โดยมีนางลำดวน อภิเดช เปน็ ภูมิปญั ญา 4 ไม้กวาดใยมะพร้าว อยู่ท่ีบ้านบางใหญ่ เลขที่ 43 หมู่ท่ี 4 ตำบลบางใหญ่ ประธานกลุ่มฯและประชาชนในหมู่บ้านได้รบั การสบื ทอดการทำไมก้ วาดใยมะพรา้ วจากบรรพบุรษุ โดยผลิตในชว่ งหลงั ฤดกู ารทำนา นายโชติ นว่ มใจดี เปน็ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน 5 การทำกระดาษจากผักตบชวา อยทู่ ่ีเลขท่ี 41 หมู่ 1 ตำบลองครกั ษ์ สมาชกิ ในกลุม่ ได้ร่วมกลมุ่ กันฝึกอบรมและพฒั นาฝมี อื เรอื่ ยมาจนรวมกันเป็นกลุม่ วสิ าหกิจชมุ ชน โดยมนี างอทุ ยั บางมณี เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ 6 โรงเรียนชาวนา อยู่ทีบ่ ้านโพธ์ิศรี ตำบลบางปลาม้า เกษตรกรได้รวมกล่มุ กนั จำนวน 20 คน โดยมีองค์การบริหาร ส่วนตำบลวัดดาวสนบั สนุนงบประมาณในการจดั การเรยี นรู้เรื่อง เกษตรธรรมชาตใิ นการลดตน้ ทุนการผลติ มี วิทยากรใหค้ วามรู้เรอ่ื งการทำนำ้ หมักชวี ภาพสูตรต่างๆ หลักการบริหารศัตรูพชื โดยมนี ายเฉลา นลิ วรรณ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่

17 โครงการดีเด่นและภาคภมู ใิ จของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางปลามา้ โดยได้นำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพ “โรงเรยี นชาวนา” กลุ่มเป้าหมายเปน็ เกษตรกรซึ่งสว่ นใหญ่มีอาชีพทำนาเป็นหลัก กระบวนการ เรียนรทู้ เ่ี กิดจากการปฏบิ ตั ิจรงิ บูรณาการกับวิถีชีวติ โดยกระบวนการ คดิ ทำ จำ แก้ปัญหา สอดคล้องกับ วิถชี วี ติ ผุ้เรียน เป็นการศึกษาเพือ่ ฟื้นฟูเศรษฐกิจ สังคม โดยมีภาคเี ครอื ขา่ ยภาครฐั และเอกชนว่ มดำเนินการ ผลของการดำเนินงาน “โรงเรยี นชาวนา” ทำใหส้ ามารถขยายพน้ื ทไี่ ปทกุ ตำบลของอำเภอบางปลามา้ จากปี พ.ศ. 2548 – ปจั จุบนั มีโรงเรียนชาวนา จำนวน 39 แห่ง ซงึ่ เปน็ การจดั การศกึ ษาทสี่ ามารถแก้ปญั หาการ ดำรงชีวิตของประชาชนได้อย่างแทจ้ รงิ การวเิ คราะห์ จดุ แขง็ จดุ อ่อน ของสถานศกึ ษา การวิเคราะห์หาจุดแข็งและจุดอ่อนของสถานศึกษาโดยใช้วิธีการ SWOT ในการตรวจสอบ เพ่ือหา วิธีการที่จะทำงานให้ไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายท่ีวางไว้ตลอดจนหาหนทางในการควบคุมจุดอ่อนไม่ให้ เกิดขนึ้ หรือเกิดขึ้นน้อยทส่ี ุดซึ่งจะชว่ ยใหส้ ถานศกึ ษามีทิศทางในการทำงานและมคี วามม่ันใจมากขนึ้ ประเดน็ จุดแขง็ สามารถแบง่ ออกเปน็ ดา้ นโครงสร้างนโยบายของสถานศกึ ษา - สถานศึกษามีการทำงานในรูปคณะกรรมการและมีอิสระในการทำงาน ทำให้งานประสบผลสำเร็จ ตามเปา้ หมาย - การทำงานเป็นทีมทำให้งานประสบผลสำเร็จและมีประสิทธิภาพ ดา้ นผลผลิตและการบรกิ าร - การให้บริการการศึกษามีหลากหลายท้ังการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึง ในทกุ ตำบล - มีการจดั การเรียนรตู้ ามความพรอ้ มและความตอ้ งการของผเู้ รียน ส่งผลใหผ้ เู้ รียนพึงพอใจ ด้านบคุ ลากร - บุคลากรมีความรู้ความสามรถ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทำงานประสบความสำเร็จและบรรลุ เปา้ หมาย - ปฎิบัติตนเหมาะสม เสียสละ วิริยะ อุตสาหะ อดทน ทำงานมีประสิทธิภาพ ทำให้ผู้รับบริการ เกิดความพงึ พอใจ - มคี วามสามรถในการประสานงาน ทำใหไ้ ดร้ บั ความร่วมมือจากบุคคลและองค์กรเครอื ขา่ ย

18 ดา้ นการเงนิ - การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามทวี่ างแผนไว้ - ได้รบั มอบอำนาจบางสว่ นจึงสามารถบริหารงานดา้ นการเงินได้อย่างคลอ่ งตวั - ไดร้ บั การสนบั สนุนดา้ นการเงนิ จากบคุ คลและองคก์ รเครอื ขา่ ยเปน็ อย่างดี ด้านวัสดอุ ปุ กรณ์ - ไดร้ บั มอบอำนาจในการจดั ซอ้ื จัดจา้ งในบางส่วนจึงทำใหส้ ามารถจดั หาวัสดุทนั ความตอ้ งการ ด้านบริหารจดั การ - บุคลากรมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจในการวางแผนและประสานงานมกี ารปฏิบัตงิ านในรูป ของคณะกรรมการ ทำใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานตามแผนท่วี างไว้และบรรลุเป้าหมายอย่างมปี ระสิทธภิ าพ - มีการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน เครือข่ายและในระดับพ้ืนท่ี ทำให้การ ทำงานคล่องตัวรวดเรว็ - ระบบบรหิ ารจัดการด้านสารสนเทศเปน็ ไปดว้ ยดีทำใหก้ ารทำงานคล่องตวั และรวดเรว็ - มรี ะบบบริหารงานที่ขดั เจน ประเดน็ จุดออ่ น ดา้ นโครงสร้างนโยบายของสถานศึกษา - นโยบายมีการเปล่ยี นแปลงตลอดทำใหก้ ารดำเนินงานไมต่ อ่ เน่ือง ด้านผลผลติ และการบรกิ าร - ดา้ นการศกึ ษาขาดการติดตามผลการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่องภายหลงั จากจบการศกึ ษา - หลักสูตรไมไ่ ด้มกี ารพัฒนาจากสภาพปัญหาและความตอ้ งการท่ีแท้จรงิ ของชมุ ชน - แหลง่ การเรียนรไู้ มไ่ ด้รบั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่อื งทำให้ผู้รับบริการขาดโอกาส ด้านบุคลากร - บุคลากรบางสว่ นขาดความรับผิดชอบ ขาดทักษะประสบการณ์ และความรอบคอบในการ ปฏิบัตงิ านทำให้ทำงานบางอย่างลา่ ช้า - บุคลากรขาดการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง - บคุ ลากรบางสว่ นยงั ขาดความรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยแี ละอปุ กรณ์ใหม่ๆทำให้การ ปฏบิ ตั งิ านไม่คลอ่ งตัวเทา่ ท่ีควร

19 ปจั จัยภายนอกสถานศกึ ษา โอกาส - ชมุ ชน และองค์กรชมุ ชนเห็นความสำคัญของการศึกษา มีผู้สนบั สนนุ ท่ีหลากหลายจากภาครัฐ ภาคเอกชน และศิษย์เก่า - การคมนาคมและการติดตอ่ สอ่ื สารทีส่ ะดวก และเปน็ เมอื งผา่ นไปทางภาคใต้ ภาคกลาง มี ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วและเปน็ เอกลักษณ์ ด้านประวตั ศิ าสตร์ ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี - รฐั บาลมีนโยบายในการส่งเสรมิ การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ พ.ร.บ.การศึกษา พ.ศ. 2542 กระจายอำนาจทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมองเห็นความสำคัญและจัด การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทอ้ งถิ่นมากขน้ึ อุปสรรค - ผ้ปู กครองและนกั ศกึ ษายงั เห็นความสำคญั ของการศกึ ษาในระบบมากกวา่ การศกึ ษานอกระบบ - นโยบายของต้นสังกัดเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ - นโยบายปรับลดอตั ราของภาครัฐทำใหส้ ถานศึกษาขาดแคลนบุคลากร - กลมุ่ เป้าหมายไม่มีเวลาที่เรียนตอ่ ในเวลายาวนาน เนือ่ งจากกลุ่มเป้าหมายสว่ นใหญ่ไมม่ ีอาชพี ท่ี แน่นอนและไมเ่ ป็นหลักแหลง่ ตอ้ งหาเช้ากินค่ำ จึงไมม่ เี วลาทีจ่ ะมาเรียน มาฝึกปฏบิ ัติทกั ษะอาชพี ไดน้ านๆ เพราะตอ้ งหารายได้ในการครองชีพแตล่ ะวัน เป้าหมายการจดั การศกึ ษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลามา้ 1. ประชาชนกล่มุ เป้าหมายได้รับโอกาสทางการศกึ ษาอย่างเต็มตามศกั ยภาพต่อเน่ืองตลอดชีวติ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไดรับการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการและความจำเป็น มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และทกั ษะการดำรงชวี ติ ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. บคุ ลากรมศี ักยภาพในการปฏบิ ัติงานร่วมกับชุมชน ทอ้ งถนิ่ และนำนวคกรรมมาใช้ในการ ดำเนนิ การจัดกิจกรรมไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4. ภาคเี ครือขา่ ยมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมการศกึ ษา โดยให้ชมุ ชนเปน็ ฐานความรู้ ทิศทางการจัดการศึกษานอกระบบ ระดบั ขั้นพนื้ ฐาน จากการที่ศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เอกสาร ประกอบหลักสูตร และข้อมูลความต้องการพัฒนาของจังหวัด อำเภอ ชุมชน จึงนำส่ิงท่ีได้ศึกษาเหล่าน้ี มา พิจารณากำหนดทิศทางการจัดการศกึ ษานอกระบบของสถานศึกษาโดยกำหนดโครงสร้างทิศทางการจดั ศึกษา ไว้ดงั นี้ ปรัชญา คิดเป็น รงู้ าน ชาญวชิ า

20 วสิ ยั ทัศน์ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลาม้า เป็นผู้นำจดั การเรียนรู้ ให้ กลุม่ เป้าหมายมีทกั ษะการดำเนนิ ชวี ติ สามารถพงึ พาตนเอง บนพื้นฐานตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ให้กับประชาชนกล่มุ เป้าหมาย 2. สร้างโอกาสและจดั การศกึ ษาในรปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ให้กบั ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายมี คุณธรรมและให้มที ักษะการดำเนินชีวติ บนพ้ืนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. พฒั นาสถานศกึ ษาใหส้ ามารถจัดการศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามความต้องการของชมุ ชนและท้องถนิ่ ส่งเสรมิ และพัฒนาให้เกิดการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต 4. รว่ มกับภาคีเครอื ข่าย จัดการความรดู้ ว้ ยการระดมทรพั ยากร องคค์ วามรู้ และรว่ มจัดการศกึ ษา ใหก้ บั ชุมชน

21 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา ระดับประถมศกึ ษา หลกั การ 1. เป็นหลักสตู รท่มี โี ครงสรา้ งยดื หย่นุ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และ การจัดการเรยี นรู้ โดยเน้น การบูรณาการเนอ้ื หาให้สอดคล้องกับวิถีชวี ิต ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล และชุมชน สังคม 2. ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศยั 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยตระหนักว่าผู้เรียนมี ความสำคญั สามารถพัฒนาตนเองไดต้ ามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศักยภาพ 4. ส่งเสรมิ ให้ภาคีเครือข่ายมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา จุดหมาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี มีศักยภาพในการประกอบอาชพี และการเรยี นรู้ อยา่ งต่อเนื่อง ซึง่ เป็นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ท่ตี อ้ งการ จึงกำหนดจุดหมายดงั ต่อไปนี้ 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ มท่ดี งี าม และสามารถอยู่ร่วมกันในสงั คมอยา่ งสันติสุข 2. มีความรู้พ้นื ฐานสำหรบั การดำรงชวี ิต และการเรียนร้ตู อ่ เนอื่ ง 3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนัดและ ตามทนั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง 4. มีทักษะการดำเนินชีวิตท่ีดี และสามารถจัดการกับชีวิต ชุมชน สังคม ได้อย่างมี ความสขุ ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. มคี วามเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภมู ิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยึดม่ัน ในวถิ ชี วี ิต และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข 6. มีจติ สำนกึ ในการอนุรกั ษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และ บูรณาการความรู้มาใชใ้ นการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนท่ีไม่ได้อยู่ในระบบโรงเรียน กลุ่มผู้ใช้แรงงาน กลุ่มเกษตรกร กลุ่มผู้นำ ท้องถิ่น กลุ่มคนพิการ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาให้บุคคลได้รับการศึกษาอย่าง ทัว่ ถงึ และมีคณุ ภาพ ระดบั การศึกษา

22 ระดับประถมศกึ ษา สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นร้ปู ระกอบด้วย 5 สาระ ดงั น้ี 1. สาระทกั ษะการเรยี นรู้ เป็นสาระเกี่ยวกับการเรียนรูด้ ้วยตนเอง การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ การจัดการความรู้ การคดิ เปน็ และการวิจยั อยา่ งงา่ ย 2. สาระความรู้พ้ืนฐาน เป็นสาระเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเก่ียวกับการมองเห็นช่องทาง และการตัดสินใจ ประกอบอาชพี ทักษะในอาชพี การจัดการอาชพี อยา่ งมคี ุณธรรม และการพฒั นาอาชีพใหม้ ัน่ คง 4. สาระทักษะการดำเนินชีวิต เปน็ สาระเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สุขภาพอนามัย และความปลอดภยั ในการดำเนินชวี ิต ศิลปะและสนุ ทรียภาพ 5. สาระการพัฒนาสังคม เป็นสาระที่เก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าท่ีพลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นกิจกรรมท่ีจัดขึ้นเพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม มาตรฐานการเรยี นรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด มาตรฐานการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ท้ัง 5 สาระ ท่ีเป็นข้อกำหนดคุณภาพของผเู้ รยี น เมือ่ ผู้เรียนเรียน จบหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เวลาเรียน ในแต่ละระดับใช้เวลาเรยี น 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีที่มกี ารเทียบโอนผลการเรียน ผเู้ รียน ต้องลงทะเบยี นเรยี นในสถานศึกษาอยา่ งน้อย 1 ภาคเรยี น หนว่ ยกิต ใชเ้ วลาเรยี น 40 ช่วั โมง มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกติ

23 โครงสร้างหลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับประถมศึกษา จำนวนหนว่ ยกติ ที่ สาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา 1 ทักษะการเรียนรู้ วชิ าบงั คบั วชิ าเลือก 2 ความรพู้ ้นื ฐาน 3 การประกอบอาชีพ 51 4 ทักษะการดำเนินชวี ติ 5 การพฒั นาสังคม 12 6 รวม 82 กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 51 62 36 12 48 หน่วยกติ 200 ชว่ั โมง หมายเหตุ วชิ าเลือกในแต่ละระดับ สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รยี น เรยี นรจู้ ากการทำโครงงาน จำนวน อยา่ งน้อย 3 หน่วยกิต

24 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบดว้ ยสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ดังน้ี 1. สาระทักษะการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 5 มาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ 1.1 มคี วามรูค้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ดี ีต่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มาตรฐานที่ 1.2 มีความรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคตทิ ่ีดีต่อการใช้แหลง่ เรียนรู้ มาตรฐานท่ี 1.3 มีความร้คู วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติท่ดี ีต่อการจดั การความรู้ มาตรฐานที่ 1.4 มีความรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี อ่ การคิดเป็น มาตรฐานที่ 1.5 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี อ่ การวิจยั อย่างงา่ ย 2.สาระความรพู้ ้นื ฐาน ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ 2.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับภาษาและการส่อื สาร มาตรฐานท่ี 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชีพ ประกอบดว้ ย 2 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ีดีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทางและตัดสินใจ ประกอบอาชพี ได้ตามความต้องการ และศกั ยภาพของตนเอง มาตรฐานท่ี 3.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชีพทีต่ ดั สินใจเลอื ก มาตรฐานที่ 3.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชีพอยา่ งมีคุณธรรม มาตรฐานท่ี 3.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่นั คง 4. สาระทักษะการดำเนนิ ชีวติ ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดีเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ิตได้อยา่ งเหมาะสม มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติท่ีดีเก่ียวกับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และความปลอดภยั ในการดำเนินชีวิต มาตรฐานท่ี 4.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติท่ดี เี กีย่ วกบั ศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ

25 5. สาระการพัฒนาสงั คม ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกบั ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถนำมาปรับใช้ในการดำรงชีวิต มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรมประเพณี เพ่ือการ อยรู่ ว่ มกนั อย่างสันติสขุ มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะเพ่ือความสงบสุขของ สงั คม มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสำคญั ของหลกั การพัฒนา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน/สงั คม หมายเหตุ สาระการเรียนรู้ความร้พู ้นื ฐาน มาตรฐานที่ 2.1 มีความรู้ความเขา้ ใจทกั ษะพ้นื ฐานเกี่ยวกับ ภาษาและการสื่อสาร ซง่ึ ภาษาในมาตรฐานนี้หมายถึง ภาษาไทย และภาษาตา่ งประเทศ

26 สาระการพฒั นาสงั คม

27 สาระการพฒั นาสังคม เปา้ หมายการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา 1. อธิบายความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง และนำมาปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ิต 2. เหน็ คณุ ค่าความเช่ือมโยงของภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ใน การดำเนินชวี ิต 3. จัดทำโครงงานความเช่ือมโยงของภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ใน การดำเนนิ ชีวติ ศาสนาวฒั นธรรม ประเพณี 1. อธบิ ายหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยรู่ ว่ มกันอย่างสันติสุข 2. ยอมรับ และเห็นคณุ คา่ เกีย่ วกบั หลักศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพ่อื การอยูร่ ่วมกันอยา่ งสนั ติสขุ 3. ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพอื่ การอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันติสขุ หนา้ ทีพ่ ลเมือง 1. อธบิ ายความเป็นพลเมอื งดีและบอกลักษณะของคนมีจิตสาธารณะได้ 2. ยอมรับ ทำตามหลักวถิ ีประชาธิปไตย 3. ปฏบิ ัติตนตามกฎ กตกิ าของสงั คม และกฎหมาย การพัฒนาตนเอง 1. อธิบายหลกั การพฒั นาชุมชน สงั คม และการสรา้ งครอบครวั อบอนุ่ 2. เหน็ คุณค่าของครอบครวั อบอนุ่ ชุมชน เขม้ แขง็ 3. เขา้ รว่ มกจิ กรรมประชาคมหมบู่ า้ นและร่วมประชาพิจารณป์ ญั หาของชมุ ชนพร้อมร่วมจดั ทำแผน ชุมชน

28 มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถงึ ความสำคญั เก่ยี วกบั ภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง สามารถนำมาปรับใช้ในการดำรงชีวิต ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวัง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั เก่ียวกับภูมศิ าสตร์ 1.อธบิ ายขอ้ มูลเกีย่ วกบั ภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ทเี่ กีย่ วข้องกับ ปกครองในทอ้ งถิน่ ประเทศและนำมาปรบั ใช้ใน ตนเอง ชุมชน ท้องถ่ิน และประเทศไทย การดำเนนิ ชีวิตเพื่อความมัน่ คงของชาติ 2.ระบุสภาพความเปลยี่ นแปลงด้านภมู ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง และกฎหมายท่ีมีผลกระทบตอ่ วถิ ชี มุ ชน ท้องถ่ิน ชีวติ ของตน สังคม และประเทศไทย 3.เกดิ ความตระหนักและสามารถนำความร้ทู าง ด้านภมู ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง และกฎหมายไปประยุกตใ์ ช้ ให้ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงกับสภาพ ชุมชน สังคม เพอ่ื ความมนั่ คงของชาติ มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพ่อื การอยูร่ ว่ มกนั อย่างมีความสขุ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณค่าและสืบทอด 1.อธบิ ายประวตั ิ หลกั คำสอนและการปฏบิ ัตติ นตามหลัก ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ของทอ้ งถน่ิ และ ศาสนาท่ีตนนับถือ ประเทศไทย 2.เห็นความสำคัญของวฒั นธรรม ประเพณี และมสี ว่ นรว่ มใน การปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถิ่น 3.ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี 4.ยอมรับและปฏิบัตติ น เพือ่ การอยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ติ สขุ ในสงั คม ที่มีความหลากหลายทาง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

29 มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัตติ นเป็นพลเมอื งดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจติ สาธารณะ เพอื่ ความสงบสุขของสังคม ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวัง มีความรู้ ความเข้าใจดำเนินชวี ติ ตามวถิ ี 1.บอกสทิ ธิเสรภี าพบทบาท และหนา้ ท่ตี าม ประชาธปิ ไตยกฎหมายเบอ้ื งต้น กฎระเบยี บของ กฎหมายของการเป็นพลเมอื งดตี ามระบอบ ชมุ ชน สงั คม และประเทศ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ 2.เห็นคณุ ค่าของการปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดีตาม กฎหมาย 3.มีส่วนร่วมในการปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ มาตรฐานท่ี 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ ความสำคัญของหลกั การพฒั นา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน/สังคม ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพฒั นาชมุ ชน/สังคม 1.มคี วามรู้ ความเข้าใจหลักการพฒั นาชุมชน สงั คม และวิเคราะหข์ ้อมูลในการพัฒนาตนเองครอบครัว 2.มีความรู้ ความเข้าใจและเหน็ ความสำคญั ของ ชมุ ชน/สังคม ขอ้ มูล ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม 3.วิเคราะหข์ อ้ มูล ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม เพื่อใช้ในการจัดทำแผนชวี ิต และชมุ ชน สังคม 4.เกิดความตระหนัก และมีสว่ นรว่ มในการจัดทำ ประชาคมของชมุ ชน 5.นำผลท่ีได้จากการประชาคมไปเพ่ือใชใ้ น ชวี ิตประจำวัน

คำอธิบายรายวชิ าเลอื ก 30 สาระการพัฒนาสังคม หนว่ ยกิต มาตรฐานท่ี รหสั รายวชิ า ระดับประถมศกึ ษา 1 สค12004 รายวชิ า 1 5.1 สค12013 2 5.4 ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน 2 5.1 สค12021 การเขยี นโครงการ 2 5.1 การเงินเพอ่ื ชวี ิต 1 2 5.1 สค13111 สุพรรณบา้ นฉนั 1 2 5.1 สค13133 การปกครองในทอ้ งถ่นิ ของเรา 5.3 ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย สค12024 สค12025 ลูกเสือ กศน.

31 คำอธิบายรายวิชา สค12004 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น สาระการพัฒนาสงั คม ระดบั ประถมศึกษา จำนวน 1 หน่วยกติ (40 ชัว่ โมง) มาตรฐานที่ 5.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจตระหนักถงึ ความสำคญั เก่ยี วกับภมู ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนำมาปรับใช้ในการดำรงชีวิต ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกีย่ วกับเร่อื งต่อไปน้ี 1. ความหมายของภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ 2. ความสำคญั ของภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ 3. ลักษณะภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน 4. ประเภทภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ศึกษา สืบคน้ ขอ้ มูลจากแหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ หอ้ งสมดุ ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น จากอินเตอร์เนต็ จาก สภาพจริง การเลา่ ประสบการณจ์ ากผูร้ แู้ ละ การศึกษาดงู าน การวัดและประเมนิ ผล จากการนำเสนอรายงาน ใบงาน แบบทดสอบ ประเมินการมีสว่ นรว่ มในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ

32 รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า สค1204 ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ สาระการพฒั นาสังคม ระดบั ประถมศึกษา จำนวน 1 หนว่ ยกติ (40 ชัว่ โมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญเก่ยี วกับภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถนำมาปรับใช้ในการดำรงชวี ติ ท่ี หวั เร่ือง ตัวช้ีวัด เน้อื หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ 1. บอกความหมายของภูมิ 1. ความหมายของภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น 40 ปัญญาทอ้ งถ่นิ ได้ 2. ความสำคัญของภูมปิ ญั ญา 2. บอกความสำคญั ของภมู ิ ทอ้ งถ่ิน ปญั ญาท้องถิ่นได้ 3. ลักษณะภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ 3. บอกลักษณะภูมิปัญญา 3.1 ลกั ษณะท่ีเปน็ รปู ธรรม เชน่ ทอ้ งถิน่ ได้ หัตถกรรม ศิลปะ ดนตรี ฯลฯ 3.2 ลกั ษณะที่เปน็ นามธรรมเป็น ปรชั ญาในการดำเนนิ ชวี ติ 4. บอกประเภทภูมิปญั ญา 4. ประเภทภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ทอ้ งถิ่นได้ 4.1 การประกอบอาชีพ 4.2 แนวคิดหลักปฏบิ ัติ 4.3 คตคิ วามคิด 4.4 ศิลปวฒั นธรรมประเพณี 5. แยกสาขา และวเิ คราะหภ์ มู ิ 5. สาขาภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ปญั ญาทอ้ งถิน่ เพ่ือนำมาใช้ 5.1 สาขาภาษา ประโยชนไ์ ด้ 5.2 สาขาศาสนา 5.3 สาขาสวัสดิการ 5.4 สาขาศิลปกรรม 5.5 สาขาการจัดองค์กร 5.6 สาขาการแพทย์แผนไทย 5.7 สาขาการจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม 5.8 สาขากองทนุ และธุรกจิ ชุมชน 5.9 สาขาเกษตรกรรม

33 ท่ี หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวัด เน้ือหา จำนวน (ช่วั โมง) สาขาอุตสาหกรรม และ หัตถกรรม 6. ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ไทย 6.1 ภูมิปญั ญาท้องถ่ินภาคเหนือ เชน่ การทอผา้ การแกะสลัก ฯลฯ 6.2 ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นภาคใต้ เช่น ผลิตภณั ฑ์ย่านลิเพา การทอผ้า เกาะยอ หนัง ตะลุง ฯลฯ 6.3 ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เชน่ การทอเส่ือ ผ้าไหม ผ้ามัดหม่ี เครอ่ื งป้ันดินเผา หมอลำ ฯลฯ 6.4 ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภาค ตะวันออก เชน่ จักสาน แกะสลัก อาหาร 6.5 ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ภาคกลาง เชน่ เครอ่ื งถม ทองสโุ ขทัย เครือ่ งป้นั ดินเผา เพลง พ้ืนบ้าน ลำตัด ลิเก

34 คำอธิบายรายวชิ า สค1213 การเขียนโครงงาน สาระการพฒั นาสังคม ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 1 หน่วยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานท่ี 5.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญเกี่ยวกับภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนำมาปรับใช้ในการดำรงชวี ิต ศึกษาและฝึกทกั ษะเกี่ยวกบั เรือ่ งต่อไปนี้ 1. ความหมาย ความสำคญั ประโยชน์และประเภทของโครงงาน 2. กระบวนการและข้นั ตอนการทำโครงงาน 3. การกำหนดหวั เร่ือง 4. การเขียนเคา้ โครงของโครงงาน 5. การประเมนิ ผลโครงงาน การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ศึกษาจากชดุ การเรียน เอกสารสอื่ ค่มู ือ ผ้รู ู้ ผมู้ ีประสบการณ์ ฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ แบง่ กลมุ่ อภิปราย สรปุ การวัดและประเมินผล การสงั เกตพฤติกรรม การมีสว่ นร่วม ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ผลการปฏิบตั ิ

35 รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา สค1213 การเขยี นโครงงาน สาระ การพฒั นาสังคม ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 1 หน่วยกิต (40 ชวั่ โมง) มาตรฐานที่ 5.4 มคี วาม รู้ความเข้าใจ เหน็ ความสำคญั ของหลกั การพฒั นา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน/สงั คม ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน (ชัว่ โมง) 1 การเขียนโครงงาน 1.1 อธิบาย และเหน็ 1.1 ความหมาย ความสำคญั 40 ประโยชน์ของการเขยี น และประโยชน์ ประเภทของ โครงงาน โครงงาน 1.2 บอกประเภทของโครงงาน 1.2 ประเภทของโครงงาน ได้ 2. เขียนโครงงานตามขน้ั ตอน 2. กระบวนการและขั้นตอนการ ตา่ งๆได้ ทำโครงงาน 2.1 การเลอื กเน้อื หาท่ีสนใจ 2.2 การสร้างโครงงาน 2.3 การลงมอื ปฏิบตั ิ 2.4 การรายงานผลการ ดำเนินโครงงาน 3. วเิ คราะห์เนอ้ื หาเพอ่ื นำมา 3. การกำหนดหวั เรอ่ื งสำหรบั จัดทำเปน็ โครงงานและแยก การทำโครงงาน ประเภทโครงงานได้ - ตัวอยา่ งโครงงานแบบต่าง ๆ 4. อธบิ ายการดำเนนิ งานตาม 4. การเขยี นรายละเอียดตามเค้า หวั ขอ้ ที่กำหนดในการเขยี น โครงของโครงงาน โครงงาน 5. แบง่ นำ้ หนกั คะแนนการ 5. การประเมินผลโครงงาน ประเมินโครงงานตาม 5.1 เอกสารโครงงาน ขั้นตอนต่างๆไดอ้ ย่าง 5.2 กระบวนการทำงาน เหมาะสม 5.3 ผลงาน/รายงาน

36 คำอธบิ ายรายวชิ า สค12021 การเงนิ เพอื่ ชวี ิต 1 ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 2 หน่วยกติ (80 ชว่ั โมง) มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนัก เกยี่ วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในทอ้ งถ่ิน ประเทศ นำมาปรับใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตและการประกอบอาชพี เพ่อื ความม่นั คงของชาติ ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะในเรอื่ งต่อไปนี้ 1. วา่ ด้วยเรือ่ งของเงิน ความหมายและประโยชน์ ประเภทของเงิน เงนิ ฝากและการประกนั ภยั การชำระเงนิ ทาง อิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้างระบบสถาบนั การเงินของประเทศไทย 2. การวางแผนการเงนิ ประเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเอง บนั ทกึ รายรบั -รายจ่าย เปา้ หมายการเงนิ ในชวี ติ การ ออม 3. สนิ เช่อื ความหมายของ “หนี้ดี”และ“หนพี้ ึงระวัง”ในชวี ติ ประเมนิ ความเหมาะสมก่อนตัดสนิ ใจ ก่อนน้ี วธิ กี ารป้องกนั ปัญหาหนี้ การแก้ไขปญั หาหนด้ี ้วยตนเอง 4.. สทิ ธแิ ละหน้าที่ของผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ สิทธิของผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ 4 ประการ หน้าทข่ี องผูใ้ ช้บริการทางการเงิน 5 ประการ รู้จักศูนย์คมุ้ ครองผใู้ ช้บริการทางการเงิน (ศคง.) และหนว่ ยงานทรี่ ับเรื่องร้องเรียนอนื่ ๆ การเขียนหนงั สือ รอ้ งเรียนและขน้ั ตอนท่เี กยี่ วข้อง 5. ภยั ทางการเงนิ ลกั ษณะการปอ้ งกนั ตนเอง และการแก้ไขปญั หาภัยทางการเงนิ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 1. จัดกลมุ่ อภิปรายในเน้อื หาท่ีเก่ยี วข้อง 2. ศกึ ษาจากเอกสารและสอ่ื ทกุ ประเภทท่ีเกยี่ วขอ้ ง เว็บไซต์ของธนาคารแหง่ ประเทศไทย และเว็บไซต์ของ ศคง. 3. จดั ทำโครงการนิทรรศการฐานการเรยี นรู้ 4. เชญิ วิทยากรผ้รู มู้ าให้ความรูเ้ กย่ี วกับการก่อหนอ้ี ย่างเหมาะสม และการวางแผนการเงิน ในชวี ติ การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมระหว่างการเรยี นรู้ 2. วัดความร้จู ากการทำกิจกรรมในใบงาน 3. การวดั ผลสมั ฤทธป์ิ ลายภาค

37 รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา สค12021 การเงินเพ่อื ชีวติ 1 ระดับประถมศึกษา จำนวน 2 หน่วยกติ (80 ชว่ั โมง) มาตรฐานการเรยี นรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั เกี่ยวกบั ภมู ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครองในท้องถ่นิ ประเทศ นำมาปรับใช้ ในการดำเนนิ ชีวิต และการประกอบอาชีพ เพอ่ื ความม่นั คงของ ชาติ ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชวี้ ัด เนอ้ื หา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงนิ 1.1 ความหมายและ 1. บอกความหมายและ 1. บอกความหมายและประโยชน์ของ 12 ชม. ประโยชน์ ประโยชนข์ องเงนิ เงนิ 1.2 ประเภทของเงนิ 2. บอกความหมายของ 2. บอกความหมายของการให้เงินและ การให้เงินและการให้ยืม การใหย้ มื เงนิ เงนิ 1. เงนิ ไทย 1. อธิบายวิธตี รวจสอบ -ธนบตั ร ธนบตั ร - เหรียญกษาปณ์ 2.บอกสกลุ เงนิ ในกลุ่ม 2. เงินตราตา่ งประเทศ ประเทศอาเซียน - สกุลเงนิ ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 1.3 เงินฝากและการ 1.บอกประเภทของบญั ชี ประกันภัย เงนิ ฝาก 1. ประเภท ลกั ษณะ ประโยชน์และ 2.บอกประโยชน์และ ข้อจำกดั ของการฝากเงิน ข้อจำกดั การฝากเงิน - บัญชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ ประเภทตา่ งๆ - บญั ชเี งนิ ฝากประจำ 3. บอกความหมายของ - สลากออมทรัพย์/สลากออมสนิ ดอกเบยี้ เงนิ ฝาก 2. ความหมายดอกเบ้ยี เงนิ ฝาก 4. บอกความหมายของ 3. การคมุ้ ครองเงินฝาก การค้มุ ครองเงินฝาก 4. บอกความหมายและประโยชน์ของ 5. บอกบทบาทหนา้ ท่ี การประกนั ภยั รายยอ่ ย ของสถาบันคุ้มครองเงนิ 5.การคุ้มครองเงินฝาก ฝาก 6.บอกความหมายและ ประโยชน์ของการ 6.ความหมายและประโยชน์ของการ ประกันภัยรายย่อย ประกันภัยรายยอ่ ย

38 ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน (ช่ัวโมง) 1.4 การชำระเงินทาง 1. บอกความหมายและ 1. ความหมายและประโยชนข์ องการ อิเลก็ ทรอนิกส์ ประโยชนข์ องการชำระ ชำระเงินทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 2. ลกั ษณะของบตั ร ATM บตั รเดบิต 2. บอกลักษณะของบัตร บัตรเครดิต ATM บัตรเดบิต บัตร เครดิต 1.5 โครงสร้างระบบ 1. บอกโครงสรา้ งของ 1. โครงสรา้ งระบบสถาบันการเงนิ ของ สถาบันการเงินของ ระบบสถาบันการเงิน ประเทศไทย ประเทศไทย ของประเทศไทย 2. บอกประเภทและ 2. ประเภทและหน้าทข่ี องสถาบัน หนา้ ท่ีของธนาคาร การเงิน พาณชิ ย์ 2.1 ธนาคารพาณิชย์ 3.บอกประเภทและ 2.2 สถาบันการเงนิ เฉพาะกจิ หน้าท่ีของสถาบัน (ธนาคารของรฐั ) การเงนิ เฉพาะกิจ (ธนาคารของรัฐ) 2 การวางแผนการเงนิ 2.1 ประเมินฐานะ 1. บอกหลกั การประเมนิ 1. หลักการประเมนิ ฐานะทางการเงนิ 14 ชม. การเงินของตนเอง ฐานะทางการเงินของ ของตนเอง ตนเอง - ความมงั่ คง่ั สุทธิ 2.คำนวณฐานะทางการ - อตั ราสว่ นภาระหน้สี ินตอ่ รายได้ เงนิ ของตนเอง (ตอ่ เดอื น) - จำนวนเงินออมเผือ่ ฉกุ เฉนิ - อัตราส่วนเงนิ ออมตอ่ รายได้ (ตอ่ เดอื น) 2.2 บันทึกรายรบั - 1.บอกความแตกต่างของ 1. ความแตกต่างของความจำเปน็ และ รายจ่าย “ความจำเปน็ ”และ ความตอ้ งการในการดำรงชวี ติ “ความต้องการ” 2. จดั ลำดบั ความสำคญั 2. การจัดลำดบั ความสำคัญของรายจ่าย ของรายจา่ ย 3.บอกลกั ษณะของ 3. ลักษณะและประโยชนข์ องการบันทึก บนั ทกึ รายรบั -รายจา่ ย รายรบั -รายจ่าย

39 ท่ี หัวเร่อื ง ตัวช้วี ัด เน้อื หา จำนวน (ช่ัวโมง) 4. บอกประโยชน์ของ 4. วิธีบนั ทึกรายรบั -รายจา่ ย บนั ทกึ รายรบั -รายจ่าย 5. จดบันทกึ รายรบั - รายจ่าย 2.3 เป้าหมายการเงินใน 1. บอกประโยชนข์ อง 1. ประโยชน์ของการมีเป้าหมายการเงนิ ชีวิต การมีเป้าหมายการเงิน ในชวี ิต ในชวี ติ 2. เปา้ หมายการเงนิ ที่ควรมีในชวี ติ 2.บอกเป้าหมายการเงิน 3. วิธกี ารตง้ั เปา้ หมายการเงิน (หลัก ทคี่ วรมีในชีวติ SMART) 3. บอกวธิ ีการตง้ั 4.การวางแผนการเงนิ ใหเ้ ปน็ ไปตาม เป้าหมายการเงนิ เป้าหมายทีต่ ง้ั ไว้ 4. ยกตวั อย่างการ 5. การวางแผนการเงินกอ่ นวัยสงู อายุ วางแผนการเงนิ 5. วางแผนการเงินก่อน วยั สูงอายุ 2.4 การออม 1. บอกความหมายของ 1. ความหมายและประโยชนข์ องการ การออม ออม 2. บอกประโยชนข์ อง 2.เปา้ หมายการออม เช่น ออมก่อนใช้ การออม และเทคนิคการออม เชน่ เก็บธนบัตร 3. บอกเปา้ หมายการ 50 บาท ฝากในบญั ชีท่ไี ม่สามารถออมได้ ออม สะดวก 4.บอกหลักการออมให้ สำเรจ็ 5. บอกความร้เู บ้ืองตน้ 4. ความร้เู บื้องต้นเกยี่ วกบั กองทนุ การ เก่ียวกับกองทุนการออม ออมแหง่ ชาติ (กอช.) แห่งชาติ 3. สนิ เชอ่ื 1. บอกความหมายของ 1. การประเมนิ ความเหมาะสมก่อน 24 ชม. “หนีด้ ”ี และ “หนี้พงึ ตดั สินใจก่อหน้ี ระวัง” 2. ลกั ษณะของสนิ ชอ่ื รายย่อย 2. วเิ คราะหค์ วาม 3. วิธีการปอ้ งกนั ปัญหาหนี้ เหมาะสมกอ่ นตัดสนิ ใจ 4. วธิ กี ารแก้ไขปญั หาหนี้ กอ่ หนี้

40 ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ช้ีวัด เน้ือหา จำนวน (ช่ัวโมง) 3. บอกวธิ ีการป้องกัน ปญั หาหน้ี 4.บอกวิธกี ารแกไ้ ข ปญั หาหนดี้ ว้ ยตนเอง 4. สิทธแิ ละหน้าที่ของผู้ใช้ 1. บอกสทิ ธิของ 1. สทิ ธิของผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงนิ 10 ชม. บริการทางการเงนิ ผู้ใช้บริการทางการเงนิ - ได้รับขอ้ มลู ที่ถูกต้อง - เลือกใช้ผลิตภัณฑแ์ ละบรกิ าร ได้อย่างอิสระ - ร้องเรียนเพอ่ื ความเปน็ ธรรม - ได้รับการพิจารณาค่าชดเชย หากเกดิ ความเสยี หาย 2.บอกหนา้ ทขี่ อง 2. หนา้ ทขี่ องผู้ใช้บริการทางการเงิน ผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ - วางแผนการเงนิ - ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารทางการเงิน อย่างสม่ำสมอ - เขา้ ใจรายละเอยี ดและ เปรียบเทียบข้อมูลกอ่ นเลือกใช้ - ตรวจทานความถูกต้องของ ธรุ กรรมทางการเงนิ ทุกครัง้ - เมือ่ เป็นหนี้ตอ้ งชำระหน้ี 3. บอกบทบาทหนา้ ท่ี 3. บทบาทศนู ย์ค้มุ ครองผู้ใช้บริการ ของศูนย์ ทางการเงนิ (ศคง.) และหนว่ ยงานทีร่ บั ค้มุ ครองผู้ใช้บรกิ าร เร่ือง ทางการเงิน (ศคง.) และ รอ้ งเรียนอนื่ ๆ หนว่ ยงานทารับร้องเรยี น 4. ขนั้ ตอนการ้องเรียนและการเขียน อื่น ๆ หนงั สอื รอ้ งเรียน 4.. บอกขัน้ ตอนการ รอ้ งเรียน 5. บอกหลักการเขยี น หนงั สือร้องเรยี น

ท่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา 41 5. ภัยการเงิน จำนวน 1. บอกลกั ษณะของภัย 1.. ลักษณะ การปอ้ งกันตนเองและการ (ชัว่ โมง) 20 ชม ทางการเงิน แกไ้ ขปัญหาในเร่ือง - หนี้นอกระบบ - หนนี้ อกระบบ - แชร์ลกู โซ่ - แชร์ลกู โซ่ - ภยั ใกล้ตวั - ภยั ใกล้ตัว เช่น การหลอกลวงให้จ่าย - แกง๊ คอลเซ็นเตอร์ เบย้ี ประกัน 2.. บอกวิธปี ้องกนั ตนเอง งวดสุดท้าย/ตกทอง/ล็อตเตอรปี่ ลอม จากภยั ทาง - แก๊งคอลเซนเตอร์ การเงิน 3.. บอกวิธแี ก้ปัญหาท่ี เกดิ จากภัยทาง

42 คำอธบิ ายรายวชิ า สค13111 สุพรรณบ้านฉนั 1 จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับ ประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนัก เกี่ยวกบั ภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นำมาปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ิต และการประกอบอาชีพ เพื่อความมั่นคงของ ชาตมิ ีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณคา่ และสืบทอด ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของทอ้ งถน่ิ และประเทศไทย มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดำเนินชวี ิตตามวถิ ีประชาธิปไตย กฎหมายเบือ้ งตน้ กฎระเบยี บของ ชมุ ชน สงั คม และประเทศมคี วามรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม และวเิ คราะห์ ข้อมูลในการพฒั นา ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ศึกษาและฝึกทกั ษะในเรื่องต่อไปนี้ 1. ศกึ ษาภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง การปกครอง วฒั นธรรม ประเพณแี หล่งทอ่ งเที่ยว การสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี บคุ คลสำคญั ท่ีมีส่วนร่วมในการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี 2. ศึกษาความหมาย ความสำคัญในการประกอบอาชีพ ลักษณะของงานอาชพี อาชีพหลักใน จังหวัดสพุ รรณบรุ ี คุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชพี และสามารถนำความรู้ไปพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม 3. ศึกษาการดำเนนิ ชวี ิตตามวถิ ีประชาธิปไตยโดยยึดคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 11 ประการ ของคนดีศรสี ุพรรณ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ บรรยาย ศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเองจากสือ่ เอกสาร ส่ือเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญา องค์กร สถาบัน การฝกึ ปฏิบัติ การจัดกลุ่มอภิปรายแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ วเิ คราะห์ ศึกษาจากสถานท่ีจริง การเขา้ ร่วมกจิ กรรมทาง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี และสรุปผลการเรียนรูพ้ รอ้ มนำเสนอด้วยวธิ ที ี่หลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสงั เกต การมสี ว่ นร่วมในการทำกิจกรรมและการตรวจผลงาน/ ช้ินงาน

43 รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า สค13111 สพุ รรณบ้านฉนั 1 จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก เกยี่ วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครองในท้องถ่นิ ประเทศ นำมาปรบั ใช้ ในการดำเนนิ ชีวิต และการประกอบอาชีพ เพ่ือความมน่ั คงของ ชาติมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณคา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น และประเทศไทย มี ความรู้ ความเขา้ ใจ ดำเนินชีวติ ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย กฎหมายเบ้อื งต้น กฎระเบียบของ ชมุ ชน สงั คมและ ประเทศมีความรู้ ความเข้าใจ หลกั การพัฒนาชุมชน สงั คม และวเิ คราะห์ ขอ้ มลู ในการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชีว้ ัด เนือ้ หา จำนวน 1 ประวัตจิ งั หวัด (ชัว่ โมง) 1. มีความร้คู วามเข้าใจ 1. ภมู ิศาสตรข์ องจงั หวัดสุพรรณบรุ สี ภาพ สพุ รรณบรุ ี 4 สภาพทางภูมิศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ของจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 8 2 วฒั นธรรม ประเพณี ของจังหวัดสุพรรณบรุ ี ของจังหวดั สุพรรณบุรี 4 2. อธิบายประวัติความ 2. ประวตั ศิ าสตรจ์ ังหวัดสุพรรณบุรี 4 5 เป็นมาของจงั หวัด ประวตั ิความเป็นมาของจังหวดั สุพรรณบุรี สุพรรณบุรตี งั้ แต่อดตี ตง้ั แต่อดตี ถงึ ปัจจุบัน ถึงปัจจบุ นั 3. มคี วามรู้ความเข้าใจ 3. เศรษฐกิจ สังคมของจงั หวัดสุพรรณบุรี สภาพเศรษฐกิจและ 1. ด้านการประกอบอาชีพ สังคมของจงั หวดั 2. ด้านการศกึ ษา สพุ รรณบรุ ี 3. ดา้ นศาสนา 4. อธิบายเขตการ 4. เขตการปกครองของจังหวดั ปกครองของ สพุ รรณบุรี จังหวัดสพุ รรณบุรี 1. อธิบายถึงวฒั นธรรม 1. วัฒนธรรม ประเพณขี องจงั หวัด ประเพณขี องจังหวัด สพุ รรณบรุ ี สพุ รรณบุรี 1.1 ภาษาท้องถน่ิ - ภาษาถ่นิ สุพรรณบุรี - ภาษากะเหร่ยี ง - ภาษาลาวโซ่ง - ภาษาลาวเวยี ง

44 ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชี้วัด เนือ้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1.2 การแตง่ กายพื้นบ้านของแต่ละทอ้ งถ่ิน 5 - ชุดไทยทรงดำ/ลาวโซ่ง - ชุดกะเหรี่ยง - ชุดลาวเวียง 1.3 ประเพณีท่ีสำคญั ของทอ้ งถิน่ 2. อธิบายถงึ ความ 2.การสืบทอดวัฒนธรรมประเพณี สำคัญของการสืบทอด (กรณตี ัวอย่าง) วฒั นธรรม ประเพณใี น จงั หวดั สุพรรณบรุ ี 3. สามารถสืบทอด 3. บคุ คลสำคัญทีม่ สี ่วนร่วมในการสืบสาน และเผยแพรว่ ัฒนธรรม วัฒนธรรม ประเพณีในจงั หวัดสพุ รรณบุรี ประเพณใี นจงั หวดั 3.1 ด้านศาสนา สุพรรณบรุ ี 3.2 ด้านการเมอื งการปกครอง 3.3 ด้านวชิ าการ 3.4 ด้านศลิ ปนิ 4. อธบิ ายคณุ ลกั ษณะ 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 11 ประการ อันพงึ ประสงค์ 11 ของคนดีศรสี พุ รรณ ประการของคนดีศรี 1) รักษาความสะอาดร่างกาย สุพรรณ บา้ นเรอื น และชุมชน 2) มีจติ สำนึกร่วมกนั อนุรักษ์ ส่ิงแวดลอ้ ม 3) มวี ิถีประชาธิปไตย 4) เปน็ ผู้ประหยัดอดออมและนิยมไทย 5) ปฏบิ ตั ิตามหลกั เบญจศีล เบญจ ธรรม หรอื หลกั ธรรมของศาสนาอน่ื ทีเ่ ดก็ และเยาวชนนบั ถอื 6) เป็นผมู้ ีมารยาทแบบไทย 7) มวี ินัยจราจร 8) เปน็ คนตรงต่อเวลา 9) ปฏบิ ตั ิตนในการเขา้ แถวเรียงลำดบั กอ่ น-หลงั ในการรับบริการตา่ ง ๆ

45 ท่ี หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน 3 การประกอบอาชพี (ชัว่ โมง) 10) ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บและ ในจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 2 ข้อบงั คบั ของโรงเรียนและกลุ่มโดย 3 4 แหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว 10 จงั หวดั สุพรรณบุรี เครง่ ครัด 5 11) ไมพ่ วั พันยาเสพตดิ 5 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. ความหมาย ความสำคญั ในการ ความหมาย ความสำคัญ ประกอบอาชีพ ในการประกอบอาชีพ 1.1 ความหมายของอาชพี 2. อธิบายลักษณะของ 1.2 ความสำคัญของอาชพี งานอาชีพ 2. ลักษณะของงานอาชพี 2.1 อาชพี รับจ้าง 2.2 อาชพี อิสระ 3. บอกอาชพี หลกั ใน 3. อาชพี หลกั ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จังหวัดสุพรรณบรุ ี 3.1 ด้านเกษตรกรรม 3.1.1 การปลกู พืช 3.1.2 การเลีย้ งสัตว์ 3.2 ด้านศลิ ปหัตถกรรม 3.3 ด้านอตุ สาหกรรม 4. อธบิ ายคณุ ธรรม 4. คุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบ จริยธรรมในการ อาชพี ประกอบอาชีพและนำมา 4.1 คณุ ธรรมในการทำงาน ปฏบิ ัติ ประยกุ ต์ใชใ้ น 4.2 จริยธรรมในการทำงาน ชวี ิตประจำวนั 1. บอกประเภทของ 1. ประเภทของแหลง่ ท่องเที่ยว แหลง่ ท่องเท่ียว 1.1 แหล่งทอ่ งเทีย่ วเชิงนิเวศ 1.2 แหลง่ ท่องเทย่ี วทางศิลปะ วทิ ยาการ 1.3 แหลง่ ท่องเท่ยี วทาง ประวัตศิ าสตร์