นโิ คลัส โคเปอรน์ คิ สั (Nicolaus Copernicus) เกดิ วนั ท่ี 19 กมุ ภาพันธ์ ค.ศ. 1473 ท่ีเมืองตูรนั (Torun) ประเทสโปแลนด์ (Poland) เสยี ชีวิต วันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543 ที่เมืองฟรอนบูร์ก (Frauenburg) ประเทศโปแลนด์ (Poland) ผลงาน ตงั้ ทฤษฎีโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ (Copernicus Theory) โดยทฤษฎนี ี้กลา่ วว่าดวง อาทติ ย์เป็นศนู ยก์ ลางของสุริยจักรวาล โลก ดาวเคราะหอ์ ่นื ๆต้องหมุนรอบดวงอาทิตย์และโลกมี สัณฐานเป็นทรงกลม ระบบสุริยจกั รวาลทโี่ คเปอรน์ ิคัสเป็นผคู้ ้นพบ โดยสามารถสรปุ เปน็ ทฤษฎีไดท้ ้งั หมด 3 ข้อ คอื 1. ดวงอาทติ ย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุรยิ จักรวาล โลก และดาวเคราะหอ์ ่นื ๆตอ้ งโคจรรอบดวงอาทิตย์ การโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ตอ้ งใชเ้ วลา 1 ปีหรือ 365 วนั ซ่งึ ทำใหเ้ กดิ ฤดูกาลข้นึ 2. โลกมสี ณั ฐานกลมไม่ได้แบนอยา่ งที่เขา้ ใจกันมา โคเปอรน์ คิ ัสใหเ้ หตุผลในข้อน้ีวา่ มนษุ ย์ไม่สามารถ มองเหน็ ดาวดวงเดียวกนั ในเวลาเดียวกันและสถานทีต่ ่างกันได้ อีกท้ังโลกต้องหมุนอยตู่ ลอดเวลาไม่ไดห้ ยดุ น่ิง โดยโลกใชเ้ วลา 1 วัน หรือ 24 ชัว่ โมง การหมุนรอบตัวเอง ซ่ึงทำใหเ้ กดิ กลางวนั และกลางคนื 3. ดาวเคราะหต์ ่างๆที่โคจรรอบดวงอาทติ ยเ์ ป็นไปในลักษณะวงกลม โคเปอร์นิคัสไดเ้ ขยี นรปู ภาพ แสดงลกั ษณะการโคจร ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ แต่ทฤษฎีของโคเปอร์นคิ สั ข้อนี้ผิดพลาดเพราะเขา กลา่ วว่า \"การโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ย์เป็นวงกลม\" ต่อมานักดาราศาสตรช์ าวเยอรมัน โจฮันเนส เคพเลอร์(Johanes Kepler) ได้คน้ พบว่า การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์นัน้ มีลกั ษณะเป็นวงรี
ระบบดวงอาทิตยเ์ ป็นศูนย์กลาง ในยุคกรีกโบราณ คนส่วนใหญ่เชื่อในระบบโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล (Geocentric) ของ อรสิ โตเติล อย่างไรกต็ ามนกั ปราชญ์บางคนมีความคดิ เหน็ ตรงกันขา้ ม อรสิ ตารค์ ัส (Aristarchus) นกั เรขาคณิต ชาวกรีกแห่งเมืองอเล็กซานเดรยี (อยู่ในประเทศอียิปตใ์ นปจั จุบนั ) ได้เสนอแบบจำลองของจักรวาลซึ่งมี “ดวง อาทิตยเ์ ป็นศูนยก์ ลาง” (Heliocentric) โดยอธิบายวา่ โลกหมุนรอบตัวเองวันละ 1 รอบ จากทศิ ตะวนั ตกไปยัง ทศิ ตะวันออก ทำใหเ้ รามองเหน็ ทอ้ งฟ้าเคลื่อนทจ่ี ากทิศตะวนั ออกไปยังทศิ ตะวันตก ขณะเดียวกนั โลกกโ็ คจรไป รอบดวงอาทิตย์ ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์เคล่ือนที่ผ่านหน้ากลุ่มดาวจักราศีทั้งสิบสอง อริสตาร์คัสคำนวณ เปรียบเทียบไดว้ า่ ดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่กว่าโลก โลกอย่ใู กล้ดวงจันทร์แต่อยู่ไกลจากดวงอาทติ ย์ ถึงกระน้ันก็ ตามแนวความคิดนี้ยังไม่เป็นที่ยอมรับของคนในยุคนั้น เพราะเป็นสิ่งที่ขัดแย้งกับการมองเห็น ยากต่อ จินตนาการ และยังไม่มีใครพิสูจน์ได้ ประกอบกับโชคไม่ดีที่ห้องสมุดอเล็กซานเดรียถูกไฟใหม้ ตำราที่อริ สตารค์ สั เขียนข้ึน ถกู ทำลายจนหมดสิน้ มแี ตห่ ลกั ฐานที่เกย่ี วข้องจากผู้ทีอ่ ยรู่ ่วมยคุ สมัยเทา่ น้ันทเ่ี หลืออยู่ ปี ค.ศ.1514 (พ.ศ.2057) นโิ คลาส โคเปอรน์ คิ ัส (Nicolaus Copernicus) บาทหลวงชาวโปแลนด์ เป็นผมู้ ปี ระสบการณ์ในการติดตามการเคล่อื นท่ีของดาวเคราะห์เปน็ เวลา 20 ปี มีความคดิ ขดั แย้งกับระบบโลก เปน็ ศูนย์กลาง เขาใหค้ วามเห็นวา่ การอธบิ ายการเคล่อื นที่ถอยหลงั ของดาวเคราะห์ โดยใช้วงกลมเล็กใน แบบจำลองของทอเลนน้ั เลื่อนลอยไรเ้ หตผุ ล เขาได้เขียนหนงั สือชอ่ื De revolutionibus orbium coelestium (ปฏิวตั ิความเชอ่ื เรอ่ื งท้องฟ้า) นำเสนอแนวความคดิ ทม่ี รี ะบบดวงอาทิตยเ์ ป็นศนู ยก์ ลาง (Heliocentric) ดงั ภาพที่ 2 อธิบายดังนี้ I. วงโคจรของดาวฤกษ์ II. วงโคจรของดาวเสาร์ III. วงโคจรของดาวพฤหัสบดี IIII. วงโคจรของดาวอังคาร V. วงโคจรของโลกและดวงจันทร์ VI. วงโคจรของดาวศุกร์ VII. วงโคจรของดาวพุธ จุดศนู ย์กลางคือดวงอาทิตย์ ภาพท่ี 2 แบบจาลองระบบสุริยะของโคเปอร์นิคสั ทมี่ า : http://www.lesa.biz/astronomy/cosmos/heliocentric
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: