Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยสาเหตุการขาดสอบภาคเรียนที่ 1/2565

วิจัยสาเหตุการขาดสอบภาคเรียนที่ 1/2565

Description: วิจัยสาเหตุการขาดสอบ

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจัยในชนั้ เรยี น เรอ่ื ง การศกึ ษาสาเหตกุ ารขาดสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 และภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ผู้วจิ ัย นางสมควร วงษแ์ กว้ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางปลามา้ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั สพุ รรณบุรี สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเล่มนี้ เป็นรายงานการวิจัยเก่ียวกับการศึกษาสาเหตุการขาดสอบ ปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ของนักศึกษา กศน.อำเภอ บางปลามา้ ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ของนกั ศึกษา กศน.อำเภอบางปลาม้า โดยให้ความสำคญั แก่นกั ศกึ ษาเป็นหลกั นำข้อมูลที่ได้ไป วางแผน หาแนวทางแก้ไขปัญหานักศึกษาขาดสอบปลายภาคเรียน และเป็นแนวทางในการเข้าสอบของนักศึกษา ในปลายภาคเรียนถดั ไป นางสมควร วงษ์แกว้ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอบางปลามา้

1. ชอื่ เรื่อง การศึกษาสาเหตกุ ารขาดสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 2. ความเปน็ มาและความสำคญั ของการแกป้ ญั หาวิจัย การศึกษาถือวา่ เปน็ เร่อื งท่ีสำคญั มากสำหรบั ทกุ ประเทศ เพราะเป็นตน้ กำเนิดแหง่ การพัฒนา ท่ีไม่หยุดย้ัง ของคน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดแนวทางในการ ปฏิรูปการศึกษา โดยให้ ความสำคัญแก่ผู้เรียนเป็นหลัก เพ่ือรองรับกระแสของการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม และ เทคโนโลยี ให้ความสำคัญสูงสุดในกระบวนการปฏิรูปการเรียนรู้ ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รู้จักแสวงหาความรู้ได้อย่ างต่อเนื่องตลอดชีวิต แนวทางการจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดแนวทางไว้ ในมาตรา 24 คือ จัดเน้ือหาสาระให้สอดคล้องกับ ความสนใจและความถนดั ของผู้เรียน โดยคำนึงถงึ ความแตกตา่ ง ระหว่างบคุ คล จัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ไดเ้ รียนร้จู ากประสบการณ์จรงิ จัดกจิ กรรมให้นกั เรียนไดฝ้ ึกปฏบิ ัติให้นักเรยี น คดิ เป็น ทำเป็น ปลูกฝัง คณุ ธรรมทุกสาขาวิชา โดยมเี ป้าหมายให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เปน็ คนดี เป็นคนเก่ง และมีความสุขอย่างแทจ้ รงิ กศน.อำเภอบางปลามา้ ได้ดำเนินการรวบรวมแนวคิดทางทฤษฎีการเรียนรู้ และเสนอ แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนได้ พัฒนา เต็มความสามารถทั้งดา้ นความรู้ จติ ใจ อารมณ์ และทักษะตา่ ง ๆ 2. ลดการถ่ายทอดเน้ือหาวิชาลง ผู้เรียนกับผู้สอนมีบทบาทร่วมกัน ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการแสวงหาความรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนจากประสบการณ์จริงท่ีเป็นประโยชน์และสัมพันธ์กับชีวิตจริงเรียนรู้ ความจริงในตัวเอง และความจรงิ จากสง่ิ แวดลอ้ มจากแหลง่ เรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย 3. กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการทดสอบปฏิบัติด้วยตนเอง ครูทำ หน้าที่ เตรียมการจัดส่ิงเร้า ให้คำปรึกษา วางแนวกิจกรรมและประเมินผล ดังน้ันแนวคิดการจัดการ เรยี นการสอนท่ียึด ผู้เรยี นเป็นสำคญั เพ่อื แก้ปัญหาการเรียนรู้วิชาพื้นฐานการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ดังนั้น เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพ ระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 การจดั กระบวนการเรียนรู้ จงึ ควรเป็นกระบวนการทางปัญญาที่พัฒนาบุคคล อยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มีความสุข บูรณาการ เนื้อหาสาระ ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้มีความรู้เก่ียวกับ ตนเองและความสัมพันธ์ของตนเอง กบั สงั คม สาระการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั ความม่ันใจของผู้เรียน ทนั สมัย เนน้ กระบวนการคิด และการปฏิบัติจริง ได้ เรียนรู้ตามสภาพจริง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้อย่างกว้างไกล เป็นกระบวนการท่ีมีทางเลือก และมี แหล่งเรียนรู้ท่ีเกี่ยวข้อง มีบรรยากาศให้เอ้ือต่อการเรียนรู้และมุ่งประโยชน์ของผู้เรียน เป็นสำคั ญ เพ่ือให้ผู้เรียน เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข จากสภาพปัญหาที่กล่าวข้างต้น ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษาสาเหตุ การขาดสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 และภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

3. คำถามวิจยั การศึกษาสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ของนักศึกษากศน.อำเภอบางปลาม้า จะทำให้ทราบถึงสาเหตุท่สี ่งผลในการขาดสอบหรอื ไม่ อยา่ งไร 4. วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั เพ่ือศึกษาสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ของนกั ศึกษากศน.อำเภอบางปลามา้ 5. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการวิจยั 1. ทราบสาเหตกุ ารขาดสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ของนกั ศึกษา กศน.อำเภอบางปลาม้า 2. นำข้อมูลท่ีได้ไปวางแผนหาแนวทางแก้ไขปัญหานักศึกษาขาดสอบปลายเรียน และเป็นแนวทาง ในการเขา้ สอบของนกั ศึกษาในปลายภาคเรียนถดั ไป 6. ตวั แปรในการวิจยั ตวั แปรอสิ ระ คือ นกั ศกึ ษา อำเภอบางปลาม้า จำนวน 85 คน ทีข่ าดสอบในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 นักศกึ ษา อำเภอบางปลาม้า จำนวน 149 คน ท่ีขาดสอบในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 ตวั แปรตาม คอื สาเหตุที่ส่งผลในการขาดสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ของนักศึกษา กศน.อำเภอบางปลามา้ 7. วิธกี ารวิจัย การวจิ ยั ครัง้ นเี้ ปน็ การวิจัยเชิงสอบถาม 8. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา กศน.อำเภอบางปลาม้า จำนวน 234 คน ท่ีขาดสอบในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 และภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 9. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวจิ ัย เครื่องมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ได้แก่ แบบสอบถามเจตคติ

10. ขั้นตอนการดำเนินการ ขัน้ ออกแบบ ผู้วิจัยดำเนินการสร้างแบบสอบถาม เพ่ือศึกษาสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 ศึกษาเทคนิคการสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสารต่าง ๆ สรา้ งแบบสอบถามเพื่อศกึ ษาสาเหตกุ ารขาดสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 และภาค เรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ภาคเรยี นละจำนวน 10 ข้อ ข้นั ดำเนนิ การ นำแบบสอบถามให้กับนกั ศึกษาทข่ี าดสอบปลายภาคเรียนท่ี2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เพอ่ื หาสาเหตุของการขาดสอบและทำการบนั ทึกคะแนน ดำเนินการเก็บข้อมลู และรวบรวมขอ้ มลู จากนกั ศึกษา นำแบบสอบถามมาทำการวิเคราะห์ขอ้ มลู ต่อไป 11. วธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมลู - วิเคราะห์ผลท่ไี ดจ้ ากแบบสอบถามด้วยอัตรารอ้ ยละ (Percentage) ผลการวิจยั จากการศึกษาสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ของนักศึกษากศน.อำเภอ บางปลามา้ มีผลวจิ ยั ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงสาเหตทุ ่ีทำให้นักศึกษาขาดสอบปลายภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 สาเหตทุ ่ีทาให้นักศกึ ษาขาดสอบปลาย จานวนนกั ศกึ ษา คิดเป็นรอ้ ยละ หมายเหตุ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 ท่ีเลอื กคาตอบ 20 1. นกั ศกึ ษาไม่สนใจ/ไมใ่ ส่ใจกบั การเขา้ สอบ (คน) 61.18 2. นกั ศกึ ษาตดิ ภาระในการทางาน/ทางานต่างจงั หวดั 17 12.94 3. นกั ศกึ ษาตดิ ภาระในการเล้ยี งดคู นในครอบครวั 52 4. ผูป้ กครองไม่ใหม้ าสอบ 11 - 5. เพ่อื นมสี ่วนทาใหน้ ักศกึ ษาไมอ่ ยากเขา้ สอบ - 2.35 6. ครไู มส่ นใจนักศึกษา ปล่อยปะละเลย 2 7. สภาพบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มของสถานทสี่ อบ - - ไม่เหมาะสม - - 8. ระยะทางไกลในการเดนิ ทางมาเขา้ สอบ 9. ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การกาหนดวนั เวลา และสถานทสี่ อบ 2 2.35 10. นักศกึ ษาตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) - - 1 รวม 85 1.18 100

จากตารางที่ 1 แสดงสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาขาดสอบปลายภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 พบว่า สาเหตุ ท่ีนกั ศึกษาไม่เข้าสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 มากที่สุดเปน็ อนั ดับที่ 1 คือ นักศึกษาติดภาระในการทำงาน/ทำงานต่างจงั หวดั คิดเปน็ ร้อยละ 61.18 สาเหตุอนั ดบั ท่ี 2 คือ นกั ศกึ ษาไม่สนใจ/ไม่ใส่ใจกับการเข้าสอบ คดิ เปน็ ร้อยละ 20 และสาเหตุอันดบั ที่ 3 คอื นกั ศกึ ษาติดภาระในการเลีย้ งดคู นในครอบครัว คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.94 ตารางที่ 1 แสดงสาเหตุที่ทำใหน้ ักศกึ ษาขาดสอบปลายภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 สาเหตุท่ีทาให้นกั ศึกษาขาดสอบปลาย จานวนนักศกึ ษา คิดเป็ นร้อยละ หมายเหตุ ภาคเรยี นท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2564 ท่ีเลอื กคาตอบ 25.50 1.นักศกึ ษาไม่สนใจ/ไม่ใส่ใจกบั การเขา้ สอบ (คน) 55.03 2.นกั ศกึ ษาตดิ ภาระในการทางาน/ทางานต่างจงั หวดั 15.44 3.นักศกึ ษาตดิ ภาระในการเล้ยี งดูคนในครอบครวั 38 4.ผูป้ กครองไม่ใหม้ าสอบ 82 - 5.เพอ่ื นมสี ว่ นทาใหน้ กั ศกึ ษาไม่อยากเขา้ สอบ 23 0.67 6.ครไู มส่ นใจนักศกึ ษา ปลอ่ ยปะละเลย - 7.สภาพบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มของสถานทสี่ อบ 1 - ไมเ่ หมาะสม - - 8.ระยะทางไกลในการเดนิ ทางมาเขา้ สอบ - 9.ไม่เหน็ ดว้ ยกบั การกาหนดวนั เวลา และสถานทส่ี อบ 10.นกั ศึกษาตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 4 2.68 -- รวม 1 0.67 149 100 จากตารางท่ี 1 แสดงสาเหตทุ ่ีทำให้นักศึกษาขาดสอบปลายภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 พบว่า สาเหตุ ท่นี ักศกึ ษาไม่เข้าสอบปลายภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 มากท่ีสุดเป็นอันดบั ที่ 1 คือ นกั ศึกษาติดภาระในการทำงาน/ทำงานตา่ งจงั หวัด คดิ เป็นร้อยละ 55.03 สาเหตุอนั ดบั ที่ 2 คือ นักศกึ ษาไม่สนใจ/ไมใ่ สใ่ จกับการเข้าสอบ คดิ เปน็ ร้อยละ 25.50 และสาเหตุอนั ดับท่ี 3 คือ นกั ศกึ ษาตดิ ภาระในการเล้ียงดคู นในครอบครวั คิดเปน็ ร้อยละ 15.44 สรปุ และอภปิ รายผล จากการศึกษาสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ของนกั ศกึ ษากศน.อำเภอบางปลามา้ สามารถสรุปและอภิปรายผล ได้ดงั นี้ สาเหตุท่ีนักศึกษาไม่เข้าสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 คือ อนั ดบั ที่ 1 คือ นกั ศกึ ษาติดภาระ ในการทำงาน/ทำงานต่างจังหวัด อันดับที่ 2 คือ นักศึกษาไม่สนใจ/ไม่ใส่ใจกับการเข้าสอบ อันดับที่ 3 คือ นกั ศึกษาติดภาระในการเลยี้ งดูคนในครอบครัว ในขณะเดียวกันนักศกึ ษาบางคนไมใ่ หค้ วามใส่ใจกับการสอบจึงไม่

มาเข้าสอบ ติดภาระในการทำงานหรือติดภาระในการเลี้ยงดูคนในครอบครัว ไม่สามารถลา/หยุดเพ่ือมาสอบได้ ดว้ ยสถานที่สอบอยู่ไกล จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ไม่สะดวกในการเดินทางมาสอบ และในขณะน้ีการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กำลังแพร่ระบาดเป็นอย่างมากจึงทำให้มีนักศึกษาบางคนติดเชื้อ ไวรสั จากโรคนี้ ทำให้ไมส่ ามารถมาเข้าสอบได้ ขอ้ เสนอแนะ 1. ผ้ปู กครองควรมีสว่ นร่วมในการให้นักศึกษาเข้าสอบในปลายภาคเรยี น 2. ครูควรศึกษาพฤตกิ รรมอนื่ ของนักศกึ ษาท่ีจะส่งผลต่อการเข้าสอบในปลายภาคเรยี นถดั ไป 3. ในการขาดสอบครง้ั ต่อไป หากนกั ศกึ ษาติดธรุ ะจำเป็นควรแจ้งครูลว่ งหน้า เพอ่ื แก้ไขปัญหาการขาดสอบ ได้ทันเวลา 4. สามารถนำสาเหตุในการขาดสอบคร้ังนี้ มาพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดสอบ ปลายภาคเรยี นถัดไปของนกั ศกึ ษาใหเ้ หมาะสม และมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น 5. ควรศึกษาเพ่ิมเติมถึงวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดในการติดตามนักศึกษาท่ีขาดสอบให้เข้ารับการสอบ เชน่ เดมิ

ภาคผนวก

แบบสอบถามสาเหตกุ ารขาดสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2564 ของนกั ศกึ ษา อาเภอบางปลามา้ คาชี้แจง : แบบสอบถามน้มี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาสาเหตกุ ารขาดสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ของ นักศกึ ษา กศน.อาเภอบางปลามา้ จงึ ขอความร่วมมอื จากนกั ศกึ ษาโปรดใหข้ อ้ มลู ตาม ความเป็นจริง ขอ้ มูลพนื้ ฐานของผ้ทู าแบบสอบถาม 1. กศน.ตาบล .......................................................................................................................... 2. ช่อื -สกลุ ............................................................................................................................... 3. รหสั นักศกึ ษา........................................................................................................................ 4. ระดบั การศกึ ษา..................................................................................................................... คาชีแ้ จง โปรดแสดงเครอ่ื งหมาย √ ในช่องทต่ี รงกบั ความเป็นจรงิ สาเหตทุ ่ีทาให้นักศึกษาขาดสอบปลาย ช่องทา หมายเหตุ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2564 เครื่องหมาย √ 1. นกั ศกึ ษาไม่สนใจ/ไม่ใสใ่ จกบั การเขา้ สอบ 2. นักศกึ ษาติดภาระในการทางาน/ทางานตา่ งจงั หวดั 3. นักศกึ ษาตดิ ภาระในการเล้ยี งดคู นในครอบครวั 4. ผูป้ กครองไม่ใหม้ าสอบ 5. เพอ่ื นมสี ่วนทาใหน้ ักศกึ ษาไมอ่ ยากเขา้ สอบ 6. ครูไมส่ นใจนักศกึ ษา ปลอ่ ยปะละเลย 7. สภาพบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มของสถานทสี่ อบ ไมเ่ หมาะสม 8. ระยะทางไกลในการเดนิ ทางมาเขา้ สอบ 9. ไม่เหน็ ดว้ ยกบั การกาหนดวนั เวลา และสถานท่ี สอบ 10. นักศกึ ษาตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)





คาตอบของแบบสอบถามสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2564 ของนักศกึ ษา กศน.อาเภอบางปลามา้

52 17 11 22 1





คาตอบของแบบสอบถามสาเหตุการขาดสอบปลายภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2565 ของนักศกึ ษา กศน.อาเภอบางปลาม้า 82 1 38 23 14