Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2563-09-10_Lecture4PvilOnClassifyByPrivateDomicile

2563-09-10_Lecture4PvilOnClassifyByPrivateDomicile

Description: เอกสารประกอบการสอนครั้งที่ ๕/๑๕

Search

Read the Text Version

    หนา้ 1/34  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล    : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร  เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓    ----------  สารบาญ  -----------  1. Lecture Notes :​ ​จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนา (หน้า ๒)  2. กรณศี กึ ษานายเปง  แหง่   อําเภอบุณฑรกิ   จังหวัดอุบลราชธาน ี :  “ภมู ลิ ําเนา”  เปนขอ้ เท็จจรงิ ที กําหนดความสามารถในการทํานิติกรรมสญั ญาของคนต่างด้าวไรส้ ญั ชาติในประเทศไทยใช่ หรอื ไม่ ? (หน้า ๑๕)   3. กรณศี กึ ษาคณุ แมป่ อมและน้องอะบไี ซเฉิงเฉิง  :  คนสญั ชาติไทย  ซงึ มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมาย มหาชนอยูใ่ นประเทศไทย  แต่มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนอยูใ่ นประเทศมาเลเซยี   ด้วย ความเปนผปู้ ระสบภัยโควิด ๑๙ ทําใหไ้ มส่ ามารถกลับไปอาศยั ในประเทศมาเลเซยี (หน้า ๒๕)   4. กรณศี กึ ษาบรษิ ัท  เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอรเ์ นชนั แนล  รสี อรท์ คลับ  จํากัด    :  นิติบุคคลตาม กฎหมายต่างประเทศอาจมภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนหรอื ไม่ ? อยา่ งไร ? (หน้า ๒๔)  5. กรณศี กึ ษาบรษิ ัทสม้ ฝาง จํากัด :​ ภมู ลิ ําเนาเปนขอ้ เท็จจรงิ ทที ําใหศ้ าลไทยรบั คดที เี จ้าหนี ซงึ เปนบรษิ ัทตามกฎหมายต่างประเทศฟองบรษิ ัทตามกฎหมายไทยใหล้ ้มละลายได้หรอื ไม่ ?  (หน้า ๒๘)  6. กรณศี กึ ษาบรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัด  :​   ภมู ลิ ําเนาเปนขอ้ เท็จจรงิ ทที ําใหศ้ าลไทยรบั คํารอ้ งขอ เพกิ ถอนมติของทปี ระชุมใหญข่ องบรษิ ัทตามกฎหมายไทย ซงึ ครอบงําโดยบรษิ ัทตามกฎหมาย ของรฐั ต่างประเทศได้หรอื ไม่ ? (หน้า ๓๐)  7. กรณศี กึ ษาบรษิ ัท ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง จํากัด : ภมู ลิ ําเนาเปนขอ้ เท็จจรงิ ทที ําใหศ้ าลไทยรบั คํา ฟองทจี ําเลยเปนบรษิ ัทตามกฎหมาย ซงึ ครอบงําโดยบรษิ ัทตามกฎหมายต่างประเทศได้หรอื ไม ่ ? (หน้า ๓๒)    กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 2/34  #เอกสารหมายเลขที ๑  LectureNotes ว่าด้วยการจัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนา    -------------------------------------------------------  1. ทําไมนานารฐั จึงใช้ “ภมู ลิ ําเนา” ในการจัดสรรเอกชนในทางระหว่างประเทศค่ขู นานกับ สญั ชาติ ?   -----------------------------------------------------  เราทราบแล้วว่า  โดยทางปฏิบตั ิของนานารฐั   “ภมู ลิ ําเนา”  ทังตามกฎหมายเอกชนและตาม กฎหมายมหาชน  นาํ  “เอกชน”  ทัง (๑)  มนษุ ย1์  และ (๒) นติ ิบุคคลตามกฎหมายเอกชนทีมนษุ ยก์ ่อตังขนึ   ไปพบ  “รฐั เจ้าของตัวบุคคล  (Personal  State)”  ของเอกชนทัง  ๒  ลักษณะน ี ซงึ รฐั ดังกล่าวยอ่ มมที ังเขต อํานาจเหนอื ตัวตนของเอกชนดังกล่าว  อันหมายถึง  (๑)  การรบั รองสทิ ธ ิ และ  (๒)  การกําหนดหนา้ ที  ของ เอกชนดังกล่าว     1 ซ​ ึงประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ของรัฐไทยเรียกว่า “บุคคลธรรมดา” หรือ “Natural Persons”  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 3/34  จึงควรทเี ราจะทบทวนความคิดความเขา้ ใจใน “ความผกู พนั ” หรอื  “สมั พนั ธภาพ” ระหว่างรฐั เจ้าของดินแดนและเอกชนทเี รยี กว่า “ภมู ลิ ําเนา” มใิ ชห่ รอื ?   “ภมู ลิ ําเนา  (Domicile)”  เปนสงิ ทีถกู ใชใ้ นกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  เพอื จัดสรร เอกชนในทางระหว่างประเทศ  ค่ขู นานกับสญั ชาติ  ในขณะทีสญั ชาติจําแนกเอกชนโดยความผกู พนั ทางการเมอื งกับรฐั   ภมู ลิ ําเนาก็เปนการจําแนกเอกชนโดยความผกู พนั ทางขอ้ เท็จจรงิ ว่า  เอกชนนนั อยูบ่ น ดินแดนของรฐั ใด ดังนนั  \"​ ภมู ลิ ําเนาจึงเปนทอี ยูต่ ามกฎหมาย (siège légal) ของบุคคล กล่าวคือ เปนทที ี ถือหรอื สมมติว่า  บุคคลผนู้ ันอยูท่ นี ันเสมอไป  แมค้ วามจรงิ   เขาจะได้เดินทางไปเสยี จากทนี ันแล้ว  เปนต้น2”  ​เมอื กล่าวถึงภมู ลิ ําเนาของบุคคลในทางระหว่างประเทศยอ่ มหมายถึงประเทศซงึ บุคคลนนั มี ความผกู พนั อยู ่ ​ฉะนัน  “ความหมายของภมู ลิ ําเนาในทางกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล  จึง น่าจะหมายความถึงสงิ ซงึ ผกู พนั บุคคลไว้ตามกฎหมายกับสถานทใี นเขตท้องทแี หง่ ประเทศใดประเทศ หนึง”3  โดยขอ้ เท็จจรงิ   บุคคลยอ่ มมคี วามผกู พนั กับ  “บา้ น”  อันเปนสถานทีทีตนอาศยั อยูเ่ ปนประจํา  นกั กฎหมายเรยี กสมั พนั ธภาพนวี ่า  \"ภมู ลิ ําเนา\"  (Domicile)  ​ความผกู พนั ทเี กิดขนึ น ี จึงมใิ ชเ่ ปนเพยี งความ ผกู พนั ระหว่างบุคคลกับสถานทเี ท่านัน  แต่ยงั เปนความผกู พนั ระหว่างบุคคลกับรฐั เจ้าของสถานทอี กี ด้วย  ม​ นั จึงเปนเรอื งของ  “Principle  of  Socialization”  หรอื   “หลักว่าด้วยความกลมกลืนระหว่าง เอกชนและสงั คมของรฐั เจ้าของดินแดน”    จึงเปนเหตผุ ลทีว่า ทําไมรฐั จึงมกั จะใชภ้ มู ลิ ําเนาในการจัดสรร เอกชนในทางระหว่างประเทศ  รฐั มกั จะใหค้ วามแตกต่างระหว่างคนทีมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศของตน  และคนทีไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศของตน  สทิ ธขิ องคนสญั ชาติทีมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศยอ่ มมสี ถานะ ทีดีกว่าสทิ ธขิ องคนสญั ชาติทีไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศ  สทิ ธขิ องคนต่างด้าวทีมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศ ยอ่ มมสี ถานะทีดีกว่าสทิ ธขิ องคนต่างด้าวทีไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศ  ในทางปฏิบตั ิของนานารฐั   เราจึง พบว่า นานารฐั จึงใชภ้ มู ลิ ําเนาในการจัดสรรเอกชนในทางระหว่างประเทศควบค่ไู ปกับสญั ชาติ4  --------------------------------------------------------------------------  2. การนิยามและจําแนก “ภมู ลิ ําเนาของเอกชน” ตามแนวปฏิบตั ิของนานารฐั   --------------------------------------------------------------------------  2.1. นิยามคําว่า “ภมู ลิ ําเนาของบุคคล”  โดยหลักคิดทัวไป  คําว่า  \"ภมู ลิ ําเนา\"  ในแต่ละรฐั  มคี วามหมายตามทีกฎหมายของรฐั นนั ๆ  กําหนด ดังนนั  ผทู้ ีจะถกู ถือว่า \"มภี มู ลิ ําเนาไทย\" ก็คือ ผซู้ งึ มขี อ้ เท็จจรงิ ตามขอ้ กําหนดของกฎหมายไทยว่า ด้วยภมู ลิ ําเนา  หรอื ผทู้ ีจะถกู ถือว่า  \"มภี มู ลิ ําเนาจีน\"  ก็คือ  ผซู้ งึ มขี อ้ เท็จจรงิ ตามขอ้ กําหนดของกฎหมายจีน ว่าด้วยภมู ลิ ําเนา  และก็เปนไปได้ทีว่า  บุคคลหนงึ จะมที ังภมู ลิ ําเนาจีนตามกฎหมายจีนและภมู ลิ ําเนาไทย ตามกฎหมายไทย หลักทีจะต้องตระหนกั ในการกําหนดภมู ลิ ําเนาของบุคคลในแต่ละครงั  ก็คือ ถ้าปรากฏว่า  2  สมทบ  สุวรรณสุทธิ,  ​กฎหมายแพ่งและพาณิชยว์ ่าด้วยบุคคล,  ๒๔๙๙,  หน้า ๖๔ - ๑๐๙; จิตติ ติงศภัทิย์, ค​ ําอธิบายประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ ว่าด้วยบุคคล,  โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,  กทม., พิมพ์ครังที ๓, ๒๕๑๙, หน้า ๑, ๒๕ - ๓๒,  ๖๒ - ๖๗   3 วิเชียร วัฒนคุณ, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล, ๒๕๐๘ , หน้า ๑๒๙  4 หยุด แสงอุทัย, ก​ ฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล, ๒๕๑๖, น.๑๙๓; วิเชียร วัฒนคุณ, กฎหมายระหว่างประเทศแผนก คดบี ุคคล,  ๒๕๐๘,  น.๑๒๘-๑๓๖,  ๑๔๓-๑๔๔;  กมล  สนธิเกตริน,  ​กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล,  ​๒๕๒๑,  น.๑๒๖- ๑๓๑, ๑๓๖; ภิญโญ พินัยนิติศาสตร์, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล, ๒๕๓๓, น.๑๗-๒๙.  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 4/34  จะต้องพจิ ารณากําหนดภมู ลิ ําเนาในประเทศใด  ก็จะต้องใชก้ ฎหมายภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายของประเทศ นนั ตามหลักกฎหมายทัวไปทีว่า \"ถ้อยคําของกฎหมายใดยอ่ มมคี วามหมายตามกฎหมายนนั \"  แต่เมอื มาลงลึกพจิ ารณาเนอื หาของ  “กฎหมายว่าด้วยภมู ลิ ําเนา”  ในทางปฏิบตั ิของนานา รฐั   ก็ไมม่ คี วามแตกต่างในสาระสาํ คัญ  และเมอื กลับมาพจิ ารณา  “การใชภ้ มู ลิ ําเนาในการจัดสรรเอกชนใน ทางระหว่างประเทศ” ก็ไมพ่ บความแตกต่างในสาระสาํ คัญเชน่ กัน   นานารฐั ยอมรบั ในทางปฏิบตั ิว่า โดยทัวไป  “บา้ น” หรอื  “ทีอยูอ่ าศยั ” ก็คือภมู ลิ ําเนาของ บุคคลธรรมดาหรอื บุคคลตามธรรมชาติหรอื มนษุ ย ์ ในสว่ นของนติ ิบุคคลนนั   “สาํ นกั งานใหญท่ ีแท้จรงิ ”  หรอื   “ทีทํางาน” หรอื   “สาํ นกั งานตามตราสารจัดตัง” ก็คือ ภมู ลิ ําเนาของนติ ิบุคคล ซงึ เปนนวตกรรมทาง กฎหมายของมนษุ ย ์ ซงึ กฎหมายไทยก็ยอมรบั ในทิศทางน ี ดังจะเหน็ ว่า มาตรา ๓๗ แหง่ ประมวลกฎหมาย แพง่ และพาณชิ ย ์ ก็บญั ญตั ิว่า  ​“ภมู ลิ ําเนาของบุคคลธรรมดา  ได้แก่  ถินอันบุคคลนันมสี ถานทอี ยูเ่ ปน แหล่งสาํ คัญ”  ในขณะทีมาตรา  ๖๘  แหง่ ประมวลน ี ก็บญั ญตั ิว่า  “​ ภมู ลิ ําเนาของนิติบุคคลได้แก่  ถินอัน เปนทตี ังสาํ นักงานใหญ ่ หรอื ถินอันเปนทตี ังทที ําการ  หรอื ถินทไี ด้เลือกเอาเปนภมู ลิ ําเนาเฉพาะการ ตามขอ้ บงั คับหรอื ตราสารจัดตัง”    และมาตรา  ๖๙  บญั ญตั ิว่า  “​ ในกรณที นี ิติบุคคลมที ตี ังทําการหลาย แหง่ หรอื มสี าํ นักงานสาขา  ​ใหถ้ ือว่า ถินอันเปนทตี ังของทที ําการหรอื ของสาํ นักงานสาขา ​เปนภมู ลิ ําเนา ในสว่ นกิจการอันได้กระทํา ณ ทนี ันด้วย”  2.2. ความเหมอื นทางความคิดในเรอื งของภมู ลิ ําเนาของเอกชน  ความเหมอื นนนี าํ ไปสหู่ ลักคิดสากลในเรอื งภมู ลิ ําเนาของเอกชน  เราอาจมขี อ้ สงั เกตใน ความเหมอื นของกฎหมายของนานารฐั ว่าด้วยภมู ลิ ําเนาใน ๔​ ประเด็นสาํ คัญ ดังน ี   ในประการแรก  ภมู ลิ ําเนาในทางปฏิบตั ิของนานารฐั   ถกู ใชใ้ นการจัดสรรระหว่างประเทศ ทังในเรอื งของบุคคลธรรมดา  และในเรอื งของนติ ิบุคคลตามกฎหมายเอกชนทีบุคคลธรรมดาหรอื มนษุ ยก์ ่อ ตังขนึ     ในประการทสี อง  ภมู ลิ ําเนาโดยขอ้ เท็จจรงิ ของบุคคลมกั ถกู กําหนดไว้ในกฎหมายเอกชน ภายในของรฐั   และภมู ลิ ําเนานกี ็จะถกู จําแนกเปน  ๓  ประเภท  ก็คือ  (๑)  ภมู ลิ ําเนาโดยการเกิด  หรอื ภมู ลิ ําเนาของผเู้ ยาว์  (๒) ภมู ลิ ําเนาโดยสมคั รใจของบุคคลบรรลนุ ติ ิภาวะ ซงึ อาจเปนโดยทัวไป หรอื เฉพาะ การ  และ (๓) ภมู ลิ ําเนาของบุคคลทีมสี ถานะพเิ ศษ กล่าวคือ คนไรค้ วามสามารถ ค่สู มรส เจ้าหนา้ ทีของรฐั   นกั โทษ  ในประการทสี าม  นอกจากภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนแล้ว  นานารฐั ยงั มที างปฏิบตั ิใน การออกกฎหมายมากําหนดภมู ลิ ําเนาในกรณพี เิ ศษใหแ้ ก่เอกชน  อาทิ  (๑)  ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายการ ทะเบยี นราษฎร  (๒)  ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายการทะเบยี นคนต่างด้าว  (๓)  ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายวิธี พจิ ารณาความแพง่ โดยทัวไป (๔) ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายล้มละลาย เปนต้น   ในประการทสี  ี   กฎหมายของนานารฐั จึงรบั รองภมู ลิ ําเนาของเอกชนใน  ๒ ลักษณะ กล่าว คือ  (๑)  ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน  ซงึ ไมม่ กี ารแทรกแซงของรฐั   และ  (๒)  ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมาย มหาชน ซงึ มกี ารแทรกแซงของรฐั  ดังนนั  จึงเปนไปได้ทีมนษุ ยจ์ ะ “ม”ี  ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนอยูใ่ น ประเทศไทย  เพราะอาศยั อยูจ่ รงิ ในประเทศไทย  แต่คนดังกล่าว  “กลับไมม่ ”ี   ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมาย มหาชนในประเทศไทย  และก็เปนไปได้เชน่ กันทีมนษุ ยจ์ ะ  “ไมม่ ”ี   ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนอยูใ่ น กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 5/34  ประเทศไทย  เพราะอาศยั อยูจ่ รงิ ในประเทศไทย  แต่คนดังกล่าว  “กลับม”ี   ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายมหาชน ในประเทศไทย    ขอใหต้ ระหนกั อีกว่า  ผมู้ ภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนไทยอาจเปนคนสญั ชาติไทย  หรอื เปนคนต่างด้าวทีมสี ทิ ธอิ าศยั ในประเทศไทยตามกฎหมายคนเขา้ เมอื ง หรอื ไม่ ก็ได้     2.3. ความแตกต่างทางความคิดในเรอื งของภมู ลิ ําเนาของเอกชน  แนวความคิดว่าด้วยการจัดสรรเอกชนในทางระหว่างประเทศโดยภมู ลิ ําเนา  พบในทกุ ประเทศ  รฐั แต่ละรฐั มกั จะมกี ฎหมายเอกชนว่าด้วยภมู ลิ ําเนาของตนเอง  แต่ถ้อยคําและความเขา้ ใจในราย ละเอียดอาจจะแตกต่างกัน  จึงอาจจะจัดกล่มุ กฎหมายภายในของรฐั ว่าด้วยภมู ลิ ําเนาออกเปน  ๒  กล่มุ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 6/34  ใหญๆ่   กล่าวคือ  (๑)  กฎหมายว่าด้วยภมู ลิ ําเนาของกล่มุ ประเทศ  Civil  Law  และ  (๒)  กฎหมายว่าด้วย ภมู ลิ ําเนาของกล่มุ ประเทศ  Common  Law  เพราะคําว่า  \"ภมู ลิ ําเนา\"  มคี วามหมายทีแตกต่างกันในระบบ กฎหมายแบบ Common Law และระบบกฎหมายแบบ Civil Law  2.3.1. แนวคิดเรอื งภมู ลิ ําเนาของเอกชนในกฎหมายของรฐั ในระบบกฎหมายแบบ  Civil Law  เราพบว่า  กฎหมายว่าด้วยภมู ลิ ําเนาของกล่มุ ประเทศ  Civil  Law  มกั จะใหค้ ํา อธบิ ายคําว่า \"ภมู ลิ ําเนา\" ตามกฎหมายของตนอยา่ งชดั เจนในประมวลกฎหมายแพง่  อาทิ มาตรา ๓๗ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยไ์ ทย  กําหนดว่า  \"​ ภมู ลิ ําเนาของบุคคลธรรมดาได้แก่ถินอันบุคคลนนั มี สถานทีอยูเ่ ปนแหล่งสาํ คัญ\" ​หรอื ประมวลกฎหมายแพง่ อิตาลี กําหนดว่า \"The domicile of a person is in  the place where he has established the principal center of his business and interests\"  นอกจากนนั   กล่มุ ประเทศ  Civil  Law  เหน็ ว่า  “สญั ชาติ”  เปนขอ้ เท็จจรงิ หลักที แสดงถึงจุดเกาะเกียวทีใกล้ชดิ ทีสดุ ระหว่างรฐั กับเอกชน  จึงมไิ ด้ใช ้ “ภมู ลิ ําเนา”  เปนขอ้ เท็จจรงิ หลักที แสดงถึงจุดเกาะเกียวทีใกล้ชดิ ทีสดุ ระหว่างรฐั กับเอกชน  ดังเชน่ ในระบบกฎหมายแบบ  Common  Law  ใน การกําหนดปญหาบุคคลในสว่ นทีเกียวกับการขดั กันแหง่ กฎหมายเอกชน  ดังนนั   กล่มุ ประเทศ  Civil  Law  จึงกําหนดใหป้ ญหาความเปนบุคคลของทังบุคคลธรรมดาหรอื นติ ิบุคคล  ตกอยูภ่ ายใต้กฎหมายของรฐั เจ้าของสญั ชาติ มใิ ชร่ ฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนา  ดังปรากฏตามมาตรา ๑๐ วรรค ๑ แหง่  พ.ร.บ.ว่าด้วยการขดั กัน แหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  ของรฐั ไทย  ซงึ บญั ญตั ิว่า  ​“ความสามารถและความไรค้ วามสามารถของบุคคล ยอ่ มเปนไปตามกฎหมายสญั ชาติของบุคคลนนั ”    อยา่ งไรก็ตาม  กล่มุ ประเทศ  Civil Law จะยอมรบั ใหใ้ ช ้ “ภมู ลิ ําเนา” เปนขอ้ เท็จ จรงิ หลักทีแสดงถึงจุดเกาะเกียวทีใกล้ชดิ ทีสดุ ระหว่างรฐั กับเอกชนแทน “สญั ชาติ” ก็เพยี งในสถานการณท์ ี บุคคลไรส้ ญั ชาติหรอื มหี ลายสญั ชาติ  ดังปรากฏตามมาตรา  ๖  วรรค  ๔  แหง่   พ.ร.บ.ว่าด้วยการขดั กันแหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  ของรฐั ไทย  ซงึ บญั ญตั ิว่า  “​ สาํ หรบั บุคคลผไู้ รส้ ญั ชาติ  ใหใ้ ชก้ ฎหมายภมู ลิ ําเนาของ บุคคลนนั บงั คับ  ถ้าภมู ลิ ําเนาของบุคคลนนั ไมป่ รากฏ  ใหใ้ ชก้ ฎหมายของประเทศซงึ บุคคลนนั มถี ินทีอยู่ บงั คับ”  2.3.2. แนวคิดเรอื งภมู ลิ ําเนาของเอกชนในกฎหมายของรฐั ในระบบกฎหมายแบบ  Common Law  นกั กฎหมายในระบบกฎหมาย  Common  Law  เขา้ ใจคําว่า  \"ภมู ลิ ําเนา\"  น ี ใน ลักษณะทีแตกต่างจากนกั กฎหมายในระบบกฎหมาย Civil Law และใหค้ วามสาํ คัญแก่ “ภมู ลิ ําเนา” ในการ กําหนดสถานะบุคคลตามกฎหมาย  โดยไมค่ ํานงึ ถึงสญั ชาติ  ทังน ี เพราะนกั กฎหมายในระบบกฎหมาย  Common  Law  เหน็ ว่า  “ภมู ลิ ําเนา”  เปนขอ้ เท็จจรงิ หลักทีแสดงถึงจุดเกาะเกียวทีใกล้ชดิ ทีสดุ ระหว่างรฐั กับเอกชน ดังนนั  สาํ หรบั กฎหมายขดั กันของประเทศในตระกลู กฎหมายแบบ Common Law อาทิ อังกฤษ  หรอื เมยี นมา  หรอื สหรฐั อเมรกิ า หรอื สงั คโปร ์ จึงจึงกําหนดใหป้ ญหาความเปนบุคคลของทังบุคคลธรรมดา หรอื นติ ิบุคคล ตกอยูภ่ ายใต้กฎหมายของรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนา มใิ ชร่ ฐั เจ้าของสญั ชาติ     กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 7/34  2.3.3. การหลกี เลยี งการขดั กันของการตคี วามคําว่า “ภมู ลิ ําเนา” ทเี กิดขนึ ระหว่าง ระบบกฎหมาย Common Law และนักระบบกฎหมาย Civil Law  อยา่ งไรก็ตาม  เพอื หลีกเลียงการขดั กันของการตีความคําว่า  “ภมู ลิ ําเนา”  ทีเกิด ขนึ ระหว่างระบบกฎหมาย  Common  Law  และนกั ระบบกฎหมาย  Civil  Law  จะเหน็ ว่า ทีประชุมเพอื การ ทํากฎหมายใหเ้ ปนเอกรูป (Conference on Unification of Laws) หรอื กฎหมายแพง่ ภายในในยุคปจจุบนั จึงพยายามจะหลีกเลียงคําว่า  \"ภมู ลิ ําเนา\"  (Domicile)  ซงึ เปนคําศพั ท์ในทางกฎหมาย  โดยหนั ไปหาคําที เปนธรรมดาทีสดุ   ก็คือ  คําว่า  \"ถินทีอยูถ่ าวร  (Permanent  Residence)\"  ​เชน่  ประมวลกฎหมายแพง่ ญปี ุน กําหนดว่า \"The base and center of living of each person shall be his permanent residence\"   ------------------------------------------------------------  3. บทบาทของภมู ลิ ําเนาในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล  ---------------------------------------------------------------  เราพบว่า  ภมู ลิ ําเนามอี ยา่ งนอ้ ย  ๔  บทบาทในทางปฏิบตั ิของนานารฐั   อันนาํ ไปสหู่ ลักกฎหมาย ระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล กล่าวคือ   3.1. บทบาทของภมู ลิ ําเนาเพอื เลือกกฎหมายกําหนดสทิ ธิและสถานะบุคคลในสถานการณ์ การขดั กันแหง่ กฎหมายเอกชนทเี กิดในแต่ละนิติสมั พนั ธ์ตามกฎหมายเอกชน   สาํ หรบั ประเทศไทย  ในยุคต้นของการก่อตังวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  นกั นติ ิศาสตรไ์ ทยเรมิ อธบิ ายคําว่า  \"ภมู ลิ ําเนา\"  ตามแนวความคิดของระบบกฎหมายแบบ  Common  Law  ในการจัดการปญหาความเปนบุคคลและความเปนครอบครวั   แต่เมอื ประกาศใช ้ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขดั กัน แหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  ในวันที  ๒๐  มนี าคม  พ.ศ.๒๔๘๑  กฎหมายขดั กันของไทยก็เปนกฎหมายลาย ลักษณอ์ ักษรนบั ตังแต่นนั   แต่อยา่ งไรก็ตาม  กฎหมายขดั กันฉบบั นไี มไ่ ด้เดินตามหลักแหง่ กฎหมายอังกฤษ  แต่เดินตามหลักกฎหมายขดั กันของประเทศภาคพนื ยุโรป  การอธบิ ายในตํารากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคลของไทยจึงมไิ ด้ทําโดยอาศยั หลักกฎหมายอังกฤษอีกต่อไป  สถานะของบุคคลจึงตกอยูภ่ าย ใต้กฎหมายแหง่ รฐั เจ้าของสญั ชาติของบุคคล  โอกาสทีจะใชก้ ฎหมายภมู ลิ ําเนาในกฎหมายขดั กันจึงเหลือ นอ้ ยลง  แต่อยา่ งไรก็ตาม  ก็ยงั ม ี ๗  สถานการณท์ ียงั ต้องใชก้ ฎหมายว่าด้วยภมู ลิ ําเนาอยูอ่ ีกในกฎหมายขดั กันของไทย  กล่าวคือ  (๑)  กรณที ีบุคคลไมม่ สี ญั ชาติ5  (๒)  กรณบี ุคคลทีมหี ลายสญั ชาติทีได้รบั มาครงั เดียวกัน6  (๓)  กรณกี ารจัดการคนไมอ่ ยูก่ ่อนการฟองขอใหส้ าบสญู 7  (๔)  กรณกี ารจัดการคนต่างด้าวไร้ 5 ​ดังปรากฏตามมาตรา  ๖  วรรค  ๔  แหง่   พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  ซึงบัญญัติว่า  “สาํ หรบั บุคคลผูไ้ ร้ สญั ชาติ ใหใ้ ช้กฎหมายภูมิลําเนาของบุคคลนนั บงั คับ ถ้าภูมิลําเนาของบุคคลนนั ไมป่ รากฏ ใหใ้ ช้กฎหมายของประเทศซงึ บุคคลนนั มีถินทีอยูบ่ งั คับ”  6 ​ดังปรากฏตามมาตรา  ๖  วรรค  ๒  แหง่  พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ซึงบัญญัติว่า “​ ถ้าจะต้องใช้กฎหมาย สญั ชาติบงั คับ  และบุคคลมีสญั ชาติตังแต่สองสญั ชาติขึนไปอันได้รบั มาคราวเดียวกัน  ใหใ้ ช้กฎหมายสญั ชาติของประเทศซงึ บุคคล นนั มีภูมิลําเนาอยูบ่ งั คับ  ถ้าบุคคลนนั มีภูมิลําเนาอยูใ่ นประเทศอืนนอกจากประเทศซงึ ตนมีสญั ชาติสงั กัดอยู ่ ใหใ้ ช้กฎหมาย ภูมิลําเนาในเวลายืนฟองบงั คับ ถ้าภูมิลําเนาของบุคคลนนั ไมป่ รากฏใหใ้ ช้กฎหมายของประเทศซงึ บุคคลนนั มีถินทีอยูบ่ งั คับ”  7 ด​ ังปรากฏตามมาตรา  ๑๑  วรรค  ๑  แหง่   พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  ซึงบัญญัติว่า  “ถ้าคนต่างด้าวใน ประเทศสยามได้ไปเสยี จากภูมิลําเนาและถินทีอยูต่ ามเงือนไข  ซงึ ระบุไว้ในมาตรา  ๕๓  และ  ๕๔  แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และ พาณชิ ย์ การทีศาลสยามจะสงั การใหท้ ําพลางตามทีจําเปนนนั ใหเ้ ปนไปตามกฎหมายสยาม”  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 8/34  ความสามารถ8  (๕)  กรณกี ารจัดการสาระสาํ คัญและผลของสญั ญาก่อนสมรสระหว่างคนต่างสญั ชาติกัน9 ( ๖)  กรณกี ารจัดการมรดกอันเกียวกับสงั หารมิ ทรพั ย1์ 0  และ  (๗)  กรณกี ารจัดการพนิ ยั กรรมในหลายกรณ ี อันได้แก่  ๑.การจัดการผลของพนิ ยั หรรมและการตีความพนิ ยั กรรม ตลอดจนการเสยี เปล่าของพนิ ยั กรรม 11 ๒.การจัดการการเพกิ ถอนพนิ ยั กรรม12 และ ๓.การจัดการการตกไปของพนิ ยั กรรม13  3.2. บทบาทของภมู ลิ ําเนาเพอื กําหนดหน้าทขี องเอกชน   อยา่ งน้อย ๒ สถานการณ์ทีนานารฐั ใชภ้ มู ลิ ําเนาในการกําหนดหนา้ ทีของเอกชน   ในประการแรก  เรายงั พบในทางปฏิบตั ิของนานารฐั ในกฎหมายเลือกตังว่า  ภมู ลิ ําเนาตาม กฎหมายมหาชนยงั เปนตัวกําหนดสถานทีใชส้ ทิ ธเิ ลือกตังทางการเมอื ง  หรอื สมคั รรบั เลือกตังทางการเมอื ง  ประเทศไทยก็อยูใ่ นทางปฏิบตั ิน ี ดังจะเหน็ ว่า  มาตรา  ๓๑14  แหง่   พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ว่า ด้วยการเลือกตังสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑15  ในประการทสี อง  ในทางปฏิบตั ิของนานารฐั ในเรอื งการรบั ราชการทหาร  ภมู ลิ ําเนายงั เปนตัวกําหนด  “สถานทีมนษุ ยต์ ้องแสดงตนเพอื เขา้ สหู่ นา้ ทีรบั ราชการทหาร\"  ประเทศไทยก็อยูใ่ นทาง 8 ด​ ังปรากฏตามมาตรา ๑๒ วรรค ๑  แหง่  พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ซึงบัญญัติว่า “เหตุทีศาลสยามจะสงั ใหค้ นต่างด้าวซงึ มีภูมิลําเนาหรอื ถินทีอยูใ่ นประเทศสยามอยูใ่ นความอนุบาลหรอื อยูใ่ นความพทิ ักษ์ได้นนั   ใหเ้ ปนไปตามกฎหมาย สญั ชาติของบุคคลนนั  อยา่ งไรก็ดี มิใหศ้ าลสยามสงั ใหบ้ ุคคลเชน่ ว่านนั อยูใ่ นความอนุบาล หรอื อยูใ่ นความพทิ ักษ์ โดยอาศยั เหตุซงึ กฎหมายสยามมิได้ยอมใหก้ ระทํา”  9 ด​ ังปรากฏตามมาตรา ๒๕ วรรค ๑  แหง่  พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ซึงบัญญัติว่า ​“ถ้าคู่สญั ญามีสญั ชาติ อันเดียวกัน  สงิ ซงึ เปนสาระสาํ คัญและผลแหง่ สญั ญาก่อนสมรส  ใหเ้ ปนไปตามกฎหมายสญั ชาติอันรว่ มกันแหง่ คู่สญั ญา  ถ้าคู่ สญั ญาไมม่ ีสญั ชาติอันเดียวกัน  สงิ ซงึ เปนสาระสาํ คัญและผลแหง่ สญั ญาก่อนสมรสเชน่ ว่านนั   ใหเ้ ปนไปตามกฎหมายซงึ คู่สญั ญา เจตนา  หรอื พงี สนั นษิ ฐานได้ว่าได้มีเจตนาทีจะยอมอยูใ่ ต้บงั คับแหง่ กฎหมายนนั   ถ้าไมม่ ีเจตนาเชน่ ว่านนั   ใหเ้ ปนไปตามกฎหมาย แหง่ ประเทศทีคู่สมรสตังภูมิลําเนาครงั แรกหลังจากการสมรส”  10 ​ดังปรากฏตามมาตรา ๓๘ แหง่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ซึงบัญญัติว่า “ในสว่ นทีเกียวกับ สงั หารมิ ทรพั ย์ มรดกโดยสทิ ธโิ ดยธรรมหรอื โดยพนิ ยั กรรม ใหเ้ ปนไปตามกฎหมายภูมิลําเนาของเจ้ามรดกในขณะทีเจ้ามรดกถึงแก่ ความตาย”  11 ​ดังปรากฏตามมาตรา ๔๑ แหง่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ซึงบัญญัติว่า “ผลและการตีความพนิ ยั กรรม ก็ดี ความเสยี เปล่าแหง่ พนิ ยั กรรมหรอื ข้อกําหนดพนิ ยั กรรมก็ดี ใหเ้ ปนไปตามกฎหมายภูมิลําเนาของผูท้ ําพนิ ยั กรรมในขณะทีผูท้ ํา พนิ ยั กรรมถึงแก่ความตาย”  12 ​ดังปรากฏตามมาตรา ๔๒ วรรค ๑ แหง่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ซึงบัญญัติว่า “การเพกิ ถอน พนิ ยั กรรมหรอื ข้อกําหนดในพนิ ยั กรรมใหเ้ ปนไปตามกฎหมายภูมิลําเนาของผูท้ ําพนิ ยั กรรมในขณะทีเพกิ ถอนพนิ ยั กรรม”  13 ​ดังปรากฏตามมาตรา ๔๒ วรรค ๒ แหง่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ซึงบัญญัติว่า “การตกไปแหง่ พนิ ยั กรรมหรอื ข้อกําหนดในพนิ ยั กรรมใหเ้ ปนไปตามกฎหมายภูมิลําเนาของผูท้ ําพนิ ยั กรรมในขณะทีถึงแก่ความตาย”  14 ​ซึงบัญญัติว่า  “บุคคลผูม้ ีคุณสมบตั ิดังต่อไปนเี ปนผูม้ ีสทิ ธเิ ลือกตัง และมีหนา้ ทีไปใช้สทิ ธเิ ลือกตังอยา่ งอิสระโดยคํานงึ ถึงประโยชน์ สว่ นรวมของประเทศเปนสาํ คัญ  (๑) มีสญั ชาติไทย แต่บุคคลผูม้ ีสญั ชาติไทยโดยการแปลงสญั ชาติ ต้องได้สญั ชาติไทยมาแล้วไมน่ อ้ ยกว่าหา้ ป  (๒) มีอายุไมต่ ากว่าสบิ แปดปในวันเลือกตัง  (๓) มีชืออยูใ่ นทะเบยี นบา้ นในเขตเลือกตังมาแล้วเปนเวลาไมน่ อ้ ยกว่าเก้าสบิ วันนบั ถึงวันเลือกตัง”  ขอให้ตระหนักว่า “ทะเบียนบ้าน” ก็คือ ทะเบียนภูมิลําเนาตามกฎหมายมหาชนของบุคคล ดังปรากฏตามมาตรา ๒๙  แหง่ พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ.๒๕๓๔ ซึงบัญญัติว่า “ผูใ้ ดมีชืออยูใ่ นทะเบยี นบา้ นใด ใหส้ นั นษิ ฐานไว้ก่อนว่าผูน้ นั อยูแ่ ละมี ภูมิลําเนาอยู่ ณ ทีนนั ”  15 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนที ๖๘ ก หน้า ๔๐ ลงวันที ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑  http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/068/40.PDF   กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 9/34  ปฏิบตั ิน ี ดังจะเหน็ ว่า  มาตรา  ๕16  แหง่   พ.ร.บ.รบั ราชการทหาร  พ.ศ.๒๔๙๗  ซงึ แก้ไขและเพมิ เติมโดย ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบบั ที ๒๒๖ ลงวันที ๑๕ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๑๕  3.3. บทบาทของภมู ลิ ําเนาเพอื เขา้ สกู่ ระบวนการยุติธรรมทางศาล    นอกจากนนั   ในการกําหนดเขตอํานาจศาลแหง่ คดีเกียวกับเอกชนทีมลี ักษณะระหว่าง ประเทศ  กฎหมายวิธพี จิ ารณาความของนานารฐั ก็รบั รองใหภ้ มู ลิ ําเนาของบุคคลเปนขอ้ เท็จจรงิ ทีกําหนด เขตอํานาจของศาลในการรบั คดีเขา้ สกู่ ารพจิ ารณา  เราพบด้วยว่า  ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนถกู ใชใ้ น การก่อตังสทิ ธเิ ขา้ สกู่ ระบวนการยุติธรรมทางศาลของรฐั ทีสาํ คัญ อยา่ งน้อย ๔ สถานการณ์ ก​ ล่าวคือ   ในประการแรก  กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ของนานารฐั มกั กําหนดใหศ้ าลรบั คําฟอง ในคดีแพง่ และพาณชิ ยห์ ากจําเลยมภี มู ลิ ําเนาในเขตศาล  ซงึ กฎหมายไทยก็ยอมรบั ในลักษณะเดียวกัน  ดัง ปรากฏในมาตรา ๔ (๑)17 และ ๔ ทวิ18 แหง่ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่    ในประการทสี อง  กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ของนานารฐั มกั กําหนดใหศ้ าลรบั คํา ฟองในคดีแพง่ และพาณชิ ยห์ ากโจทก์มภี มู ลิ ําเนาในเขตศาล  แมจ้ ําเลยจะไมม่ ภี มู ลิ ําเนาในเขตศาล  หรอื มลู คดีไมเ่ กิดขนึ ในเขตศาล  ซงึ กฎหมายไทยก็ยอมรบั ในลักษณะเดียวกัน  ดังปรากฏในมาตรา  ๔  ตร ี วรรคแรก 19 แหง่ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่   ในประการทสี าม  กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ของนานารฐั มกั กําหนดใหศ้ าลรบั คํา รอ้ งในคดีแพง่ และพาณชิ ยห์ ากผรู้ อ้ งมภี มู ลิ ําเนาในเขตศาล  ซงึ กฎหมายไทยก็ยอมรบั ในลักษณะเดียวกัน  ดังปรากฏในมาตรา ๔ (๒)20 , ๔ จัตวา21 , ๔ เบญจ22 แหง่ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่   16 ​ซึงบัญญัติว่า   “บุคคลซงึ ต้องลงบญั ชีทหารกองเกิน ใหล้ งบญั ชีทีอําเภอดังต่อไปน ี (๑) บุคคลซงึ บดิ ายังมีชีวิตอยู่ หรอื ถ้าบดิ าถึงแก่กรรมแล้วมารดายังมีชีวิตอยู่ หรอื ถ้าทังบดิ าและมารดาถึงแก่กรรมแล้วมี ผูป้ กครอง ใหล้ งบญั ชีทหารกองเกินทีอําเภอท้องทีทีบดิ าหรอื มารดาหรอื ผูป้ กครองมีภูมิลําเนา แล้วแต่กรณ ี (๒) บุคคลซงึ เกิดนอกสมรสและบดิ ามิได้จดทะเบยี นรบั รองบุตร หรอื ถ้ามารดาถึงแก่กรรมแล้วมีผูป้ กครอง ใหล้ งบญั ชี ทหารกองเกินทีอําเภอท้องทีทีมารดาหรอื ผูป้ กครองมีภูมิลําเนา แล้วแต่กรณ ี (๓) บุคคลนอกจากทีกล่าวใน (๑) และ (๒) หรอื บุคคลทีไมอ่ าจลงบญั ชีทหารกองเกินตาม (๑) หรอื (๒) ได้ ไมว่ ่าด้วย กรณใี ดก็ตาม ใหล้ งบญั ชีทหารกองเกินทีอําเภอท้องทีทีบุคคลนนั มีภูมิลําเนา ถ้าบุคคลนนั ไมป่ รากฏภูมิลําเนาก็ใหล้ งบญั ชีทหาร กองเกินทีอําเภอท้องทีทีพบตัวบุคคลนนั   เมือได้ลงบญั ชีทหารกองเกินแล้ว ใหถ้ ือว่าผูน้ นั มีภูมิลําเนาทหารอยูใ่ นท้องทีอําเภอทีได้ลงบญั ชีทหารกองเกิน  ภูมิลําเนาทหารใหม้ ีได้เพยี งแหง่ เดียว”  17 ​ซึงบัญญัติว่า “เว้นแต่จะมีบทบญั ญตั ิเปนอยา่ งอืน (๑) คําฟอง ใหเ้ สนอต่อศาลทีจําเลยมีภูมิลําเนาอยูใ่ นเขตศาล หรอื ต่อศาลที มูลคดีเกิดขึนในเขตศาล ไมว่ ่าจําเลยจะมีภูมิลําเนาอยูใ่ นราชอาณาจักรหรอื ไม”่   ใหเ้ สนอต่อศาลที 18 ​ซึงบัญญัติว่า  “ค​ ําฟองเกียวด้วยอสงั หารมิ ทรพั ย์หรอื สทิ ธหิ รอื ประโยชนอ์ ันเกียวด้วยอสงั หารมิ ทรพั ย ์ อสงั หารมิ ทรพั ย์นนั ตังอยูใ่ นเขตศาลไมว่ ่าจําเลยจะมีภูมิลําเนาอยูใ่ นราชอาณาจักร  หรอื ไม ่ หรอื ต่อศาลทีจําเลยมีภูมิลําเนาอยูใ่ น เขตศาล”  19 ซ​ ึงบัญญัติว่า  “ค​ ําฟองอืนนอกจากทีบญั ญตั ิไว้ในมาตรา  ๔ ทวิ ซงึ จําเลยมิได้มีภูมิลําเนาอยูใ่ นราชอาณาจักรและมูลคดีมิได้เกิด ขึนในราชอาณาจักร  ถ้าโจทก์เปนผูม้ ีสญั ชาติไทยหรอื มีภูมิลําเนาอยูใ่ นราชอาณาจักรใหเ้ สนอต่อศาลแพง่ หรอื ต่อศาลทีโจทก์มี ภูมิลําเนาอยูใ่ นเขตศาล”  20 ​ซึงบัญญัติว่า “​เว้นแต่จะมีบทบญั ญตั ิเปนอยา่ งอืน ….. (๒) คํารอ้ งขอ ใหเ้ สนอ ต่อศาลทีมูลคดีเกิดขึนในเขตศาล หรอื ต่อศาลทีผู้ รอ้ งมีภูมิลําเนาอยูใ่ นเขตศาล”  21 ​ซึงบัญญัติว่า “คํารอ้ งขอแต่งตังผูจ้ ัดการมรดก ใหเ้ สนอต่อศาลทีเจ้ามรดกมีภูมิลําเนาอยูใ่ นเขตศาลในขณะถึงแก่ความตาย  ในกรณที ีเจ้ามรดกไมม่ ีภูมิลําเนาอยูใ่ นราชอาณาจักร ใหเ้ สนอต่อศาลทีทรพั ย์มรดกอยูใ่ นเขตศาล”  22 ซ​ ึงบัญญัติว่า  “ค​ ํารอ้ งขอเพกิ ถอนมติของทีประชุมหรอื ทีประชุมใหญข่ องนติ ิบุคคล  คํารอ้ งขอเลิกนติ ิบุคคล  คํารอ้ งขอตังหรอื ถอนผูช้ ําระบญั ชีของนติ ิบุคคล  หรอื คํารอ้ งขออืนใดเกียวกับนติ ิบุคคล  ใหเ้ สนอ  ต่อศาลทีนติ ิบุคคลนนั มีสาํ นกั งานแหง่ ใหญอ่ ยูใ่ น เขตศาล”    ซึง  “สํานักงานใหญ”่   ก็คือภูมิลําเนาของนิติบุคคล ดังปรากฏตามมาตรา ๖๘ แหง่  ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย ์ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 10/34  ในประการทสี  ี กฎหมายวิธพี จิ ารณาความปกครองของนานารฐั มกั กําหนดใหศ้ าลรบั คํา ฟองในคดีปกครองหากผฟู้ องมภี มู ลิ ําเนาในเขตศาล  ซงึ กฎหมายไทยก็ยอมรบั ในลักษณะเดียวกัน  ดัง ปรากฏตามมาตรา  มาตรา  ๔๗  วรรคแรก23  แหง่   พ.ร.บ.จัดตังศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง  พ.ศ. ๒๕๔๒  โดยสรุป  จึงกล่าวได้ว่า  ภมู ลิ ําเนายอ่ มทําหนา้ ทีเปนจุดเกาะเกียวทีเปดพนื ทีความยุติธรรม  ทังทางแพง่ และพาณชิ ย์ และทางปกครอง ใหแ้ ก่เอกชนทีเกียวขอ้ ง  3.4. บทบาทของภมู ลิ ําเนาเพอื รอ้ งขอสถานะราษฎรในทะเบยี นราษฎรของรฐั   เราพบว่า  “ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน”  ยงั นาํ ไปส ู่ “ความเปนราษฎรในทะเบยี น ราษฎรของรฐั ”  ใน  ๒  สถานการณ ์ กล่าวคือ  (๑)  การรอ้ งขอมชี อื ในทะเบยี นบา้ น  (Household  Registration)  ตามกฎหมายการทะเบยี นราษฎรของรฐั   หากเปนคนทีอาศยั อยูใ่ นประเทศของรฐั เจ้า ทะเบยี นราษฎรและมสี ทิ ธอิ าศยั ในประเทศดังกล่าว  และ  (๒)  การรอ้ งขอมชี อื ในทะเบยี นประวัติ  (Profile  Registration)  ตามกฎหมายการทะเบยี นราษฎรของรฐั   หากเปนคนทีอาศยั อยูใ่ นประเทศของรฐั เจ้า ทะเบยี นราษฎร  แต่ไมม่ สี ทิ ธอิ าศยั ในประเทศดังกล่าว  ในท้ายทีสดุ   ขอใหต้ ระหนกั ว่า  กฎหมายไทยก็ ยอมรบั ในลักษณะเดียวกัน  ดังปรากฏตาม  พ.ร.บ.การทะเบยี นราษฎร  พ.ศ.๒๕๓๔  ซงึ แก้ไขและเพมิ เติม โดย  พ.ร.บ.การทะเบยี นราษฎร  (ฉบบั ที  ๒)  พ.ศ.๒๕๕๑  และ  พ.ร.บ.การทะเบยี นราษฎร (ฉบบั ที ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓ ซงึ ก็คือ มาตรา ๓๖ วรรค ๑24 สาํ หรบั คนทีมสี ทิ ธอิ าศยั แบบถาวร หรอื มาตรา ๓๘ วรรค ๑25 สาํ หรบั คนทีไมม่ สี ทิ ธอิ าศยั แบบ  “ไมถ่ าวร”  หรอื ชวั คราว  หรอื มาตรา  ๓๘  วรรค  ๒26  สาํ หรบั คนทีไมม่ สี ทิ ธอิ าศยั   แต่มเี หตใุ นการรอการสง่ กลับออกนอกประเทศไทย  --------------------------------------------------  4. การใชภ้ มู ลิ ําเนาในกลไกแหง่ กฎหมายขดั กันเพอื กําหนดสถานะบุคคลตามกฎหมายเอกชน   --------------------------------------------------  โดยหลักกฎหมายขดั กัน  ภมู ลิ ําเนาเปนขอ้ เท็จจรงิ ทีถกู ใชเ้ พอื กําหนดกฎหมายของรฐั เจ้าของตัว บุคคลเพอื กําหนดปญหาความเปนบุคคล  ซงึ ก็คือ  (๑)  การเรมิ ต้นสภาพบุคคล  (๒)  ความสามารถของ บุคคล (๓) ความไรส้ ามารถของบุคคล และ (๔) การสนิ สนุ สภาพบุคคล ซงึ ก็คือ การสนิ สดุ สภาพบุคคลตาม ธรรมชาติ และการสาบสญู ซงึ เปนการสนิ สดุ สภาพบุคคลตามกฎหมาย   ซึงบัญญัติว่า “ภ​ ูมิลําเนาของนติ ิบุคคลได้แก่ ถินอันเปนทีตังสาํ นกั งานใหญ ่ หรอื ถินอันเปนทีตังทีทําการ  หรอื ถินทีได้เลือกเอาเปน ภูมิลําเนาเฉพาะการตามข้อบงั คับหรอื ตราสารจัดตัง”  23 ​ซึงบัญญัติว่า “การฟองคดีทีอยูใ่ นเขตอํานาจของศาลปกครองชันต้น ใหย้ ืนฟอง ต่อศาลปกครองชันต้นทีผูฟ้ องคดีมีภูมิลําเนา  หรอื มีมูลคดีเกิดขึนในเขตอํานาจศาลปกครองชันต้นนนั ”  24 ​ซึงบัญญัติว่า “ใหน้ ายทะเบยี นผูร้ บั แจ้งจัดทําทะเบยี นบา้ นไว้ทุกบา้ นทีมีเลขประจําบา้ นสาํ หรบั ผูม้ ีสญั ชาติไทยและคนซงึ ไมม่ ี สญั ชาติไทยแต่มีถินทีอยูใ่ นราชอาณาจักร”  25ซึงบัญญัติว่า  ​“ใหน้ ายทะเบยี นอําเภอหรอื นายทะเบยี นท้องถินจัดทําทะเบยี นบา้ นสาํ หรบั คนซงึ ไมม่ ีสญั ชาติไทยทีได้รบั อนุญาต ใหอ้ าศยั อยูใ่ นราชอาณาจักรเปนการชัวคราว  และคนซงึ ไมม่ ีสญั ชาติไทยทีได้รบั การผอ่ นผนั ใหอ้ าศยั อยูใ่ นราชอาณาจักรเปนกรณี พเิ ศษเฉพาะรายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง  ตามทีรฐั มนตรปี ระกาศกําหนด  และบุตรของบุคคลดังกล่าวทีเกิดในราช อาณาจักร”  26 ซ​ ึงบัญญัติว่า  “​ ใหผ้ ูอ้ ํานวยการทะเบยี นกลางจัดใหม้ ีทะเบยี นประวัติสาํ หรบั คนซงึ ไมม่ ีสญั ชาติไทยอืนนอกจากทีบญั ญตั ิไว้ตาม วรรคหนงึ ตามทีรฐั มนตรปี ระกาศกําหนดรายการ  และการบนั ทึกรายการตามวรรคหนงึ และวรรคสอง  ใหเ้ ปนไปตามระเบยี บทีผู้ อํานวยการทะเบยี นกลางกําหนด”  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 11/34  แต่อยา่ งไรก็ตาม  เมอื ไมป่ รากฏม ี “กฎหมายเอกชนโลก”  ในทางปฏิบตั ิของนานารฐั   เราอาจสรุป ได้ว่า  การใชภ้ มู ลิ ําเนาในกลไกแหง่ กฎหมายขดั กันเพอื กําหนดสถานะบุคคลตามกฎหมายเอกชนมคี วาม เปนไปได้ ใน ๓ สถานการณย์ อ่ ย กล่าวคือ (๑) สถานการณท์ ีบุคคลตามกฎหมายเอกชนมสี ญั ชาติของรฐั ใน ตระกลู กฎหมายแบบ  Common  Law  (๒)  สถานการณท์ ีบุคคลตามกฎหมายเอกชนมสี ญั ชาติของรฐั ใน ตระกลู กฎหมายแบบ  Civil  Law และ (๓) สถานการณท์ ีบุคคลตามกฎหมายเอกชนประสบปญหาความไร้ สญั ชาติ  4.1. สถานการณ์ยอ่ ยทบี ุคคลตามกฎหมายเอกชนมสี ญั ชาติของรฐั ในตระกลู กฎหมายแบบ  Common Law  เมอื ปญหาความเปนบุคคลตามกฎหมายเอกชน  ตกอยูใ่ นการขดั กันแหง่ กฎหมาย  โดย กฎหมายขดั กัน  การจัดการปญหานจี ึงต้องใชก้ ฎหมายของรฐั เจ้าของตัวบุคคล ซงึ กฎหมายขดั กันของรฐั ใน ตระกลู กฎหมายแบบ  Common  Law  ยอ่ มจะใชก้ ฎหมายของรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนา  จะเหน็ ว่า  ใน สถานการณน์  ี ศาลซงึ ต้องพจิ ารณาปญหาสถานะบุคคลของนายจอหน์   ซงึ มสี ญั ชาติอังกฤษ  และมี ภมู ลิ ําเนาในสงิ ค์โปร ์ จึงต้องใชก้ ฎหมายขดั กันอังกฤษ  และกฎหมายขดั กันอังกฤษก็จะสง่ ต่อใหใ้ ชก้ ฎหมาย ขดั กันสงิ ค์โปร ์ และเมอื สงิ คโปรก์ ็เปนรฐั ในตระกลู กฎหมายแบบ  Common  Law  กฎหมายแพง่ สาระ บญั ญตั ิสงิ ค์ดปรจ์ ึงอาจถกู นาํ มาใชก้ ําหนดความสามารถของนายจอหน์   เรอื งราวดังกล่าวมา  จึงเปน ตัวอยา่ งของการใชภ้ มู ลิ ําเนา  เพอื กําหนดกฎหมายทีมผี ลกําหนดสถานะบุคคลตามกฎหมายของเอกชนซงึ มจี ุดเกาะเกียวกับประเทศในตระกลู Common Law  4.2. สถานการณ์ยอ่ ยทบี ุคคลตามกฎหมายเอกชนมสี ญั ชาติของรฐั ในตระกลู กฎหมายแบบ  Civil Law  ในอีกทิศทาง  หากการพจิ ารณากรณนี ายจอหน์ ดังกล่าวขา้ งต้น  เปนไปภายใต้กฎหมายขดั กันของรฐั ในตระกลู กฎหมายแบบ  Civil  Law  ซงึ ใชก้ ฎหมายของรฐั เจ้าของสญั ชาติในการกําหนดการ รบั รองสถานะบุคคลน ี ศาลในทิศทางน ี จึงต้องใชก้ ฎหมายขดั กันอังกฤษ  เชน่ กัน  เพราะนายจอหน์ มี สญั ชาติอังกฤษ  และกฎหมายขดั กันอังกฤษก็จะสง่ ต่อใหใ้ ชก้ ฎหมายขดั กันสงิ ค์โปร ์ และเมอื สงิ คโปรก์ ็เปน รฐั ในตระกลู กฎหมายแบบ  Common  Law  กฎหมายแพง่ สาระบญั ญตั ิสงิ ค์ดปรจ์ ึงอาจถกู นาํ มาใชก้ ําหนด ความสามารถของนายจอหน์ เชน่ กัน    โดยสรุป  ไมว่ ่า  ศาลของรฐั ในตระกลู   Common  Law  หรอื ในตระกลู   Civil  Law  จะ พจิ ารณาสถานะบุคคลตามกฎหมายของนายจอหน์   กฎหมายทีมผี ลกําหนดสถานะบุคคลของนายจอหน์   ก็ คือ  กฎหมายเดียวกัน  เรอื งราวดังกล่าวมาจึงเปนตัวอยา่ งของการใชภ้ มู ลิ ําเนาในการพจิ ารณาของศาลทัง  ๒ ตระกลู กฎหมายขดั กัน27    4.3. สถานการณ์ยอ่ ยทบี ุคคลตามกฎหมายเอกชนประสบปญหาความไรส้ ญั ชาติ   ในสว่ นทีเกียวกับคนไรส้ ญั ชาตินนั   การเลือกกฎหมายเพอื จัดการปญหาความเปนบุคคล ตามกฎหมายเอกชนของคนดังกล่าว  ยอ่ มเปนไปตามกฎหมายของรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนาตามกฎหมาย เอกชนก็จะถกู นาํ มาใช ้ ไมว่ ่าคนดังกล่าวจะมจี ุดเกาะเกียวกับประเทศในตระกลู กฎหมายแบบ  Civil  Law  27 แ​ ต่อยา่ งไรก็ตาม ก็อาจมีในบางสถานการณ์ทีการใช้ภูมิลําเนาก็อาจไมเ่ กิดจากกฎหมายขัดกันแบบ Civil Law เชน่ กัน ซึงเราจะ ได้ศึกษาต่อไปในเรืองกสไกแหง่ กฎหมายขัดกัน  ตราบใดทีกฎหมายโลกไมเ่ กิดขึนเพือกําหนดสถานะบุคคลตามกฎหมาย  ความล้ม เหลวของกลไกแหง่ กฎหมายขัดกันก็อาจเกิดขึนในบางสถานการณ ์   กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 12/34  หรอื   Common  Law  ตัวอยา่ งก็คือกรณศี กึ ษานายเปง  แหง่   อําเภอบุณฑรกิ   จังหวัดอุบลราชธาน2ี 8  ซงึ เกิดในประเทศลาวเมอื   พ.ศ.๒๔๙๙  จากบุพการเี ชอื สายลาว  ซงึ เกิดในประเทศลาว  และอพยพออกจาก ประเทศลาวในชว่ งก่อน  พ.ศ.๒๕๓๐  มาอาศยั ในประเทศไทย  ในยุคทีมคี วามไมส่ งบในประเทศดังกล่าว  เขาไมไ่ ด้รบั การจดทะเบยี นคนเกิดในทะเบยี นราษฎรของรฐั ลาว  และรฐั ไทยก็ไมเ่ คยรบั รองสทิ ธแิ ละ สถานะในสญั ชาติไทยให ้ เขาจึงไรส้ ญั ชาติ แต่อยา่ งไรก็ตาม เมอื เขาอาศยั อยูใ่ นประเทศไทย กฎหมายแพง่ สาระบญั ญตั ิของรฐั ไทยจึงมผี ลกําหนดความเปนบุคคลตามกฎหมายเอกชนของเขา  เพราะเขามภี มู ลิ ําเนา ตามกฎหมายเอกชนในประเทศไทย  -------------------------------------------------------  5. กรณศี กึ ษาการใชภ้ มู ลิ ําเนากําหนดสทิ ธิและหน้าที ตลอดจนความสามารถของเอกชน  --------------------------------------------------------  5.1. กรณศี กึ ษานายปเตอร์ : ศาลไทยยอ่ มใช้ “กฎหมายของรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนา” กําหนด ความสามารถของนายปเตอร์ ทังทกี ฎหมายขดั กันไทยกําหนดใหใ้ ชก้ ฎหมายของรฐั เจ้าของสญั ชาติของบุคคล  ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ ว่า  ศาลไทยจะต้องพจิ ารณาความสามารถของนายปเตอรซ์ งึ เปนบุคคล สญั ชาติอังกฤษ  ซงึ มภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศเมยี นมา  จะเหน็ ว่า  โดยผลของมาตรา  ๑๐  วรรค  ๑  แหง่   พ.ร.บ.ว่าด้วยการขดั กันแหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  ความสามารถโดยทัวไปของนายปเตอรย์ อ่ มตกอยูภ่ าย ใต้กฎหมายของรฐั เจ้าของสญั ชาติเชน่ กัน  ดังนนั   กฎหมายทีมผี ลกําหนดความสามารถของนายปเตอรจ์ ึง ได้แก่กฎหมายอังกฤษ แต่อยา่ งไรก็ตาม เพอื ทีจะปฏิบตั ิตามกฎหมายอังกฤษ ซงึ มกี ฎหมายขดั กันในตระกลู   Common  Law  ศาลไทยจึงต้องพจิ ารณาต่อไปถึงกฎหมายขดั กันอังกฤษ  จะเหน็ ว่า  กฎหมายนรี ะบุใหใ้ ช้ กฎหมายของรฐั เจ้าของถินอันเปนภมู ลิ ําเนาของบุคคลในการกําหนดความสามารถของบุคคล  ดังนนั   ศาล ไทยจึงจะต้องใชก้ ฎหมายไทยในการกําหนดความสามารถของนายปเตอรเ์ นอื งจากปรากฏตามขอ้ เท็จจรงิ ว่า  บุคคลดังกล่าวมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทย และในขนั ตอนน ี โดยผลของมาตรา ๔ แหง่  พ.ร.บ.ว่าด้วย การขดั กันแหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  เมอื กฎหมายขดั กันต่างประเทศระบุใหใ้ ชก้ ฎหมายไทย  กฎหมายไทย ในทีน ี จึงได้แก่  กฎหมายแพง่ สาระบญั ญตั ิของประเทศไทย  มใิ ชก่ ฎหมายไทยว่าด้วยการขดั กันแหง่ กฎหมาย  จึงสรุปเปนทีสดุ ได้ว่า  โดยผลของมาตรา  ๑๐ วรรค ๑ ประกอบกับ กฎหมายขดั กันอังกฤษ และ มาตรา  ๔  กฎหมายของกําหนดความสามารถโดยทัวไปของนายปเตอร ์ ก็คือ  กฎหมายไทย  อันได้แก่  ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยข์ องประเทศไทย บรรพที ๑ ว่าด้วยบุคคลเชน่ กัน   จะเหน็ ว่า  กรณศี กึ ษาน ี จึงเปนตัวอยา่ งของการทํางานของ  “ภมู ลิ ําเนา”  ในการเลือก กฎหมายกําหนดความสามารถของนายจอหน์   โดยศาลไทย  ซงึ เปนศาลของรฐั ในตระกลู กฎหมายแบบ  Civil Law   28พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, กรณศี กึ ษานายเปง : การกําหนด “ภมู ิลําเนาตามกฎหมายเอกชน” เพือใช้เลือก กฎหมายทมี ผี ลในเรอื งความสามารถในการทํานิติกรรมสญั ญาของคนไรส้ ญั ชาติซงึ มเี ชือสายลาว ซงึ เกิดในประเทศลาวเมือ  พ.ศ.๒๔๙๙ และอพยพเข้ามาอาศยั ในประเทศไทยมาตังแต่ พ.ศ.๒๕๑๘, เมือวันที ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๙ ปรับปรุงเมือวัน ที ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒ https://drive.google.com/file/d/0B7ummaGfFLZSUGwzdmlXWldyc1U/view?usp=sharing    กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 13/34  5.2. กรณศี กึ ษานายสตเี ฟนสนั : “ภมู ลิ ําเนาไทยของผรู้ อ้ งขอแต่งผจู้ ัดการมรดก” ไม่ ทําใหศ้ าลไทยมเี ขตอํานาจเหนือคดหี ากเจ้ามรดกไมม่ ภี มู ลิ ําเนาไทยและทรพั ยม์ รดก ไมไ่ ด้ตังอยูใ่ นประเทศไทย  ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ ว่า  นายสตีเฟนสนั เกิดในประเทศสวีเดนในป  พ.ศ.๒๕๐๖  จากบดิ าและ มารดาซงึ เปนคนสญั ชาติสวีเดน  ต่อมา  เขาเขา้ ไปทํางานในประเทศลาว  ตังแต่นายสตีเฟนสนั มอี ายุได้ ๒๐  ป  และไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศสวีเดนเลยตังแต่นนั   จนถึงปจจุบนั   ไมป่ รากฏขอ้ เท็จจรงิ ว่า นายสตีเฟน สนั เสยี สญั ชาติสวีเดนแต่อยา่ งใด   ในวันที ๒๐ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๒ นายสตีเฟนสนั ถึงแก่กรรมลงในประเทศลาว   ในวันที  ๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๒ นายเจมส ์ ซงึ มศี กั ดิเปนนอ้ งชายรว่ มบดิ ามารดาของนาย สตีเฟนสนั   จึงต้องการรอ้ งขอใหศ้ าลไทยมคี ําสงั แต่งตังตนเปนผจู้ ัดการมรดกของนายสตีเฟนสนั   ซงึ ได้แก่  ทีดินในประเทศลาว อนงึ  นายเจมสเ์ ปนคนสญั ชาติสวีเดนซงึ ได้แปลงสญั ชาติเปนไทย และตังบา้ นเรอื นอยู่ ในประเทศไทย  โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล ถามว่า ศาลไทยจะมเี ขตอํานาจศาล เหนือคดนี หี รอื ไม ่ ?  เพราะเหตใุ ด  ?  จะเหน็ ว่า  ในเรอื งทีเกียวกับเขตอํานาจศาลไทยเหนอื คดีทีไมม่ ขี อ้ พพิ าทอันเกียวกับการแต่งตังผจู้ ัดการมรดก  ​โดยหลัก  กรณยี อ่ มเปนไปตามขอ้ กําหนดของมาตรา  ๔  จัตวา แหง่ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ซงึ บญั ญตั ิว่า   “คํารอ้ งขอแต่งตังผจู้ ัดการมรดก  ใหเ้ สนอต่อศาลทีเจ้ามรดกมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นเขตศาลใน ขณะถึงแก่ความตาย  ในกรณที ีเจ้ามรดกไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นราชอาณาจักร  ใหเ้ สนอต่อศาลทีทรพั ยม์ รดกอยูใ่ น เขตศาล”  เมอื ปรากฏตามขอ้ เท็จจรงิ ว่า  นายสตีเฟนสนั เจ้ามรดกมภี มู ลิ ําเนาในลาว และอีกทังทรพั ย์ มรดกก็ตังอยูใ่ นประเทศลาว ดังนนั  แมผ้ รู้ อ้ งจะมสี ญั ชาติไทยและมภี มู ลิ ําเนาในประเทศไทย  ศาลไทยก็ไม่ อาจมเี ขตอํานาจทีจะรบั คํารอ้ งดังกล่าว  5.3. กรณศี กึ ษาบรษิ ัทสม้ ฝาง : “ภมู ลิ ําเนาไทยของลกู หน”ี ยอ่ มทําใหศ้ าลไทยมเี ขต อํานาจเหนือคดลี ้มละลายทฟี องโดยเจ้าหนี ซงึ เปนบรษิ ัทตามกฎหมายต่างประเทศ29  เมอื บรษิ ัท  เอบเี ค  จํากัด  ซงึ เปนบรษิ ัทค้าปุยตามกฎหมายจีนรอ้ งขอใหศ้ าลไทยสงั ให้ บรษิ ัทสม้ ฝาง  จํากัด  ล้มละลาย  อันเนอื งมาจากหนสี นิ จากสญั ญาซอื ขายทีมตี ่อกันในชว่ งเวลาทีผา่ นมา  และขอ้ เท็จจรงิ ปรากฏว่า  บรษิ ัท  สม้ ฝางฯ  เปนบรษิ ัทตามกฎหมายไทย  และมสี าํ นกั งานใหญต่ ังอยูใ่ น ประเทศไทย  อันหมายความว่า  บรษิ ัทนมี ภี มู ลิ ําเนาในประเทศไทย  ตามมาตรา  ๖๘ แหง่ ประมวลกฎหมาย แพง่ และพาณชิ ย ์ ดังนนั   ศาลไทยก็อาจรบั คําฟองนตี ามมาตรา  ๑๕๐  แหง่   พ.ร.บ.ล้มละลาย  พ.ศ.๒๔๘๓  ซงึ บญั ญตั ิว่า  “​ การยนื คําฟองหรอื คํารอ้ งขอใหล้ ้มละลาย  ใหย้ นื ต่อศาลซงึ ลกู หนมี ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นเขตหรอื ประกอบธุรกิจอยูใ่ นเขต  ไมว่ ่าด้วยตนเอง  หรอื โดยตัวแทน  ในขณะทียนื ฟองหรอื คํารอ้ งขอหรอื ภายใน 29 ​พันธุ์ทิพย ์ กาญจนะจิตรา  สายสุนทร,  กรณศี กึ ษาบรษิ ัทสม้ ฝาง  จํากัด  :  ศาลไทยมเี ขตอํานาจเหนือคดที เี จ้าหน้าหนฟี อง บรษิ ัทนใี หล้ ้มละลายหรอื ไม่ ?, เมือวันที ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ปรับปรุงล่าสุดเมือวันที ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖  https://docs.google.com/document/d/13x34zyb6ClX1jF7OtkbsLkk_vxKOPKJKKUfcpRLtL9w/edit?usp=sharing   กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 14/34  กําหนดเวลา  ๑  ปก่อนนนั ”    จะเหน็ ว่า  การมภี มู ลิ ําเนาไทยของบรษิ ัทสม้ ฝางฯ  จึงทําใหศ้ าลไทยมเี ขต อํานาจเหนอื คดีล้มละลายน ี     โดยสรุป  เมอื ทางปฏิบตั ิระหว่างประเทศ  ใชท้ ัง  “สญั ชาติ”  และ  “ภมู ลิ ําเนา”  กําหนด  “เอกชน”  ทังทีเปนบุคคลธรรมดาหรอื มนษุ ย ์ ตลอดจนนติ ิบุคคลตามกฎหมายเอกชน  เราจึงต้องทําความเขา้ ใจใน สมั พนั ธภาพของทัง  ๓  เรอื งดังกล่าวมา  และเรายอ่ มต้องออกเดินทางทางความคิดไปส ู่ “บทต่อไป”  เพอื ศกึ ษาการกําหนดสทิ ธแิ ละสถานะของเอกชน ซงึ มคี วามเปนไปได้ใน ๔ ลักษณะ กล่าวคือ  (๑) คนสญั ชาติ ไทยซงึ มภี มู ลิ ําเนาไทย (๒) คนไมม่ สี ญั ชาติไทยซงึ มภี มู ลิ ําเนาไทย (๓) คนสญั ชาติไทยซงึ มภี มู ลิ ําเนาในต่าง ประเทศ และ (๔) คนไมม่ สี ญั ชาติไทยซงึ ไมม่ มี ภี มู ลิ ําเนาไทย          กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 15/34  #เอกสารหมายเลขที ๒  กรณศี กึ ษานายเปง แหง่ อําเภอบุณฑรกิ จังหวัดอุบลราชธาน3ี 0  : “ภมู ลิ ําเนา” เปนขอ้ เท็จจรงิ ทกี ําหนดความสามารถในการทํานิติกรรมสญั ญาของคนต่างด้าวไร้ สญั ชาติในประเทศไทยใชห่ รอื ไม่ ?     ---------------------------------  ประเด็นทพี จิ ารณา/คําถาม  ---------------------------------  โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  ถามว่า  ศาลไทยจะต้องใชก้ ฎหมายของ ประเทศใดในการกําหนดความสามารถในการทํานติ ิกรรมของนายเปง  ซงึ ประสบปญหาความไรส้ ญั ชาติ  ?  เพราะเหตใุ ด ?31  -------------  ขอ้ เท็จจรงิ   -------------  นายเปง  ใหป้ ากคําว่า  เขาเกิดเมอื วันที  ๑  ธนั วาคม  พ.ศ.๒๔๙๙  เขาเกิด ณ หมบู่ า้ นหนองแต้ ใหญ ่ แขวงจําปาศกั ดิ  สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว  ในขณะทีเขาเกิด  ไมม่ กี ารแจ้งการเกิดของ เขาในทะเบยี นราษฎรของประเทศลาว  ทังน ี อาจจะเปนเพราะว่า  ในยุคนนั   ก็ยงั ไมม่ ที ะเบยี นราษฎรลาว  30พันธุ์ทิพย ์ กาญจนะจิตรา  สายสุนทร,  ​กรณศี กึ ษานายเปง  :  การกําหนด  “ภมู ิลําเนาตามกฎหมายเอกชน”  เพือใช้เลือก กฎหมายทมี ผี ลในเรอื งความสามารถในการทํานิติกรรมสญั ญาของคนไรส้ ญั ชาติซงึ มเี ชือสายลาว  ซงึ เกิดในประเทศลาวเมือ  พ.ศ.๒๔๙๙  และอพยพเข้ามาอาศยั ในประเทศไทยมาตังแต่ พ.ศ.๒๕๑๘, เมือวันที ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๙  ปรับปรุงเมือวัน ที ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒ https://drive.google.com/file/d/0B7ummaGfFLZSUGwzdmlXWldyc1U/view?usp=sharing   31 ข้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปการศึกษา ๒๕๕๐ ภาคที  ๑   กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 16/34  และต่อมา  ก็มปี ญหาความไมส่ งบในประเทศลาว  จึงไมม่ ใี ครในหมบู่ า้ นทีเขาเกิด  ได้รบั การจัดทําทะเบยี น ราษฎรและบตั รประชาชนลาว  ต่อมา ในราว พ.ศ.๒๕๑๕ ซงึ มเี หตกุ ารณค์ วามไมส่ งบในประเทศลาวในท้องทีทีนายเปงอาศยั อยูม่ ากขนึ   เขาและครอบครวั จึงอพยพหนภี ัยความตายเขา้ มาในประเทศไทยทางด่านชอ่ งเตาอู  ใกล้ บรเิ วณทีชาวบา้ นเรยี กว่าพรานกระต่าย  และมาอาศยั อยูท่ ีศนู ยอ์ พยพแก่งยางในเขตจังหวัดอุบลราชธาน ี ในราว พ.ศ.๒๕๑๘  เขาไมเ่ คยได้รบั การสาํ รวจจากเจ้าหนา้ ทีกรมการปกครองไทยเลย  นบั แต่เขามาอาศยั ใน ประเทศไทย  เขาจึงไมม่ ชี อื ปรากฏในแบบพมิ พป์ ระวัติตามกฎหมายทะเบยี นราษฎรไทยทีมชี อื ว่า  “ลาว อพยพ” ดังเชน่ ทีเพอื นบา้ นม ี ใน พ.ศ.๒๕๔๗ มกี ารประกาศใหค้ นสญั ชาติลาวทีเขา้ มาในประเทศไทยอยา่ งผดิ กฎหมาย ไป แสดงตัวเพอื ขนึ ทะเบยี นบุคคลในสถานะของ  “แรงงานต่างด้าวทีเขา้ เมอื งผดิ กฎหมายจากประเทศเพอื น บา้ น” นายเปงและครอบครวั จึงไปแสดงตนทีอําเภอและขอขนึ ทะเบยี นดังกล่าว โดยผลของการน ี นายเปง ถกู ระบุในแบบรบั รองทะเบยี นประวัติของคนต่างด้าวทีได้รบั อนญุ าตใหอ้ ยูใ่ นราชอาณาจักรเปนกรณพี เิ ศษ  (ท.ร.๓๘/๑)  ทีออกโดยอําเภอบุณฑรกิ ว่า  มสี ญั ชาติลาว  เอกสารดังกล่าวระบุว่า  เขาอาศยั อยู ่ ณ บา้ นแมด  อําเภอบุณฑรกิ จังหวัดอุบลราชธานี ทังครอบครวั นบั ถือศาสนาพทุ ธ  นายเปงมคี วามรูท้ างภาษาไทยในระดับฟงและพดู ได้เท่านนั   ไมส่ ามารถอ่านหรอื เขยี นภาษา ไทยได้เลย  อนงึ   โดยมติคณะรฐั มนตรเี มอื   พ.ศ.๒๕๔๗  รฐั บาลไทยกําหนดเกณฑ์ทีจะใหส้ ทิ ธอิ าศยั ชวั คราวแก่คนต่างด้าวจากประเทศลาว  พมา่   และกัมพชู า  หากบุคคลดังกล่าวไปแสดงตนขนึ ทะเบยี นกับ เขตหรอื เทศบาลหรอื อําเภอหรอื กิงอําเภอ แล้วไปรบั ใบอนญุ าตทํางานตามมาตรา ๑๒ (๒) แหง่  พ.ร.บ.การ ทํางานของคนต่างด้าว พ.ศ.๒๕๒๑ และไปตรวจสขุ ภาพตามทีกําหนดในมติคณะรฐั มนตรดี ังกล่าว  จะเหน็ ว่า  นายเปงได้ไปขนึ ทะเบยี นบุคคลกับอําเภอบุณฑรกิ เท่านนั   แต่มไิ ด้ไปรบั ใบอนญุ าต ทํางานและไปตรวจสขุ ภาพ   นายเปงได้อยูก่ ินกันฉนั ท์สามภี รยิ ากับนางเผงิ   ซงึ อพยพมาด้วยกันจากแขวงจําปาศกั ดิ  ประเทศลาว  และมบี ุตรด้วยกัน  ๗ คน คนแรก ก็คือ  นางภวู รซงึ เกิดเมอื วันที ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๔ ณ  บา้ นแก่งยาง  (ศนู ยอ์ พยพแก่งยาง)   จังหวัดอุบลราชธานี   เนอื งจากเปนทําคลอดกันเองในปา  จึงไมม่ ี เอกสารรบั รองการเกิดทีออกโดยผทู้ ําคลอดหรอื ผรู้ กั ษาพยาบาล  นางภวู รได้แต่งงานตามประเพณโี ดยไมไ่ ด้จดทะเบยี นสมรสกับ  นายประสทิ ธิ และ  มบี ุตร  ๒  คน คือ ด.ญ.นดิ า อายุ ๔ ป และ ด.ช.อําคา แก้วมนั อายุ ๒ ป  นายเปงและครอบครวั ประกอบอาชพี ด้วยการทํางานหตั ถกรรม เชน่  กระติบขา้ วเหนยี ว  ฮวด นงึ ขา้ ว หาของปา เพอื นาํ ไปแลกขา้ วสาร     กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 17/34  ---------------------  แนวการวิเคราะห ์ ---------------------  โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  นติ ิสมั พนั ธข์ องเอกชนทีมลี ักษณะระหว่าง ประเทศยอ่ มตกอยูภ่ ายใต้กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  และหากนติ ิสมั พนั ธข์ องเอกชนนนั มี ลักษณะเปน  “นติ ิสมั พนั ธต์ ามกฎหมายเอกชนทีมลี ักษณะระหว่างประเทศ”  นติ ิสมั พนั ธน์ กี ็ยอ่ มตกอยู่ ภายในกฎหมายว่าด้วยการขดั กันแหง่ กฎหมายของรฐั ทีมกี ารกล่าวอ้างความเปนระหว่างประเทศของนติ ิ สมั พนั ธ์ ทังนี ไมว่ ่าค่กู รณอี ีกฝายจะเปนรฐั หรอื องค์กรของรฐั ก็ตาม  ในกรณที ีมกี ารกล่าวอ้างความเปนต่างด้าวของนายเปง  จึงจะต้องนาํ เอาหลักกฎหมายระหว่าง ประเทศแผนกคดีบุคคลมาใชใ้ นการพจิ ารณาความสามารถของบุคคลดังกล่าว  ซงึ กฎหมายนกี ็รบั รองใหใ้ ช้ กฎหมายขดั กันของรฐั ทีมกี ารกล่าวอ้างนติ ิสมั พนั ธ์ เว้นแต่กรณจี ะกําหนดเปนอยา่ งอืน   ในเมอื มกี ารกล่าวอ้างความสามารถของนายเปงในประเทศไทย  จึงจะต้องใช ้ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขดั กันแหง่ กฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ ในการเรมิ พจิ ารณานติ ิสมั พนั ธ ์ โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  ความสามารถโดยทัวไปของบุคคลตกอยูภ่ ายใต้ มาตรา  ๑๐  วรรค  ๑  แหง่   พ.ร.บ.ว่าด้วยการขดั กันแหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑ ซงึ กําหนดว่า ​\"ความสามารถ และความไรค้ วามสามารถของบุคคลยอ่ มเปนไปตามกฎหมายสญั ชาติของบุคคลนนั \"  ดังนนั   จึงอาจกล่าว ได้ว่า  ภายใต้กฎหมายขดั กันไทย  ความสามารถของบุคคลยอ่ มตกอยูภ่ ายใต้กฎหมายสญั ชาติของบุคคล  หรอื กล่าวอยา่ งชดั เจน ก็คือ กฎหมายของรฐั เจ้าของสญั ชาติของบุคคล  แต่ตามขอ้ เท็จจรงิ ปรากฏว่า  นายเปงไมอ่ าจได้สญั ชาติไทยเพราะไมม่ จี ุดเกาะเกียวประเทศไทยอัน ทําใหไ้ ด้สญั ชาติไทย  อีกทังยงั ไมป่ รากฏเอกสารรบั รองความเปนคนสญั ชาติลาวจากรฐั ลาว  แมม้ เี อกสาร ของทางราชการไทยระบุว่า นายเปงมสี ญั ชาติลาว ก็ไมอ่ าจทําใหน้ ายเปงมสี ถานะเปน “คนสญั ชาติลาว”   โดยความเปนจรงิ   นายเปงก็ยงั ตกเปน  “คนไรส้ ญั ชาติ”  จึงไมอ่ าจจะหากฎหมายสญั ชาติมากําหนด ความสามารถได้  ในกรณเี ชน่ น ี จึงจะต้องใชม้ าตรา ๖ วรรค ๔ ในการแก้ปญหาการขดั กันแหง่ สญั ชาติของ บุคคลธรรมดาในทางลบทีเกิดขนึ   (Negative  Conflict  of  Nationalities)  กล่าวคือ  “สาํ หรบั บุคคลผไู้ ร้ สญั ชาติ  ใหใ้ ชก้ ฎหมายภมู ลิ ําเนาของบุคคลนนั บงั คับ  ถ้าภมู ลิ ําเนาของบุคคลนนั ไมป่ รากฏ  ใหใ้ ชก้ ฎหมาย ของประเทศซงึ บุคคลนนั มถี ินทีอยูบ่ งั คับ”  ดังนนั   จึงต้องยอ้ นไปพจิ ารณาว่า  นายเปงมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ น ประเทศไทยหรอื ไม ่ โดยขอ้ เท็จจรงิ ปรากฏว่า  ครอบครวั ของนายเปงตังบา้ นเรอื นอยูใ่ นประเทศไทย  โดย ผลของมาตรา  ๓๗  แหง่   ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยข์ องประเทศไทย  จึงต้องถือว่า  นายเปงยอ่ มมี ภมู ลิ ําเนามภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทย  ดังนนั ความสามารถในทางกฎหมายของเขาจึงตกอยูภ่ ายใต้ กฎหมายไทย  ทังน ี โดยผลของมาตรา  ๑๐  และมาตรา  ๖  วรรค  ๔  แหง่   พ.ร.บ.ว่าด้วยการขดั กันแหง่ กฎหมาย  พ.ศ.๒๔๘๑  จึงต้องเอาประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยข์ องประเทศไทยมาใชใ้ นการกําหนด ปญหาความสามารถของเขาได้เลย  จะเหน็ ว่า  แมน้ ายเปงจะมสี ถานะเปนคนต่างด้าวทีเขา้ เมอื งผดิ กฎหมายทีไปแสดงตนเพอื ขนึ ทะเบยี นบุคคลตามกฎหมายทะเบยี นราษฎร  แต่เขามคี วามสามารถทีจะทํานติ ิกรรมในประเทศไทย  ทังนี โดยเปนไปภายใต้กฎหมายไทยว่าด้วยบุคคล อันได้แก่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยข์ องไทย  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 18/34    #เอกสารหมายเลขที ๓  กรณศี กึ ษาคณุ แมป่ อมและน้องอะบไี ซเฉิงเฉิง   : คนสญั ชาติไทย ซงึ มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายมหาชนอยูใ่ นประเทศไทย แต่มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมาย เอกชนอยูใ่ นประเทศมาเลเซยี ด้วยความเปนผปู้ ระสบภัยโควิด ๑๙ ทําใหไ้ มส่ ามารถกลับไปอาศยั ใน ประเทศมาเลเซยี      ------------------------------------------------------  ขอ้ เท็จจรงิ อันเปนฉากทัศน์ของปรนัยวิเคราะห ์ -------------------------------------------------------  “คณุ แมป่ อม”32  หรอื   นางสาวบุษกร  พนั ธุว์ ิชยั   เปนตัวอยา่ งหนงึ ของคนไทย  ซงึ อาศยั อยูใ่ น ประเทศมาเลเซยี   แต่อพยพกลับมาในประเทศไทยในชว่ งต้นเดือนพฤษภาคม  พ.ศ.๒๕๖๓  ซงึ ทัง ประเทศไทยและประเทศมาเลเซยี   รวมถึงประเทศสว่ นใหญใ่ นโลก  ประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉนิ เพราะการ ระบาดของโควิด ๑๙  จึงทําใหม้ กี ารจํากัดเสรภี าพในการเดินทางขา้ มชาติ หรอื แมข้ า้ มเขตภายในประเทศ ต่างๆ  คณุ แมป่ อมเปนคนบุรรี มั ย ์ ซงึ ได้ตัดสนิ ใจเขา้ ไปทํางานในประเทศมาเลเซยี  เปนเวลา ๓๐ ปมาแล้ว  ก็คือ  ในราว  พ.ศ.๒๕๓๓  โดยทํางานในหลายอาชพี   อาทิ  งานในรา้ นอาหาร  งานในรา้ นคาราโอเกะ  ตลอด จน งานในรา้ นเสรมิ สวย   ต่อมา คณุ แมป่ อมได้พบรกั และอยูก่ ินฉนั สามภี รยิ ากับนายซอย มนุ  คิน  ชายสญั ชาติมาเลเชยี เชอื สายจีน  ซงึ มอี าชพี ดแู ลคนงานในโรงงานแหง่ หนงึ ในมาเลเซยี   ในชว่ งสถานการณโ์ ควิด ๑๙ ระบาดในโลก  เธอตังครรภ์บุตร  ซงึ มกี ําหนดคลอดในราวเดือนพฤษภาคม  ซงึ การตังครรภ์ครงั นเี ปนการตังครรภ์ทีสอง แล้ว  เธอเคยมบี ุตรชายมาแล้ว  ๑  คน กับชายสญั ชาติไทย บุตรชายคนโตมอี ายุในปจจุบนั  ๑๗ ป แล้ว ซงึ บุตรคนนอี าศยั อยูท่ ีจังหวัดบุรรี มั ย ์   32 จันทร์เสียวการแพทย์ เยียม ครอบครัวไทย-จีน คลอดลูกระหว่างกลับไทย ด้าน นายกสมาคม ยา เราชว่ ยเหลือทุกคนไมเ่ ลือก ปฏิบัติ และ ไมแ่ บง่ แยกศาสนา, เมือวันที ๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓ http://spmcnews.com/?p=29429  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 19/34  คณุ แมป่ อมเล่าว่า  สาเหตทุ ีเธอตัดสนิ ใจออกเดินทางกลับประเทศไทย  เพราะเธอไมม่ หี ลักประกัน สขุ ภาพในประเทศมาเลเซยี  เธอจึงต้องจ่ายค่าคลอดบุตรเอง หากจะคลอดในประเทศไทยมาเลเซยี  ซงึ มคี ่า ใชจ้ ่ายสงู มาก  และเธอไมม่ เี งิน  เนอื งจากเธอและสามตี กงาน  อีกทังไมม่ เี งินเก็บเลย  เธอจึงขอความชว่ ย เหลือ  “สมาคมจันทรเ์ สยี ว”  เพอื ใหป้ ระสานงานกับสถานกงสลุ ไทยในประเทศมาเลเซยี   เพอื จัดการการ เดินทางออกจากประเทศมาเลเซยี ใหแ้ ก่เธอ  อันจะทําใหเ้ ธออาจคลอดบุตรในประเทศไทย  โดยไมต่ ้องเสยี ค่าใชจ้ ่าย  หรอื เสยี นอ้ ยมาก  เพราะความเปนคนสญั ชาติไทยของเธอยอ่ มก่อตังสทิ ธใิ นหลักประกันสขุ ภาพ แบบได้เปล่าตาม พ.ร.บ.หลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๕   ในทีสดุ  เธอได้รบั อนญุ าตใหอ้ อกเดินทางในวันที ๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓ แต่ลําพงั คนเดียว สามี สญั ชาติมาเลเซยี ไมอ่ าจตามกลับมาด้วย  และเมอื ถึงด่านสไุ หงโกลกของประเทศไทย  เธอก็มอี าการเท้า บวม  จึงถกู สง่ มายงั โรงพยาบาลสไุ หงโกลก  และในวันที  ๓  พฤษภาคม  พ.ศ.๒๕๖๓  เธอก็ได้คลอดลกู ชาย  ซงึ เธอตังชอื ว่า  “นอ้ งอะบ”ี   หรอื เด็กชายไชเ้ ฉงิ เฉงิ   พนั ธุว์ ิชยั   และนอ้ งอาบไี ด้รบั การลงทะเบยี นสทิ ธใิ น หลักประกันสขุ ภาพถ้วนหนา้  หรอื ทีเรยี กกันทัวๆ ไปว่า “UC” อันทําใหเ้ ธอไมต่ ้องเสยี เงินค่าทําคลอดอยา่ ง ทีเธอคาดหวัง   แต่อยา่ งไรก็ตาม  แพทยท์ ีโรงพยาบาลสไุ หงโกลกตรวจพบ  \"ก้อนเลือด”  ในเยอื หมุ้ สมองของนอ้ ง อะบ ี จึงนดั หมายใหม้ าตรวจอาการอีกครงั หลังจาก  ๑  เดือนทีคลอด  กล่าวคือ  ในวันที  ๑๑  มถิ นุ ายน  พ.ศ. ๒๕๖๓  แต่ด้วยความขดั สนทางการเงิน  ไมอ่ าจรอพบแพทยท์ ีโรงพยาบาลสไุ หงโกลกได้  คณุ แมป่ อมตัดสนิ ใจเดินทางออกจากสไุ หงโกลกมาอาศยั อยูก่ ับนางบุญยง  มารดาของเธอ  ทีอําเภอคลองหลวง  จังหวัด ปทมุ ธาน ี ดังนนั   เมอื มาถึงวันนดั ตรวจสขุ ภาพตามใบนดั ของโรงพยาบาลสไุ หงโกลก  เธอจึงตัดสนิ ใจทีจะ พานอ้ งอะบไี ปรอ้ งขอตรวจสขุ ภาพ ณ โรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติ ซงึ เปนโรงพยาบาลทีใกล้ บา้ นทีสดุ ของเธอ กล่าวคือ ๑๐ กม. จากบา้ นของนางบุญยง มารดา    “บางกอกคลินกิ นติ ิธรรมศาสตร”์  ได้รบั การรอ้ งขอจากเครอื ขา่ ยคนทํางานเพอื คนไทยในมาเลเซยี   ใหเ้ ขา้ ดแู ลคณุ แมป่ อมและนอ้ งอะบ ี ซงึ นกั กฎหมาย ๒ คนได้รบั มอบหมายใหท้ ํางานใหค้ วามชว่ ยเหลือครงั น ี อันได้แก่  (๑)  อาจารยว์ ีระ  ชุบทอง  นกั กฎหมายตีนเปล่าอาสาสมคั ร  และ  (๒)  อาจารย ์ ดร.ศวิ นชุ   สรอ้ ยทอง นกั กฎหมายวิชาชพี การทํางานครงั นเี ปนไปตามบนั ทึกของอาจารย์ ดร.ศวิ นชุ ดังนี 33  “โรงพยาบาลควรใหบ้ รกิ ารตรวจสขุ ภาพเด็กวัยเยาว์ทันที  เมอื ฟงขอ้ เท็จจรงิ ได้ว่า  \"นอ้ งอาบเี คยมี ก้อนเลือดในเยอื หมุ้ สมอง\"  และคณุ แมน่ อ้ งเหลือเงินติดตัวไมถ่ ึงหนงึ พนั บาท  จากนนั   จึงมาจัดการเรอื งค่า ใชจ้ ่ายในการรกั ษาพยาบาลอีกครงั   เราต้องเขา้ ใจว่า  \"สทิ ธใิ นหลักประกันสขุ ภาพถ้วนหนา้   (UC)  ของนอ้ งอาบ\"ี   เปนสทิ ธทิ ีนอ้ งอาบมี ี ติดตัวทันทีทีปรากฏชดั ว่ามสี ญั ชาติไทย  ตามมาตรา  ๕34  แหง่   พ.ร.บ.หลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ  พ.ศ. 33 ศิวนุช สร้อยทอง, #สทิ ธิในหลักประกันสขุ ภาพถ้วนหน้า #สทิ ธิUCของคนสญั ชาติไทยโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ #เจตนารมณ์ของ หลักประกันสขุ ภาพถ้วนหน้าเพือมิใหค้ นยากไรถ้ กู ทอดทิงจากการรกั ษาพยาบาล #เทยี นกเี ล่มทสี อ่ งมาใหน้ ้องอาบี #หลมุ ดํา กหี ลมุ ทตี ้องตกเปนคนไรส้ ทิ ธิ, เมือวันที ๑๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๓  https://www.facebook.com/siwanoot/posts/3385997951411614  34 ซึงบัญญัติว่า  “บุคคลทุกคนมีสทิ ธไิ ด้รบั บรกิ ารสาธารณสุขทีมีมาตรฐานและมีประสทิ ธภิ าพตามทีกําหนดโดยพระราชบญั ญตั ิน ี คณะกรรมการอาจกําหนดใหบ้ ุคคลทีเข้ารบั การบรกิ ารสาธารณสุขต้องรว่ มจ่ายค่าบรกิ ารในอัตราทีกําหนดใหแ้ ก่หนว่ ย บรกิ ารในแต่ละครงั ทีเข้ารบั การบรกิ าร เว้นแต่ผูย้ ากไรห้ รอื บุคคลอืนทีรฐั มนตรปี ระกาศกําหนดไมต่ ้องจ่ายค่าบรกิ าร  ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุขทีบุคคลจะมีสทิ ธไิ ด้รบั ใหเ้ ปนไปตามทีคณะกรรมการประกาศกําหนด”  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 20/34  ๒๕๔๕  นอกจากน ี เมอื พบว่านอ้ งอาบเี ปนเด็กวัยเยาว์อายุไมเ่ กิน  ๑๒  ป  นอ้ งอาบมี สี ทิ ธใิ นการรกั ษา พยาบาลโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ ่าย  ตามมาตรา  ๕  วรรคสองฯ  ประกอบขอ้   ๒  (๕)  แหง่ ประกาศกระทรวง สาธารณสขุ   เรอื ง  บุคคลทีไมต่ ้องจ่ายค่าบรกิ าร  พ.ศ.๒๕๕๕  ซงึ สอดคล้องกับการคํานงึ ถึงประโยชนส์ งู สดุ ของเด็กเปนสาํ คัญ (the best interest of child)  นอกจากน ี เมอื คณุ แมป่ อมไมส่ ามารถเดินทางกลับไปตรวจรกั ษาทีโรงพยาบาลสไุ หงโกลกได้  ด้วย ระยะทางทีหา่ งไกล และไมม่ เี งินค่าเดินทาง จึงเปน \"เหตสุ มควร\" ใหเ้ ขา้ รบั บรกิ ารทีโรงพยาบาลอืนได้ ตาม มาตรา  ๗35  แหง่   พ.ร.บ.หลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ  พ.ศ.๒๕๔๕  ประกอบขอ้   ๕  แหง่ ขอ้ บงั คับคณะ กรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติว่าด้วยการใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ   กรณที ีมเี หตสุ มควร  กรณี อุบตั ิเหตหุ รอื กรณเี จ็บปวยฉกุ เฉนิ   พ.ศ.๒๕๖๐  ซงึ ระบุชดั เจนว่า  เหตสุ มควรนนั   ต้องคํานงึ ถึงความสะดวก และความจําเปนของผใู้ ชส้ ทิ ธริ บั บรกิ าร หรอื คณุ แมป่ อมกับนอ้ งอาบนี นั เอง  แมก้ ฎหมายและนโยบายด้านสาธารณสขุ ชดั เจนเพยี งใด  แต่เรอื งนกี ็ยงั มปี ญหาอุปสรรคในการ ปฏิบตั ิของเจ้าหนา้ ทีโรงหลายพยาบาลทีเกียวขอ้ ง ซงึ เปรยี บเปน \"หลมุ ดําทีทําใหน้ อ้ งอาบตี กอยูใ่ นความไร้ สทิ ธ\"ิ   หลมุ ดําท ี ๑  :  เจ้าหน้าทฝี ายประสานสทิ ธิของโรงพยาบาลธรรมศาสตรใ์ นวันท ี ๕  มถิ นุ ายน  พ.ศ.๒๕๖๓  แจ้งว่า  น้องอาบไี มส่ ามารถตรวจรกั ษาโดยใชส้ ทิ ธิ  UC  ได้  เนืองจากไมม่  ี \"ใบสง่ ตัว\"  จาก โรงพยาบาลสไุ หงโกลก  ซงึ การเรยี กรอ้ งเอกสารการสง่ ต่อนนั   เปนการปฏิบตั ิสาํ หรบั กรณคี นทัวไป  ไมใ่ ช่ คนทีมเี หตสุ มควร  ตามมาตรา  ๗ฯ  นอกจากน ี แมเ้ ราจะขอเขา้ พบฝายสงั คมสงคราะหข์ องโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์ แต่ก็ไมไ่ ด้รบั การชว่ ยเหลือในเงินกองทนุ สงเคราะหค์ ่ารกั ษาพยาบาลของนอ้ งอาบ ี หลมุ ดําท ี ๒  :  เจ้าหน้าทฝี ายประกันของโรงพยาบาลสามโคกในวันท ี ๘ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๓  แจ้งว่า  \"น้องอาบไี มส่ ามารถตรวจรกั ษาโดยใชส้ ทิ ธิ  UC  ได้  เนืองจากเพงิ ยา้ ยทะเบยี นบา้ นมาในเขต พนื ทปี ทมุ ธาน ี ต้องรอการลงทะเบยี นสทิ ธิสมบูรณ์เปนเวลา  ๑๕  วัน\"  ​ทังทีเราได้จัดการใหย้ า้ ยทะเบยี น บา้ นนอ้ งอาบมี าอยูใ่ นปทมุ ธาน ี เพอื ใชส้ ทิ ธใิ นโรงพยาบาลทีอยูใ่ กล้  (๑๕  กม.)  กว่าต้องเดินทางกลับไป สไุ หงโกลก  แต่ก็ยงั ติดขดั เงือนไขซงึ เปนเพยี งวิธปี ฏิบตั ิภายในของหนว่ ยราชการในการบรหิ ารงบ  โดยไม่ ปรากฏในกฎหมายแต่อยา่ งใด  !!! แต่อยา่ งไรก็ตาม ใ​ นวันดังกล่าว นอ้ งอาบจี ึงได้รบั การตรวจดเู บอื งต้นโดย คณุ หมอผอู้ ํานวยการโรงพยาบาลสามโคก  แต่ไมไ่ ด้ทําการ  CT  Scan  ตามทีกําหนดไว้เนอื งจากไมม่ เี ครอื ง มอื   อยา่ งไรก็ดี คณุ แมป่ อมได้รบั การตรวจรกั ษาแผลผา่ ตัดด้วย ซงึ คาดว่าจะติดเชอื  แต่ก็ต้องเสยี ค่าใชจ้ ่าย ในการรกั ษา ๑๗๐ บาท ทัง ๆ ทีเปนคนยากไรท้ ีต้องได้รบั การยกเว้นตามมาตรา ๕ วรรคสอง ฯ แมค้ ณุ หมอ โรงพยาบาลสามโคกได้ใหค้ วามชว่ ยเหลือโดยทําใบสง่ ตัวและนดั หมายทางวาจาใหน้ อ้ งอาบไี ด้พบกับคณุ หมอประจําโรงพยาบาลปทมุ ธาน ี จนได้พบกับกมุ ารแพทย ์ แต่ก็ทําได้เพยี งตรวจดอู าการเบอื งต้น  โดยไม่ ได้ทําการ CT Scan เนอื งจากปญหารอการยา้ ยสทิ ธสิ มบูรณใ์ นวันที ๑๕ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๓  35 ​ซึงบัญญัติว่า “บุคคลทีได้ลงทะเบยี นแล้ว ใหใ้ ช้สทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสุขได้จากหนว่ ยบรกิ ารประจําของตนหรอื หนว่ ยบรกิ าร ปฐมภูมิในเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารทีเกียวข้อง หรอื จากหนว่ ยบรกิ ารอืนทีหนว่ ยบรกิ ารประจําของตนหรอื เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารที เกียวข้องสง่ ต่อ เว้นแต่กรณที ีมีเหตุสมควร หรอื กรณอี ุบตั ิเหตุหรอื กรณเี จ็บปวยฉุกเฉิน ใหบ้ ุคคลนนั มีสทิ ธเิ ข้ารบั บรกิ ารจากสถาน บรกิ ารอืนได้ ทังนี ตามทีคณะกรรมการกําหนด โดยคํานงึ ถึงความสะดวกและความจําเปนของผูใ้ ช้สทิ ธริ บั บรกิ าร และใหส้ ถาน บรกิ ารทีใหบ้ รกิ ารนนั มีสทิ ธไิ ด้รบั ค่าใช้จ่ายจากกองทุนตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือนไขทีคณะกรรมการกําหนด”  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 21/34  หลมุ ดําท ี ๓  :  คณุ หมอโรงพยาบาลสไุ หงโกลกได้จัดทําหนังสอื สง่ ตัวน้องอาบมี าทโี รงพยาบาล ธรรมศาสตรใ์ นวันท ี ๑๒  มถิ นุ ายน  พ.ศ.๒๕๖๓  แต่ปรากฏว่า  มกี ารบนั ทึกรายการในขอ้   ๘  สทิ ธิการ รกั ษา  ว่า  \"ชาํ ระเงินเต็ม  (เบกิ ไมไ่ ด้)\"  ซงึ เปนการระบุสทิ ธิของน้องอาบที ผี ดิ พลาด  เพราะกลายเปนว่า เอกสารนแี จ้งการตัดสทิ ธนิ อ้ งอาบจี ากการใชส้ ทิ ธใิ นหลักประกันสขุ ภาพถ้วนหนา้ ทีโรงพยาบาล ธรรมศาสตร ์ แมจ้ ะปรากฏขอ้ เท็จจรงิ ภายหลังว่า การระบุ \"ชาํ ระเงินเต็ม (เบกิ ไมไ่ ด้)\" เปนเพราะการ auto  run  ของโปรแกรมการออกหนงั สอื สง่ ตัว  เมอื ไมไ่ ด้กรอกรายการอืน  ๆ  ในชอ่ งดังกล่าว  แต่การระบุตัดสทิ ธิ เชน่ น ี ไมม่ กี ฎหมายใดรองรบั   และแมแ้ ต่นโยบายรวมถึงขอ้ ปฏิบตั ิด้านสาธารณสขุ   ก็ไมม่ กี ารกําหนดให้ ทําได้แต่อยา่ งใด  (ขอ้ กล่าวอ้างทีเล่ากันว่า  หลายโรงพยาบาลมกี ารระบุเชน่ น ี เพราะไมต่ ้องการรบั ผดิ ชอบ ตามจ่ายค่ารกั ษาพยาบาลกับโรงพยาบาลปลายทางนนั เปนการปฏิบตั ิหนา้ ทีโดยไมช่ อบด้วยกฎหมาย)  กรณนี สี ะท้อนใหเ้ หน็ ว่า  หลมุ ดําทีนอ้ งอาบใี นวัยเพยี งเดือนเศษ  ต้องตกอยูใ่ นความไรส้ ทิ ธ ิ ทังๆ  ที มมี ารดาสญั ชาติไทย  และได้รบั การจัดทําสตู ิบตั รแสดงสญั ชาติไทย  เปนหลมุ ดําทีเกิดจากการปฏิบตั ิต่อ สองแมล่ กู นโี ดยไมค่ ํานงึ ถึงความเปราะบาง  และความจําเปนทางกฎหมาย  แนวคิดทอดทิงนยิ มเชน่ น ี ต้อง ปฏิรูปใหห้ มดไป  เพราะไมเ่ ชน่ นนั จะเปนการทําลายเจตนารมณใ์ นระบบหลักประกันสขุ ภาพถ้วนหนา้   ที พยายามใหค้ นยากไรเ้ ขา้ ถึงสทิ ธใิ นการรกั ษาพยาบาลทีมมี าตรฐานได้อยา่ งเท่าเทียม”  ในทีสดุ การบงั คับการตามกฎหมายเพอื รบั รองสทิ ธใิ นสขุ ภาพดีของทังคณุ แมป่ อมบุษกร และนอ้ ง อะบี ก็เปนไปได้ แมจ้ ะมอี ุปสรรคอยา่ งมากมาย   ในระหว่างทีคณุ แมป่ อมบุษกรยงั พานอ้ งอะบกี ลับไปอาศยั อยูก่ ับคณุ พอ่ ซอย  มนุ   คิน  สามสี ญั ชาติ มาเลเซยี   ในประเทศมาเลเซยี ยงั ไมไ่ ด้ เพราะประเทศดังกล่าวนยี งั ไมเ่ ปดประเทศใหเ้ ดินทางกลับไปได้ ซงึ ในเวลาทีมกี ารเปดประเทศ ก็คงมปี ญหาใหจ้ ัดการอีกมากมาย เพราะคณุ แมป่ อมยงั ไมไ่ ด้จดทะเบยี นสมรส ตามกฎหมายกับคณุ พอ่ ซอย  ในระหว่างทีรอการคลีคลายของแต่ละปญหาในชวี ิต  ผศ.ดร.ปรญิ ญา  เทวา นฤมติ รกลุ   รองอธกิ ารบดีฝายความยงั ยนื และบรหิ ารศนู ยร์ งั สติ   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ จึงเสนองานให้ แก่คณุ แมป่ อมบุษกรทํา เพอื สามารถมเี งินยงั ชพี โดยใหง้ านทําในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร3์ 6   จะเหน็ ว่า  เรอื งราวนเี ปนตัวอยา่ งของการเขา้ ไมถ่ ึงสทิ ธมิ นษุ ยชน  แมจ้ ะมกี ฎหมายไทยทีค่อนขา้ ง  ดีเพอื ดแู ลคนสญั ชาติไทย  แต่เมอื เปนสถานการณข์ องคนสญั ชาติไทยเพงิ เดินทางกลับจากต่างประเทศ  การจัดการสทิ ธอิ ันจําเปนก็ยงั มอี ุปสรรคอยูม่ าก   -----------------------------------------------------------------------  จงเลือกคําตอบทถี กู ต้องเพยี ง ๑ ขอ้ ในคําถาม ๑๐ ขอ้ ต่อไปน3ี 7  ------------------------------------------------------------------------  1. ขอ้ สรุปในใดดังต่อไปนี “ไมถ่ กู ต้อง” เกยี วกับ “คณุ แมป่ อมบุษกร”  a. เปนเรอื งของคนยากจนจากภาคอิสานของประเทศไทย ซงึ อพยพไปทํางานในประเทศ มาเลเซยี   36 ​วีระ ชุบทอง, #สทิ ธิในการทํางานเลยี งชพี #เพือคณุ แม่ปอมน้องไช้เฉิงเฉิง #น้องอะบไี ช้เฉิงเฉิงพันธ์วิชัย #หญิงไทยใน มาเลเซยี , เมือวันที ๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓ https://www.facebook.com/weera.choopthong/posts/972807119817524   37 ​พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, กรณศี กึ ษาคณุ แม่ปอมบุษกรหญิงสญั ชาติไทยในประเทศมาเลเซยี , งานเขียนซึงใช้เปน ฉากทัศน์เพือข้อสอบสิทธิมนุษยชนธรรมศาสตร์ประจําป ๒๕๖๓, เมือวันที ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓  https://docs.google.com/document/d/1p8GRAh9wYzjDN5_C2u_FMSOvWHMRqzF4pWXfuRIHVDk/edit?usp=sharing    กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 22/34  b. เปนเรอื งของหญงิ สญั ชาติไทยทีก่อตังครอบครวั ขา้ มชาติกับชายสญั ชาติมาเลเซยี   c. เปนเรอื งของคนไทยในต่างประเทศ ซงึ ได้รบั ผลกระทบจากการปดชายแดนระหว่าง ประเทศเพราะการระบาดของโควิด ๑๙   d. เปนเรอื งของเหยอื การค้ามนษุ ย ์ 2. ขอ้ วิเคราะหใ์ นขอ้ ใดดังต่อไปนี เปนคําอธิบายที “ถกู ต้อง” เกยี วกับสมั พนั ธภาพระหว่างคณุ แมป่ อมบุษกร กับรฐั อธิปไตย   a. คณุ แมป่ อมบุษกรมแี ละถือสทิ ธใิ นสญั ชาติไทย  เธอจึงมจี ุดเกาะเกียวทีแท้จรงิ และเขม้ ขน้ กับรฐั ไทย ซงึ เปนรฐั เจ้าของสญั ชาติของเธอ   b. คณุ แมป่ อมบุษกรมสี ถานะคนสญั ชาติไทยในทะเบยี นราษฎรของรฐั ไทย  ณ  จังหวัด บุรรี มั ย ์ ตังแต่เกิด และต่อมา ยา้ ยมาอยูท่ ีจังหวัดปทมุ ธาน ี จึงสรุปได้ว่า เธอจึงมภี มู ลิ ําเนา ตามกฎหมายมหาชนอยูใ่ นประเทศไทยมาตังแต่เกิด  แมเ้ ธอจะไปอาศยั ในประเทศ มาเลเซยี ถึง  ๓๐  ป  รฐั ไทยจึงมจี ุดเกาะเกียวกับเธอในสถานะรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนาตาม กฎหมายมหาชนอีกด้วย    c. คณุ แมป่ อมบุษกรตังบา้ นเรอื นในชว่ งเวลา  ๓๐  ปหลังของชวี ิตในประเทศมาเลเซยี   การ เดินทางกลับมาประเทศไทย  ก็เพยี งเพอื คลอดบุตร  และเธอก็มเี จตนาทีจะกลับมาเลเซยี ในทันทีทีประเทศนยี อมใหเ้ ธอเดินทางกลับได้  จึงสรุปว่า  เธอยงั มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมาย เอกชนอยูใ่ นประเทศมาเลเซยี  ดังนนั  รฐั มาเลเซยี จึงมสี ถานะเปนรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนาตาม กฎหมายเอกชนของเธอ มใิ ชร่ ฐั ไทย ซงึ เคยเปนเมอื ๓๐ ปก่อน  d. ถกู ทกุ ขอ้    3. ขอ้ วิเคราะหใ์ นขอ้ ใดดังต่อไปนี เปนคําอธิบายที “ถกู ต้อง” เกยี วกับสมั พนั ธภาพระหว่างน้อง อะบไี ซเฉิงเฉิง กับรฐั อธิปไตย   a. นอ้ งอะบฯี   มสี ทิ ธใิ นสองสญั ชาติ  กล่าวคือ  (๑)  สญั ชาติไทยจากมารดาและสถานทีเกิด  กับ  (๒)  สญั ชาติมาเลเซยี จากบดิ า  เขาจึงมจี ุดเกาะเกียวทีแท้จรงิ และเขม้ ขน้ กับ  ๒  รฐั   กล่าวคือ  (๑)  รฐั ไทย  และ  (๒)  รฐั มาเลเซยี   แต่ในวันน ี มเี พยี งรฐั ไทยซงึ รบั รองจุดเกาะ เกียวน ี โดยการรบั รองสถานะบุคคลตามกฎหมายการทะเบยี นราษฎรใหแ้ ก่เขาแล้ว  รฐั ไทยจึงมสี ถานะเปนรฐั เจ้าของสญั ชาติของเขาแล้ว  b. นอ้ งอะบฯี   มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายมหาชนอยูใ่ นประเทศไทยมาตังแต่เกิด รฐั ไทยจึงมจี ุด เกาะเกียวทีแท้จรงิ กับเขาในสถานะรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายมหาชนอีกด้วย ทังน ี เพราะเขาถกู บนั ทึกสถานะคนสญั ชาติไทยในทะเบยี นราษฎรของรฐั ไทย  ณ  อําเภอ สไุ หงโกลก  จังหวัดนราธวิ าส อันเปนทีตังของโรงพยาบาลทีคลอด และต่อมา ยา้ ยมาอยูท่ ี จังหวัดปทมุ ธาน ี โดยคณุ แมป่ อมฯ  มารดา  เพอื ทีจะขนึ ทะเบยี นสทิ ธใิ นหลักประกัน สขุ ภาพภายใต้ พ.ร.บ.หลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๕   c. ในสว่ นภมู ลิ ําเนาของผเู้ ยาว์ยอ่ มเปนไปตามมารดา กล่าวคือ คณุ แมป่ อมบุษกร ดังนนั  เมอื คณุ แมผ่ นู้ ตี ังบา้ นเรอื นในชว่ งเวลา  ๓๐  ปหลังของชวี ิตในประเทศมาเลเซยี   การเดินทาง กลับมาประเทศไทย  ก็เพอื คลอดบุตร  และเธอก็มเี จตนาทีจะกลับมาเลเซยี ในทันทีที กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 23/34  ประเทศนยี อมใหเ้ ธอเดินทางกลับได้  จึงสรุปว่า  เธอยงั มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนอยู่ ในประเทศมาเลเซยี   ดังนนั   รฐั มาเลเซยี จึงมสี ถานะเปนรฐั เจ้าของภมู ลิ ําเนาตามกฎหมาย เอกชนของเธอ  นอ้ งอะบฯี  จึงมภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนอยูใ่ นประเทศมาเลเซยี ตาม มารดา มใิ ชป่ ระเทศไทย  d. ถกู ทกุ ขอ้    4. โดยหลักกฎหมายสญั ชาติสากล น้องอะบฯี “ยอ่ มม”ี สทิ ธิในสญั ชาติของรฐั ใดดังต่อไปน ี   a. ไทย เพราะมารดาถือสญั ชาติไทย และเขาเกิดในประเทศไทย  b. มาเลเซยี เพราะบดิ าถือสญั ชาติมาเลเซยี   c. ถกู ทังขอ้ ก. และ ข.  d. ยงั สรุปไมไ่ ด้  เพราะมาเลเซยี หา้ มถือสองสญั ชาติ  จึงต้องรอใหน้ อ้ งอะบเี ลือก  เมอื บรรลุ นติ ิภาวะ    5. กฎหมายลายลักษณ์อักษรของรฐั ไทยว่าด้วยสญั ชาติไทย  “ทมี ผี ล”  ในขณะทนี ้องอะบฯี   เกิด  และ ยนื ยนั สทิ ธิในสญั ชาติไทยใหแ้ ก่น้องทังสอง  a. พ.ร.บ.สญั ชาติ พ.ศ.๒๕๐๘    b. พ.ร.บ.สญั ชาติ (ฉบบั ที ๒) พ.ศ.๒๕๓๕  c. พ.ร.บ.สญั ชาติ (ฉบบั ที ๔) พ.ศ.๒๕๕๑   d. ถกู ทกุ ขอ้    6. ขอ้ วิเคราะหใ์ นขอ้ ใดดังต่อไปน ี “ถกู ต้อง” เกยี วกับการกระทําของเจ้าหน้าทขี องรฐั ไทยต่อคณุ แมป่ อมบุษกร  ซงึ ถือสญั ชาติไทย  และเดินทางกลับ  “อยา่ งรบี ด่วน”  เขา้ สปู่ ระเทศไทยเพอื คลอดบุตร  a. คณุ แมป่ อมฯ  ต้องเสยี ค่าปรบั   ๘๐๐  บาท  เพราะกระทําความผดิ ตาม  พ.ร.บ.คนเขา้ เมอื ง  พ.ศ.๒๕๒๒  ทีไมเ่ ขา้ เมอื งในชอ่ งทางทีกําหนดใหเ้ ขา้ เมอื ง  แต่กลับไปใชช้ อ่ งทาง ธรรมชาติ  b. คณุ แมป่ อมฯ  ต้องถกู กักตัวเปนระยะเวลา  ๑๔  วัน  ในสถานทีกักตัวของจังหวัดนราธวิ าส  เพราะขา้ มแดนมาจากมาเลเซยี ในชว่ งสถานการณโ์ ควิด ๑๙ ระบาด   c. คณุ แมป่ อมฯ  ต้องเสยี ค่ารกั ษาแผลผา่ ตัดคลิดบุตรทีปรแิ ตก  ณ  โรงพยาบาลสามโศก  เพราะจํานวน ๑๗๐ บาท  เพราะ การใชส้ ทิ ธใิ นหลักประกันสขุ ภาพทําไมไ่ ด้เพราะปญหา ระบบคอมพวิ เตอรข์ นึ ทะเบยี นสทิ ธไิ มร่ องรบั กรณคี นสญั ชาติไทยในสถานการณข์ องคณุ แมป่ อมฯ   d. คณุ แมป่ อมฯ  ไมไ่ ด้รบั ความชว่ ยเหลือในสถานะผปู้ ระสบภัยโควิด  ๑๙  ทังทีแทบไมม่ เี งิน ยงั ชพี ตนเอง และนอ้ งอะบี บุตรผเู้ ยาว์   7. ขอ้ วิเคราะหใ์ นขอ้ ใดดังต่อไปนี “ไมถ่ กู ต้อง” เกยี วกับน้องอะบฯี   a. เมอื เขาเปนเด็กอ่อนสญั ชาติไทย  และครอบครวั มคี วามยากจน  เขาจึงมสี ทิ ธใิ นการ สนบั สนนุ ทางเงินเปนรายเดือนตามโครงการเงินอุดหนนุ เพอื การเลียงดเู ด็กแรกเกิดโดย รฐั บาลไทย  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 24/34  b. เมอื เขาเปนเด็กในประเทศไทย เขาจึงมสี ทิ ธใิ นการศกึ ษาตามหลัก Education for All    c. เมอื เขาเปนเด็กสญั ชาติไทยในทะเบยี นราษฎรของรฐั ไทย  เขาจึงมสี ทิ ธใิ นหลักประกัน สขุ ภาพแบบได้เปล่า  ไมว่ ่าเขาจะอยูใ่ นประเทศไทย หรอื กลับไปอาศยั กับบดิ าในประเทศ มาเลเซยี    d. เมอื เขาเปนคนสญั ชาติไทย  เขาจึงมหี นา้ ทีรบั ราชการทหารเมอื อายุครบ  ๒๑  ป  บรบิ ูรณ ์ ไมว่ ่าเขาจะอยูใ่ นประเทศไทย หรอื กลับไปอาศยั กับบดิ าในประเทศมาเลเซยี    8. ขอ้ วิเคราะหใ์ นขอ้ ใดดังต่อไปน ี “ถกู ต้อง”  เกยี วกับความเปนไปได้ทจี ะผลักดันการอยูร่ ว่ มกัน เปนครอบครวั ระหว่าง คณุ แมป่ อมฯ น้องอะบี และคณุ พอ่ ซอย   a. ไมม่ คี วามเปนไปได้เลยทีทังรฐั บาลไทยและมาเลเซยี จะใหค้ วามสนใจทีจะแก้ไขปญหา ของครอบครวั น ี   b. บางกอกคลินกิ นติ ิศาสตรธ์ รรมศาสตรอ์ าจทําหนงั สอื รอ้ งขอต่อนายกรฐั มนตรขี องรฐั ไทย  เพอื ใหค้ ณุ พอ่ ซอยเดินทางเขา้ มาประเทศไทยเพอื อาศยั กับครอบครวั   ซงึ ก็จะต้องผา่ น การกักตัว ๑๔ วัน เมอื ได้รบั อนญุ าตใหเ้ ดินทางเขา้ มาในประเทศไทย  c. บางกอกคลินกิ นติ ิศาสตรธ์ รรมศาสตรอ์ าจทําหนงั สอื รอ้ งขอต่อนายกรฐั มนตรขี องรฐั มาเลเซยี เพอื ใหค้ ณุ แมป่ อมฯ  และนอ้ งอะบ ี เดินทางกลับประเทศมาเลเซยี   เพอื อาศยั กับ ครอบครวั  ซงึ ก็จะต้องผา่ นการกักตัว ๑๔ วัน เมอื ได้รบั อนญุ าตใหเ้ ดินทางกลับประเทศดัง กล่าว  d. ถกู ทังขอ้ ข. และ ค.   9. ขอ้ ใดดังต่อไปน ี “น่าจะเปนอุปสรรคมากทสี ดุ ”  ทที ําใหร้ ฐั บาลมาเลเซยี ไมเ่ หน็ ชอบใหค้ ณุ แม่ ปอมฯ พาน้องอะบฯี เดินทางขา้ มชาติ เพอื อยูก่ ินกันฉันสามภี รยิ าต่อไป กับคณุ พอ่ ซอยฯ   a. ยงั มกี ารระบาดของโควิด  ๑๙  อันทําใหไ้ ทยและมาเลเซยี ยงั ไมเ่ ปดด่านตรวจคนเขา้ เมอื ง เพอื การเขา้ เมอื งอยา่ งเปนปกติ  b. ตลาดงานในมาเลเซยี ยงั ไมฟ่ นตัว  c. คณุ พอ่ ซอยและคณุ แมป่ อมฯ  ไมไ่ ด้จดทะเบยี นสมรสกันตามกฎหมาย  ซงึ กฎหมายคนเขา้ เมอื งสากลจะใหค้ วามสาํ คัญในประเด็นนี เพอื ใหว้ ีซา่ ครอบครวั   d. นอ้ งอะบฯี   ยงั ไมถ่ กู บนั ทึกในทะเบยี นราษฎรมาเลเซยี ว่า  เปนคนสญั ชาติมาเลเซยี ตาม บดิ า เขาจึงมสี ถานะเปนคนต่างด้าวในสายตาของรฐั มาเลเซยี   10. ขอ้ เท็จจรงิ ในขอ้ ใด  “น่าจะสาํ คัญ”  ในสายตาของรฐั บาลไทยเพอื พจิ ารณาอนุญาตใหค้ ณุ พอ่ ซอย  คนสญั ชาติมาเลเซยี   เดินทางเขา้ มาในประเทศไทยเพอื ใชส้ ทิ ธิในการอยูร่ ว่ มกันเปน ครอบครวั ได้อยา่ งรวดเรว็ ทสี ดุ กับคณุ แมป่ อมฯ และน้องอะบฯี    a. เพอื ประโยชนข์ องนอ้ งอะบฯี ซงึ บุตรผเู้ ยาว์  b. เพอื กระต้นุ เศรษฐกิจไทย  c. เพอื ความสมั พนั ธอ์ ันดีระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซยี   d. เพอื ประโยชนข์ องประชาชนอาเซยี น      กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 25/34  #เอกสารหมายเลขที ๔  กรณศี กึ ษาบรษิ ัท เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอรเ์ นชนั แนล รสี อรท์ คลับจํากัด38  : นิติบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศอาจมภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนหรอื ไม่ ? อยา่ งไร ?    ----------------------------------------  คําถาม/ประเด็นแหง่ การพจิ ารณา  ------------------------------------------  โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  ถามว่า  บรษิ ัท  เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอร์ เนชนั แนล  รสี อรท์ คลับ  จํากัด  มภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนอยูใ่ นประเทศไทยหรอื ไม ่ ?  เพราะเหตใุ ด ?  39  -----------  ขอ้ เท็จจรงิ 40  -----------  บรษิ ัท  เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอรเ์ นชนั แนล  รสี อรท์ คลับ จํากัด ได้เขา้ ไปดําเนนิ การลงทนุ  ก่อสรา้ ง นคิ มอุตสาหกรรมเกาะแก้วพศิ ดาร  ในประเทศคีรรี ฐั   โดยได้รบั ความรว่ มมอื จากรฐั บาลไทย  ซงึ ใหก้ ารนคิ ม อุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย  (กนอ.)  เขา้ ไปศกึ ษาความเปนไปได้แล้ว  และปลายป  พ.ศ.๒๕๔๗  จะได้นาํ ผลการศกึ ษา มาแถลงใหก้ ับคณะกรรมการนคิ มอุตสาหกรรมจังหวัดเกาะแก้วพศิ ดารได้ทราบต่อไป  38 ​พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, กรณศี กึ ษาบรษิ ัท เกาะแก้วพิศดารอินเตอรเ์ นชันแนล รสี อรท์ คลับจํากัด : ภมู ิลําเนา ตามกฎหมายเอกชนของนิติบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศทมี อี งค์ประกอบไทย, เมือวันที ๑๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๙ ปรับปรุง ล่าสุดเมือวันที ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖  https://docs.google.com/document/d/1gnXzLuQ_nybtGPCQ7_GJrYFfx7KFpy2UZdJjzaMBqhM/edit?usp=sharing   39 ข​ ้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล หลักสูตรนิติศาสตร์บัณฑิต ภาคบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ วิทยาเขตลําปาง ปการศึกษา ๒๕๔๙ ภาคแก้ตัว  40 ข​ ้อเท็จจริงทีปรุงแต่งขึน  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 26/34  เดิม บรษิ ัท เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอรเ์ นชนั แนล รสี อรท์ คลับจํากัด ประกอบธุรกิจกาสโิ นเปนธุรกิจ หลัก  แต่ในปจจุบนั   ธุรกิจกาสโิ นไมใ่ ชธ่ ุรกิจหลักของบรษิ ัท  เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอรเ์ นชนั แนล  รสี อรท์ คลับจํากัดแล้ว  แต่เปนธุรกิจหนงึ ในอีกหลายประเภท  ซงึ ในชว่ งหลัง  บรษิ ัท  เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอร์ เนชนั แนล  รสี อรท์ คลับจํากัด  ไมไ่ ด้ใหค้ วามสาํ คัญกับธุรกิจการพนนั เท่าใดนกั   โดยจะใหค้ วามสาํ คัญกับ  ธุรกิจด้านท่องเทียว การลงทนุ ในเรอื งการค้ามากขนึ \"  อนงึ  นายสมศกั ดิ รกั ษ์ไทย เปนนกั ธุรกิจ ๒ สญั ชาติ คือ สญั ชาติไทยและคีรรี ฐั  โดยเขา ถือเปนนกั ธุรกิจชนั แนวหนา้ ของคีรรี ฐั   และมสี ายสมั พนั ธท์ ีดีกับนายเสนาคํา  นายกรฐั มนตร ี ของประเทศคีรรี ฐั   ปจจุบนั   รฐั บาลคีรรี ฐั ได้แต่งตังใหน้ ายสมศกั ดิ  รกั ษ์ไทย เปนทีปรกึ ษาด้านการลงทนุ เศรษฐกิจเกาะแก้วพศิ ดาร  โดยมอบหมายใหน้ ายสมศกั ดิรว่ มมอื กับผวู้ ่าราชการจังหวัดเกาะแก้วพศิ ดาร  ในการพฒั นาเศรษฐกิจ  การลงทนุ ในจังหวัดเกาะแก้วพศิ ดารทังหมด  เพอื ตอบสนองนโยบายของรฐั บาลคีรรี ฐั   ในการจะพฒั นาให้ จังหวัดเกาะแก้วพศิ ดาร เปนศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทนุ  และการท่องเทียวของประเทศ ซงึ จําเปนต้องมกี ารพฒั นาการลงทนุ ใหม้ ากขนึ   สว่ นบรษิ ัท  เกาะแก้วพศิ ดารอินเตอรเ์ นชนั แนล  รสี อรท์ คลับ  จํากัด  เปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายคีรี รฐั   ซงึ สาํ นกั งานใหญต่ ังอยูท่ ีจังหวัดตราด  ประเทศไทย  โดยมนี ายสมศกั ดิ  รกั ษ์ไทย  เปนผถู้ ือหนุ้ ทังหมด ของบรษิ ัทดังกล่าว  ทังน ี ในอนาคต  เกาะแก้วพศิ ดาร  จะได้รบั การประกาศใหเ้ ปน  \"เขตเศรษฐกิจพเิ ศษเกาะแก้ว พสิ ดาร”  และมนี ายสมศกั ดิ  เปนผดู้ แู ลเขตเศรษฐกิจพเิ ศษเกาะแก้วพศิ ดารแหง่ น ี ซงึ โครงการหนงึ ทีกําลัง ถกู ผลักดันใหเ้ กิดขนึ โดยเรว็   ก็คือ  \"นคิ มอุตสาหกรรมเกาะแก้วพศิ ดาร\"  ทีรฐั บาลไทย  โดยการนคิ ม อุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทยอยูร่ ะหว่างการศกึ ษาความเปนไปได้  ---------------------  แนวการวิเคราะห ์ ---------------------    โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  บุคคลจะมภี มู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนอยูใ่ น ประเทศไทย  ก็จะต้องพจิ ารณาตามกฎหมายไทย  ในสว่ นทีเกียวกับภมู ลิ ําเนาของนติ ิบุคคลตามกฎหมาย เอกชนไทยนนั   หลักกฎหมายดังกล่าวปรากฏอยูใ่ นมาตรา  ๖๘  และ  ๖๙  แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และ พาณชิ ย ์   มาตรา  ๖๘  แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยก์ ําหนดว่า  ​\"ภมู ลิ ําเนาของนติ ิบุคคลได้แก่ถิน อันเปนทีตังสาํ นกั งานใหญห่ รอื อันเปนทีตังทีทําการ  หรอื ถินทีได้เลือกเอาเปนภมู ลิ ําเนาเฉพาะการตามขอ้ บงั คับ  หรอื ตราสารจัดตัง\"  แต่อยา่ งไรก็ตาม มาตรา ๖๙ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยก์ ําหนดว่า  \"ในกรณที ีนติ ิบุคคลมที ีตังทําการหลายแหง่ หรอื มสี าํ นกั งานสาขา ใหถ้ ือว่า ถินอันเปนทีตังของทีทําการหรอื ของสาํ นกั งานสาขาเปนภมู ลิ ําเนาในสว่ นกิจการอันได้กระทํา ณ ทีนนั ด้วย\"  จึงอาจสรุปได้ว่า  โดยทัวไป  มถี ินทีอาจถือว่าเปนภมู ลิ ําเนาของนติ ิบุคคลได้  ๓  ถิน  คือ  (๑)  นติ ิบุคคลยอ่ มมภี มู ลิ ําเนา  ณ  สาํ นกั งานแหง่ ใหญท่ ีแท้จรงิ   ทังน ี ไมว่ ่าจะเกิด  \"การขดั กันของภมู ลิ ําเนาของ นติ ิบุคคล\"  หรอื ไม ่ (๒)  นติ ิบุคคลยอ่ มมภี มู ลิ ําเนา  ณ  ทีตังทีทําการของนติ ิบุคคลได้ด้วยสาํ หรบั กิจการทีได้ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 27/34  กระทําลง  ณ  ทีทําการนนั ๆ  อีกด้วย  และ  (๓)  นติ ิบุคคลยอ่ มมภี มู ลิ ําเนา  ณ  ถินทีได้เลือกเอาเปนภมู ลิ ําเนา เฉพาะการตามขอ้ บงั คับหรอื ตราสารจัดตัง สาํ หรบั กิจการทีได้กระทําลง ณ ทีทําการนนั ๆ อีกด้วย  โดยพจิ ารณาจากหลักกฎหมายขา้ งต้น จึงอาจพจิ ารณาเกียวกับภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชนของ บรษิ ัท เกาะแก้วฯ ได้ว่า ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ อีกว่า บรษิ ัทเกาะแก้วฯ เปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายแหง่ ประเทศ คีรรี ฐั  ซงึ มสี าํ นกั งานใหญท่ ีแท้จรงิ  (Real Head Office) ก็ตังอยูใ่ นประเทศไทย สาํ นกั งานในประเทศคีรรี ฐั มใิ ชส่ าํ นกั งานทีมอี ํานาจในการตัดสนิ ใจในความเปนจรงิ   เปนเพยี งสาํ นกั งานทีถกู ระบุในตราสารจัดตัง  (Statutory Office) ดังนนั  บรษิ ัทเกาะแก้วฯ จึงภมู ลิ ําเนาทัวไปตามกฎหมายเอกชนในประเทศไทย มใิ ชค่ ีรี รฐั  แต่อยา่ งไรก็ตาม กฎหมายแพง่ ไทยก็ยอมรบั ใหส้ าํ นกั งานในคีรรี ฐั เปน “ภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน”  ของบรษิ ัทเกาะแก้วฯ ได้อยา่ งนอ้ ยสาํ หรบั กิจการทีได้กระทําลง ณ ทีทําการดังกล่าว      กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 28/34  #เอกสารหมายเลขที ๕  กรณศี กึ ษาบรษิ ัทสม้ ฝาง จํากัด  : ภมู ลิ ําเนาเปนขอ้ เท็จจรงิ ทที ําใหศ้ าลไทยรบั คดที เี จ้าหนี ซงึ เปนบรษิ ัทตามกฎหมายต่างประเทศฟอง บรษิ ัทตามกฎหมายไทยใหล้ ้มละลายได้หรอื ไม่ ?41    --------------------------------  ประเด็นทพี จิ ารณา/คําถาม  --------------------------------  โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  ถามว่า  ศาลไทยจะรบั คํารอ้ งของบรษิ ัท  เอบเี ค  จํากัดเพอื สงั ให ้ บรษิ ัทสม้ ฝาง  จํากัด  ล้มละลายได้หรอื ไม ่ ?  เพราะเหตใุ ด  ?  ภมู ลิ ําเนาของบรษิ ัทฯ เปนจุด เกาะเกียวกับรฐั ไทยทีศาลใชใ้ นการรบั คดีหรอื ไม่ ?42  --------------  ขอ้ เท็จจรงิ   ------------  บรษิ ัทสม้ ฝาง จํากัด ซงึ เปนบรษิ ัทมวี ัตถปุ ระสงค์ในการทําสวนสม้ เพอื การสง่ ออก โดยมสี วนสม้ ตัง อยูท่ ีอําเภอฝาง  จังหวัดเชยี งใหม ่ ถกู บรษิ ัท  เอบเี ค  จํากัด  ซงึ เปนบรษิ ัทค้าปุยตามกฎหมายจีน  รอ้ งขอให้ ศาลไทยสงั ใหบ้ รษิ ัทสม้ ฝางฯ  ล้มละลาย  อันเนอื งมาจากหนสี นิ จากสญั ญาซอื ขายทีมตี ่อกันในชว่ งเวลาที ผา่ นมา  ในขณะทีถกู ฟองคดี  บรษิ ัทสม้ ฝาง  จํากัด  เปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายไทย  ซงึ มสี าํ นกั งานใหญต่ ัง 41 ​พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, กรณศี กึ ษาบรษิ ัทสม้ ฝาง จํากัด : ศาลไทยมเี ขตอํานาจเหนือคดที เี จ้าหน้าหนฟี อง บรษิ ัทนใี หล้ ้มละลายหรอื ไม่ ?, เมือวันที ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ปรับปรุงล่าสุดเมือวันที ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖  https://docs.google.com/document/d/13x34zyb6ClX1jF7OtkbsLkk_vxKOPKJKKUfcpRLtL9w/edit?usp=sharing   42 ข้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ ปการศึกษา ๒๕๕๓ ภาค ๒  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 29/34  อยูใ่ นประเทศไทย โดยมสี มาชกิ ทกุ คนเปนคนสญั ชาติไทย บรษิ ัทนมี สี าขาตังอยูใ่ นประเทศมาเลเซยี   สว่ นบรษิ ัท  เอบเี ค  จํากัด  เปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายจีน  โดยสมาชกิ ขา้ งมากทีครอบงําบรษิ ัททีมี สญั ชาติจีน  โดยมสี าํ นกั งานตังตราจัดตังและสาํ นกั งานใหญต่ ังอยูท่ ีเซยี งไฮ้  สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ประชาชนจีน  ---------------------  แนวการวิเคราะห ์ ---------------------  โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  เมอื มกี ารรอ้ งขอนาํ คดีเขา้ สศู่ าลไทย  กฎหมาย วิธพี จิ ารณาความทีศาลจะต้องใชก้ ็คือ กฎหมายวิธพี จิ ารณาความของประเทศไทย ทังน ี เพราะนติ ิสมั พนั ธ์ ตามกฎหมายมหาชนทีมลี ักษณะระหว่างประเทศยอ่ มตกอยูภ่ ายใต้กฎหมายมหาชนภายในของรฐั ค่กู รณ ี ทังนี เว้นแต่จะกําหนดเปนอยา่ งอืน  จะเหน็ ว่า  กฎหมายวิธพี จิ ารณาความของไทยในเรอื งเขตอํานาจศาลไทยเหนอื ล้มละลาย  ก็คือ  มาตรา ๑๕๐ แหง่  พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.๒๔๘๓ ซงึ บญั ญตั ิ ​“การยนื คําฟองหรอื คํารอ้ งขอใหล้ ้มละลาย ให้ ยนื ต่อศาลซงึ ลกู หนมี ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นเขตหรอื ประกอบธุรกิจอยูใ่ นเขต  ไมว่ ่าด้วยตนเองหรอื โดยตัวแทนใน ขณะทียนื ฟองหรอื คํารอ้ งขอหรอื ภายในกําหนดเวลา ๑ ปก่อนนนั ”  โดยพจิ ารณาบทบญั ญตั ิดังกล่าว  จึงสรุปได้ว่า  ศาลไทยจะมเี ขตอํานาจทีจะรบั พจิ ารณาคําฟอง หรอื คํารอ้ งขอใหล้ ้มละลาย  หากลกู หนมี ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นเขตหรอื ประกอบธุรกิจอยูใ่ นเขต  ทังน ี ไมว่ ่าด้วย ตนเองหรอื โดยตัวแทนในขณะทียนื ฟองหรอื คํารอ้ งขอหรอื ภายในกําหนดเวลา ๑ ปก่อนนนั   ดังนนั  จึงสรุปประเด็นได้ต่อไปว่า ศาลไทยจะรบั คํารอ้ งของบรษิ ัท เอบเี ค จํากัด ก็ต่อเมอื บรษิ ัท สม้ ฝาง  จํากัด  “มภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นเขตหรอื ประกอบธุรกิจอยูใ่ นเขตไมว่ ่าด้วยตนเองหรอื โดยตัวแทนในขณะที ยนื ฟองหรอื คํารอ้ งขอหรอื ภายในกําหนดเวลา  ๑  ปก่อนนนั ”  คําถามในชนั น ี ก็คือ  บรษิ ัท  สม้ ฝางฯ  มี ภมู ลิ ําเนาหรอื ประกอบธุรกิจอยูใ่ นประเทศไทยหรอื ไม่ ?   เราจะต้องไมล่ ืมว่า  นติ ิบุคคลจะมภี มู ลิ ําเนาไทยได้นนั   อยา่ งนอ้ ยโดยขอ้ เท็จจรงิ   ก็คือ  จะต้องมขี อ้ เท็จจรงิ ตามทีมาตรา ๖๘ - ๖๙ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ กําหนด กล่าวคือ   (๑)  นติ ิบุคคลยอ่ มมภี มู ลิ ําเนา  ณ  สาํ นกั งานแหง่ ใหญท่ ีแท้จรงิ   ทังน ี ไมว่ ่าจะเกิด  \"การขดั กันของ ภมู ลิ ําเนาของนติ ิบุคคล\" หรอื ไม ่   (๒) นติ ิบุคคลยอ่ มมภี มู ลิ ําเนา ณ ทีตังทีทําการของนติ ิบุคคลได้ด้วยสาํ หรบั กิจการทีได้กระทําลง ณ  ทีทําการนนั ๆ อีกด้วย และ   (๓)  นติ ิบุคคลยอ่ มมภี มู ลิ ําเนา  ณ  ถินทีได้เลือกเอาเปนภมู ลิ ําเนาเฉพาะการตามขอ้ บงั คับหรอื ตราสารจัดตัง สาํ หรบั กิจการทีได้กระทําลง ณ ทีทําการนนั ๆ อีกด้วย  โดยสรุป  เมอื ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ ว่า  บรษิ ัทสม้ ฝาง  จํากัดมสี าํ นกั งานใหญอ่ ยูใ่ นประเทศไทย  จึงชไี ด้ ว่า  บรษิ ัทนมี ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทย โดยหลักกฎหมายวิธพี จิ ารณาความไทย ศาลไทยจะรบั คํารอ้ งขอ  งบรษิ ัท เอบเี ค จํากัดเพอื มคี ําสงั ว่า บรษิ ัท สม้ ฝาง จํากัด เปนบุคคลล้มละลาย    กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 30/34  #เอกสารชุดที ๖   กรณศี กึ ษาบรษิ ัท นามนั สยาม จํากัด   : ภมู ลิ ําเนาเปนขอ้ เท็จจรงิ ทที ําใหศ้ าลไทยรบั คํารอ้ งขอเพกิ ถอนมติของทปี ระชุมใหญข่ องบรษิ ัทตาม กฎหมายไทย ซงึ ครอบงําโดยบรษิ ัทตามกฎหมายของรฐั ต่างประเทศได้หรอื ไม่ ?43    --------------------------------  ประเด็นทพี จิ ารณา/คําถาม  ---------------------------------  โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ถามว่า ศาลไทยจะต้องใชก้ ฎหมายของประเทศ ใดในการพจิ ารณารบั คํารอ้ งขอเพกิ ถอนมติของทปี ระชุมใหญข่ องบรษิ ัท นามนั สยาม จํากัด ? เพราะเหตุ ใด ? โดยกฎหมายดังกล่าว ศาลไทยมเี ขตอํานาจทีจะรบั คํารอ้ งขอเพกิ ถอนมติของทีประชุมใหญข่ องบรษิ ัท  นามนั สยาม จํากัด หรอื ไม ่ ? เพราะเหตใุ ด ?  ภมู ลิ ําเนาของบรษิ ัทฯ เปนจุดเกาะเกียวกับรฐั ไทยทีศาลใชใ้ น การรบั คดีหรอื ไม่ ?   -------------  ขอ้ เท็จจรงิ   ------------  บรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัดเปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายแหง่ ประเทศไทย  แต่ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ ว่า  สาํ นกั งานใหญข่ องบรษิ ัทนตี ังอยูท่ ีรฐั นวิ ยอรค์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า  หนุ้ จํานวนรอ้ ยละ ๗๐ ในบรษิ ัท นามนั สยาม จํากัด เปนของบรษิ ัท ยู.เอส.ซมั มทิ  (โอเวอรซ์ )ี  จํากัด  ซงึ เปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายแหง่ ประเทศสาธารณรฐั ปานามา  แต่มสี าํ นกั งานใหญต่ ังอยูท่ ีรฐั นวิ ยอรค์   ประเทศสหรฐั อเมรกิ า นอกจากนนั บรษิ ัท ยู.เอส.ซมั มทิ (โอเวอรซ์ )ี จํากัดยงั มสี าขาในประเทศไทย   43 ​พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, กรณศี กึ ษาบรษิ ัท นามันสยาม จํากัด : ศาลไทยมเี ขตอํานาจเหนือคํารอ้ งขอเพิกถอน มติของทปี ระชุมใหญ่ของบรษิ ัทนหี รอื ไม่ ? ภมู ิลําเนาของบรษิ ัทฯ เปนจุดเกาะเกยี วกับรฐั ไทยทศี าลใช้ในการรบั คดหี รอื ไม่ ?,  เมือวันที ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ปรับปรุงล่าสุดเมือวันที ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ http://www.l3nr.org/posts/541927   กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 31/34  ---------------------  แนวการวิเคราะห ์ ---------------------  เมอื ขอ้ เท็จจรงิ เปนเรอื งของศาลทีพจิ ารณาถึงเขตอํานาจของตนเหนอื คดีทีโจทก์นาํ มาสศู่ าล  กรณี จึงมใิ ชน่ ติ ิสมั พนั ธต์ ามกฎหมายเอกชน  แต่เปนเรอื งของมหาชน  เมอื มกี ารรอ้ งขอนาํ คดีเขา้ สศู่ าลไทย  โดย หลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  กฎหมายวิธพี จิ ารณาความทีศาลจะต้องใชก้ ็คือ กฎหมายวิธี พจิ ารณาความของประเทศไทยซงึ เปนกฎหมายมหาชนของรฐั เจ้าของศาล  และเมอื คดีเปนคดีแพง่   กฎหมายวิธพี จิ ารณาความทีศาลจะต้องใชก้ ็คือ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ของประเทศไทย   ในเรอื งทีเกียวกับเขตอํานาจศาลไทยเหนอื คดีทีไมม่ ขี อ้ พพิ าท  โดยหลัก  กรณยี อ่ มเปนไปตามขอ้ กําหนดของมาตรา  ๔  (๒)  หากเปนกรณที ัวไป  เว้นแต่เปนกรณที ีเปนกรณพี เิ ศษ  ๓  กรณ ี ดังต่อไปน ี (๑)  กรณคี ํารอ้ งขอตังผจู้ ัดการมรดกยอ่ มตกอยูภ่ ายใต้มาตรา ๔ จัตวา แหง่  ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความ แพง่   (๒)  กรณคี ํารอ้ งเกียวกับนติ ิบุคคลยอ่ มตกอยูภ่ ายใต้มาตรา  ๔  เบญจ  แหง่   ประมวลกฎหมายวิธี พจิ ารณาความแพง่   และ  (๓)  กรณคี ํารอ้ งขอบงั คับต่อทรพั ยส์ นิ ทีตังอยูใ่ นประเทศไทยโดยทีผรู้ อ้ งมี ภมู ลิ ําเนาในต่างประเทศหรอื มลู คดีเกิดในต่างประเทศยอ่ มตกอยูภ่ ายใต้มาตรา ๔ ฉ แหง่ ประมวลกฎหมาย วิธพี จิ ารณาความแพง่    เมอื คําถามเปนเรอื งเกียวกับคํารอ้ งเกียวกับการดําเนนิ กิจการของนติ ิบุคคล  กรณยี อ่ มตกอยูภ่ าย ใต้มาตรา  ๔  เบญจ  แหง่   ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่   ซงึ ใหอ้ ํานาจแก่ศาลไทยทีจะรบั คํา รอ้ งขอเพกิ ถอนมติของทีประชุมหรอื ทีประชุมใหญข่ องนติ ิบุคคล คํารอ้ งขอเลิกนติ ิบุคคล คํารอ้ งขอตังหรอื ถอนผชู้ าํ ระบญั ชขี องนติ ิบุคคล  หรอื คํารอ้ งขออืนใดเกียวกับนติ ิบุคคล  หากนติ ิบุคคลนนั มสี าํ นกั งานแหง่ ใหญอ่ ยูใ่ นเขตศาลไทยเท่านนั   ดังนนั  ศาลไทยจะรบั คํารอ้ งขอเพกิ ถอนมติของทีประชุมหรอื ทีประชุมใหญ่ ของบรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัด  เพยี งในสถานการณท์ ีปรากฏว่า  สาํ นกั งานใหญข่ องบรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัด  ตังอยูใ่ นประเทศไทย  จึงต้องมาพจิ ารณาว่า  บรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัด  มสี าํ นกั งานใหญต่ ังอยูใ่ น ประเทศไทยหรอื ไม่ ?   ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ อีกว่า  หนุ้ จํานวนรอ้ ยละ  ๗๐  ในบรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัด  เปนของบรษิ ัท  ยู.เอส.ซมั มทิ (โอเวอรซ์ )ี   จํากัด  ซงึ เปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายแหง่ ประเทศสาธารณรฐั ปานามา  อํานาจใน การตัดสนิ ใจในการบรหิ ารบรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัดจึงทําโดยบรษิ ัท  ยู.เอส.ซมั มทิ (โอเวอรซ์ )ี   จํากัดซงึ มมี ี สาํ นกั งานใหญต่ ังอยูท่ ีรฐั นวิ ยอรค์   ประเทศสหรฐั อเมรกิ า  จึงทําใหส้ าํ นกั งานใหญท่ ีแท้จรงิ   (Real  Head  Office)  ของบรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัดก็ตังอยูท่ ีรฐั นวิ ยอรค์   ประเทศสหรฐั อเมรกิ าเชน่ กัน  สาํ นกั งานใน ประเทศไทยมใิ ชส่ าํ นกั งานทีมอี ํานาจในการตัดสนิ ใจในความเปนจรงิ   เปนเพยี งสาํ นกั งานทีถกู ระบุใน ตราสารจัดตัง  (Statutory Office) ดังนนั  บรษิ ัท นามนั สยาม จํากัดจึงภมู ลิ ําเนาทัวไปตามกฎหมายเอกชน ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า  อันทําใหอ้ าจกล่าวอ้างได้ว่า  สาํ นกั งานใหญท่ ีแท้จรงิ ของบรษิ ัทนมี ไิ ด้ตังอยูใ่ น ประเทศไทย  ในกรณที ีศาลไทยรบั ฟงว่า  สาํ นกั งานใหญท่ ีแท้จรงิ ของบรษิ ัท  นามนั สยาม  จํากัด  มไิ ด้ตังอยูใ่ น ประเทศไทย  ศาลไทยก็จะไมม่ เี ขตอํานาจทีจะรบั คํารอ้ งเกียวกับการเพกิ ถอนมติของทีประชุมใหญข่ อง บรษิ ัท นามนั สยาม จํากัด   กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 32/34    #เอกสารชุดที ๗  กรณศี กึ ษาบรษิ ัท ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง จํากัด  :  ภมู ลิ ําเนาเปนขอ้ เท็จจรงิ ทที ําใหศ้ าลไทยรบั คําฟองทจี ําเลยเปนบรษิ ัทตามกฎหมาย  ซงึ ครอบงําโดย บรษิ ัทตามกฎหมายต่างประเทศได้หรอื ไม่ ?    --------------------------------  ประเด็นทพี จิ ารณา/คําถาม    --------------------------------    บรษิ ัท  ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง  จํากัด  มภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทยหรอื ไม ่ ?  เพราะเหตใุ ด  ?  และ ศาลไทยจะรบั คําฟองทีนางแซนดีมตี ่อบรษิ ัทนไี ด้หรอื ไม่ ? เพราะเหตใุ ด ? 44  ---------------  ขอ้ เท็จจรงิ   ---------------    ในเวลา  ๑๔.๐๐  น.  วันที  ๘  มกราคม  พ.ศ.๒๕๔๙  นางแซนดีได้นาํ รถยนตรเ์ ขา้ มาจอดในบรเิ วณ ลานจอดรถของบรษิ ัท ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง จํากัด  44 ​พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, กรณศี กึ ษาบรษิ ัท ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง จํากัด : การกําหนดภมู ิลําเนาของนิติบุคคล ตามกฎหมายไทย ซงึ มอี งค์ประกอบอเมรกิ ันอยา่ งเข้มข้น, ข้อสอบในวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคการศึกษาที ๒ ปการศึกษา ๒๕๔๖, เมือวันที ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๘  https://docs.google.com/document/d/1EiWp4fauxw6fc7zD8FqQA_IUNNKlzaBXNARyFzaIbU0/edit?usp=sharing      กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 33/34  ในเวลา ๑๖.๐๐ น. รถแมคโครของบรษิ ัทนที ีกําลังทํางานในบรเิ วณลานจอดรถได้ล้มมาถกู รถยนต์ ของนางแซนดี จนรถยนต์คันดังกล่าวเสยี หายทังคัน    บรษิ ัท ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง จํากัดเปนบรษิ ัทจดทะเบยี นก่อตังสภาพบุคคลตามกฎหมายไทยซงึ มี สาํ นกั งานแหง่ ใหญท่ ีแท้จรงิ ตังอยูท่ ีมลรฐั หลยุ สเ์ ซยี นา่   ประเทศสหรฐั อเมรกิ า  ผถู้ ือหนุ้ ขา้ งมากมสี ญั ชาติ อเมรกิ ัน โดยมนี ายสมทิ ยงั ซงึ มสี ญั ชาติอเมรกิ ัน เปนกรรมการผจู้ ัดการ  สว่ นนางแซนดีนนั เปนบุคคลธรรมดาซงึ มสี ญั ชาติอเมรกิ ัน และมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศมาเลเซยี     โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  ปญหาว่า  ศาลไทยอาจจะรบั คําฟองหรอื ไมน่ นั   ยอ่ มขนึ อยูก่ ับกฎหมายมหาชนของรฐั ค่กู รณ ี ซงึ เมอื คดีถกู ฟองต่อศาลไทย  กฎหมายมหาชนของรฐั ค่กู รณี ในทีน ี ก็คือ กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ไทยซงึ เปนกฎหมายของรฐั เจ้าของศาล ซงึ ในทีน ี ก็คือ ประมวล กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ของประเทศไทยนนั เอง    ขอใหส้ งั เกตว่า  แมค้ ดีนจี ะมลี ักษณะระหว่างประเทศ  แต่เนอื งจากประเทศไทยไมม่ กี ฎหมายวิธี พจิ ารณาความแพง่ โดยเฉพาะสาํ หรบั คดีละเมดิ ทีมลี ักษณะระหว่างประเทศ  ศาลไทยจึงต้องใชก้ ฎหมายวิธี พจิ ารณาความแพง่ โดยทัวไปต่อคดีทีมลี ักษณะระหว่างประเทศ    เมอื คดีทีเกิดขนึ เปนขอ้ พพิ าทในเรอื งละเมดิ   บทบญั ญตั ิของประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความ แพง่ ของประเทศไทยทีศาลไทยจะใชใ้ นการรบั คําฟองในคดีนกี ็คือ มาตรา ๔(๑) และ มาตรา ๔ ตร ี นนั เอง  เพราะคําฟองเปนคําฟองอืนๆ  ทีไมเ่ กียวกับอสงั หารมิ ทรพั ย ์ หรอื สทิ ธ ิ หรอื   ประโยชนอ์ ันเกียวด้วย อสงั หารมิ ทรพั ย ์   ภายใต้มาตรา  ๔  (๑)  และมาตรา  ๔  ตรแี หง่ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่   ศาลไทยจะ รบั คําฟองเกียวกับบุคคลสทิ ธไิ ด้ ถ้ามขี อ้ เท็จจรงิ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ ดังต่อไปน ี (๑) จําเลยมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทย[มาตรา ๔(๑)]  (๒) มลู คดีเกิดขนึ ในประเทศไทย[มาตรา ๔ (๑)]  (๓) โจทก์เปนผมู้ สี ญั ชาติไทยถ้าจําเลยไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทยหรอื มลู คดีมไิ ด้เกิดขนึ ใน ประเทศไทย[มาตรา ๔ ตรี วรรคที ๑]  (๔) โจทก์เปนบุคคลผมู้ ภี มู ลิ ําเนาในประเทศไทยถ้าจําเลยไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทยหรอื มลู คดีมไิ ด้เกิดขนึ ในประเทศไทย[มาตรา ๔ ตรี วรรคที ๑]  (๕) ทรพั ยส์ นิ ทีอาจถกู บงั คับคดีได้อยูใ่ นประเทศไทย ไมว่ ่าจะโดยชวั คราวหรอื ถาวร ถ้าจําเลย ไมม่ ภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นประเทศไทยหรอื มลู คดีมไิ ด้เกิดขนึ ในประเทศไทย [มาตรา ๔ ตรี วรรคที ๒]  ---------------------  แนวการวิเคราะห ์ ----------------------    ประเด็นของการพจิ ารณา  ก็คือ  บรษิ ัท  ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง  จํากัด  มภี มู ลิ ําเนาในประเทศไทย หรอื ไม ่ ?  เพราะเหตใุ ด  ? และถ้าม ี ศาลไทยจะใชภ้ มู ลิ ําเนาทีม ี เพอื รบั คําฟองของผเู้ สยี หายทีมตี ่อบรษิ ัทผู้ ถกู ฟองได้หรอื ไม่ ?    เมอื ขอ้ เท็จจรงิ ฟงได้ว่า  บรษิ ัท  ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง  จํากัด  เปนบรษิ ัทตามกฎหมายไทย จึงฟงได้ ว่า บรษิ ัทนมี สี าํ นกั งานตามตราสารจัดตังในประเทศไทย จึงสรุปผลทางกฎหมายได้ว่า ในสว่ นของกิจการที กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      

    หนา้ 34/34  ทําในประเทศไทย  จึงอาจถือเอาสาํ นกั งานดังกล่าวเปนภมู ลิ ําเนาในประเทศไทยของบรษิ ัท  (มาตรา  ๖๘45  – ๖๙46 แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย)์   ดังนนั  ศาลไทยจึงอาจรบั คําฟองทีนางแซนดีฟองบรษิ ัท ไทย-อเมรกิ ันก่อสรา้ ง จํากัด เปนจําเลยได้  เพราะมาตรา  ๔  (๑)  แหง่ ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ ซงึ กําหนดใหศ้ าลไทยมเี ขตอํานาจเหนอื คดีเกียวกับบุคคลสทิ ธทิ ีมจี ําเลยมภี มู ลิ ําเนาอยูใ่ นเขตศาล  ศาลไทยจึงรบั คําฟองของโจทก์ทีมตี ่อบรษิ ัท จําเลยเพอื พจิ ารณาต่อไปได ้     45 ​ซึงบัญญัติว่า “ภูมิลําเนาของนติ ิบุคคลได้แก่ ถินอันเปนทีตังสาํ นกั งานใหญ่ หรอื ถินอันเปนทีตังทีทําการ หรอื ถินทีได้เลือกเอา เปนภูมิลําเนาเฉพาะการตามข้อบงั คับหรอื ตราสารจัดตัง”  46 ​ซึงบัญญัติว่า “ในกรณที ีนติ ิบุคคลมีทีตังทําการหลายแหง่ หรอื มีสาํ นกั งานสาขา ใหถ้ ือว่าถินอันเปนทีตังของทีทําการหรอื ของ สาํ นกั งานสาขา เปนภูมิลําเนาในสว่ นกิจการอันได้กระทํา ณ ทีนนั ด้วย”  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดบี ุคคล : จัดสรรเอกชนโดยภมู ลิ ําเนาตามกฎหมายเอกชน   โดย รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร เมอื วันที ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ ปรบั ปรุงเมอื วันที ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓   https://docs.google.com/document/d/1N_Iy2bQpW-fAfi8pZzTOrJxkhZga-dp5AVleQhQZfFc/edit?usp=sharing      


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook