หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ เรืองมันสาํ ปะหลัง ความรูท้ ไี ม่เคยรมู้ ากอ่ น ความร้ใู หม่ๆ
คาํ นํา หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรองมนั สาํ ปะหลัง ผูจ้ ดั ทาํ มี เปาหมายเพอื ใหค้ วามรู้กับผู้ทสี นใจพืชไร่มันสําปะหลงั ในดา้ นต่างๆ ใหค้ วามรู้แกผ่ เู้ รยนตลอดจนบคุ คลทวั ไป ทสี นใจ ผจู้ ัดทําหวงั เปนอยา่ งยงิ วา่ สือการเรยนรู้แบบมี ปฏสิ มั พันธ์ด้วยเทคโนโลยีผสานจรง ในแบบหนงั สือ อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ล่มนี จะมีประโยชนต์ ่อผู้ทสี นใจ และให้ ความรู้แก่ผู้เรยน สชุ าดา กนุ ากลุ วทิ ยาลยั การฝกหัดครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร
เนือหาการเรยี นรู้ ความร้เู บืองต้นของมัน ลักษณะของมนั สําปะหลงั สําปะหลัง ชนดิ ของมันสาํ ปะหลัง พันธม์ุ ันสําปะหลงั พันธุเ์ ฉพาะที ขันตอนการปลกู เหมาะสมกบั พืนที ประโยชนข์ องมัน สาํ ปะหลัง
มั น ส ํา ป ะ ห ลั ง มันสาํ ปะหลัง (ชือวทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz) เปน พชื หัวชนดิ หนงึ เปนพชื อาหารทีสาํ คญั อนั ดบั 5 รองจากขา้ วสาลี ขา้ วโพด ขา้ ว และมนั ฝรัง ชือสามัญเรยกหลายชอื เช่น Cassava, Yuca, Mandioa, Manioc, Tapioca ชาวไทยเดมิ เรยกกนั วา่ มันสาํ โรง มันไม้ ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือเรยกวา่ มันตน้ เตยี ภาคใต้เรยกมันเทศ (แต่เรยกมันเทศวา่ \"มนั หลา\") คาํ วา่ \"สําปะหลงั \" ทีนิยมเรยกอาจมาจากคําวา่ \"ซาํ เปอ (Sampou)\" ของชาวตะวนั ตก มันสําปะหลังมีแหล่งกําเนดิ แถบทลี ุ่มเขตร้อน (lowland tropics) มีหลัก ฐานแสดงวา่ ปลูกกนั ในโคลัมเบยี และเวเนซเู อลา มานานกวา่ 3,000–7,000 ปมาแลว้ นิยมใชเ้ ปนอาหารเลียงสัตว์ สามารถปลกู ไดง้ า่ ยในพนื ทรี ้อน และ ร้อนชืน จึงได้มีการสนบั สนนุ แก่ประเทศทกี ําลงั พฒั นาทีมสี ภาพภูมอิ ากาศดงั กลา่ วปลูกเปนพชื เศรษฐกิจ
ลกั ษณะของมนั สาํ ปะหลัง ไมพ้ ่มุ สูง 1.3–5 เมตร ราก แบบสะสมอาหาร (tuberous root) สายพันธุท์ ีนยิ มปลูกสงู ประมาณ 2.5 เมตร เสน้ ผ่าน ศูนยก์ ลาง 10–1.5 เซนติเมตร ใบมีร่องลึก 3–7 ร่อง มหี ูใบ ก้านใบยาว ดอกเปนช่อ ดอก ผลแบบแคปซลู ทรงกลม ประมาณ 1.2 เซนติเมตร มี 3 เมลด็ ใน 1 ผล การจาํ แนกสายพันธใุ์ ช้ คณุ ลกั ษณะหลายอยา่ งช่วยใน การจําแนกเชน่ สีของใบออ่ น สีกา้ นใบ สีลาํ ต้น ขนทียอด ออ่ น ลกั ษณะทรงตน้ หูใบ
ชนดิ ของมนั สําปะหลัง มนั สําปะหลงั ทปี ลกู เชิงเกษตรกรรม มสี องชนิด คอื ชนิดหวาน มีปรมาณกรดไฮโดรไซยานิกตาํ ไมม่ ีรสขมและสามารถใชท้ าํ อาหารได้โดยตรง เชน่ พนั ธ์ุห้านาที, พนั ธร์ุ ะยอง 2 ชนิดขม มปี รมาณกรดไฮโดรไซยานิกสงู ตอ้ งนาํ ไปแปรรูปกอ่ น เชน่ พันธ์รุ ะยอง 1, 3, 5, 60, 90 พนั ธ์เุ กษตรศาสตร์ 50 และ พันธหุ์ ้วยบง 60
พนั ธุ์มนั สาํ ปะหลงั
พนั ธเุ์ ฉพาะทีเหมาะสมกบั พนื ที การเลือกพันธ์ใุ ห้เหมาะกับพนื ที เปนการลด ต้นทนุ การผลติ โดยพิจารณาปรมาณนําฝน ร่วมด้วย เช่นชุดดินชมุ พวง ซงึ มีเนอื ดนิ เปน ดินร่วนปนทรายทีตงั อยูใ่ นจังหวดั นครราชสมี าทีมีปรมาณนาํ ฝนนอ้ ย 800 -1,000 มลิ ลเิ มตร ควรใชพ้ ันธ์รุ ะยอง 7 ระยอง 72 ระยอง 9 ระยอง 5 และ เกษตรศาสตร์ 50 แต่หากชดุ ดนิ นีตงั อยูใ่ น จังหวดั สรุ นทร์ทมี ปี รมาณนาํ ฝน 1,000- 1,200 มิลลิเมตร. สามารถใชพ้ ันธไุ์ ด้เกอื บทุก พันธย์ุ กเวน้ พันธ์ุระยอง 90 พันธ์มุ ัน สาํ ปะหลังทปี ลกู ในตน้ ฤดูฝนมคี วามเหมาะสม เฉพาะพืนทดี งั ภาพ และตวั อย่างพนื ทที ีมี เนอื ทกี ารผลติ มากเปนลําดับตน้ ๆ แยกตาม สภาพภูมิอากาศและคณุ ลักษณะดินแสดงใน ตารางข้างลา่ ง โดยภาคตะวนั ออกจะเปนพืนที ทีมีทางเลือกในการใช้พันธม์ุ ากกวา่ ภาคอืน ๆ เนืองจากบางพนั ธุส์ ามารถเจรญเตบิ โตและให้ ผลผลติ ไดด้ ีในสภาพทีดนิ มีความอดุ มสมบูรณ์ ตาํ เช่น พนั ธุ์เกษตรศาสตร์ 50 และก็มบี าง พันธ์ทุ สี ามารถสร้างหวั ไดเ้ ร็ว เชน่ พนั ธ์ุระยอง 5
ขันตอนการปลกู 1. การเตรยมดิน หากดินทที าํ การเพาะปลกู มนั ตดิ ตอ่ กันหลายป ควรปรับปรุงดิน เพอื รักษาระดับผลผลิตในระยะยาว ดว้ ย การใส่ปยุ คอก ปยุ หมักเปลือกมันชนดิ เกา่ ค้างป (จากโรง แปงทัวไป) ทหี าไดใ้ นทอ้ งถิน หรอ ปลูกพืชตระกลู ถัวต่าง ๆ หมุนเวยนบาํ รุงดิน ในกรณีทพี นื ทีประเภทหญ้าคา ควรใช้ ยาราวดอ์ พั หรอเครอเถาตา่ ง ๆ ควรใช้ยาสตาร์เรน ฉีดพ่นยา จาํ กัดเสยี ก่อนการไถ จากนันไถครังแรกโดยไถกลบวชั พืช กอ่ นปลกู ด้วยผาน 3 (อย่าเผาทําลายวชั พชื ) ให้ลกึ ประมาณ 20-30 ซม. แลว้ ทิงระยะไวป้ ระมาณ 20-30 วนั เพือหมกั วชั พืชเปนปยุ ในดนิ ตอ่ ไป ไถพรวนดว้ ยผาน 7 อกี 1-2 ครัง ตามความเหมาะสม และรบปลูกโดยเร็ว ในขณะทดี นิ ยังมี ความชืนอยู่ 2. การเตรยมทอ่ นพันธุ์ ใชท้ อ่ นพนั ธมุ์ นั ทีสด อายุ 10-12 เดือน ตัดทิงไว้ ไม่เกินประมาณ 15 วนั โดยติดให้มคี วามยาวประมาณ 20 ซม. มีตาไม่น้อยกวา่ 5 ตา เพือปองกนั เชอื ราและแมลง ควร จุม่ ทอ่ นพนั ธ์ุในยาแคปแทน 1.6 ขีด (160 กรัม) ผสมร่วม กับมาลาไธออน 20 ซีซี ในนํา 20 ลติ ร ประมาณ 5 นาที กอ่ นปลกู 3. การปลูก ปลกู เปนแถวแนวตรง เพอื สะดวกในการบํารุง รักษาและกําจัดวชั พชื โดยใชร้ ะยะระหวา่ งแถว 1.20 เมตร ระยะระหวา่ งต้น 80 ซม. และปกท่อนพันธุ์ให้ตังตรงลึกใน ดินประมาณ 10 ซม.
4. การฉีดยาคมุ เมล็ดวชั พชื สาํ หรับการปลกู ในฤดฝู นสภาพดินชืน ควรฉีดยาคมุ วชั พืช หลงั จากการปลกู ทันที ไม่ควรเกนิ 3 วนั หรอก่อนต้นมัน งอก หากฉดี หลงั ต้นมันงอก อาจทาํ ให้ต้นมนั เสยี หายได้ 5. การกาํ จัดวชั พืชและการใสป่ ยุ กาํ จดั วชั พืช ครังที 1 ประมาณ 30-45 วนั หลังการปลกู โดยใชร้ ถไถเลก็ เดนิ ตาม หรอ จานพรวนกําจดั วชั พืช ติดท้าย รถแทรกเตอร์ พร้อมทังใสห่ ่างจากตน้ มัน 1 คืบ (20 ซม.) จากนันใช้จอบกําจดั วชั พชื ส่วนทีเหลอื พร้อมกบั กลบปยุ ไป ดว้ ย หรอใส่ปยุ โดยการขุดหลมุ หา่ งจากโคนต้น 1 คบื แลว้ กลบดนิ ตามก็ได้ ขอ้ สําคญั ควรใส่ปยุ ขณะทีดนิ มี ความชนื อยู่ กาํ จัดวชั พืช ครังที 2 ประมาณ 60-70 วนั หลงั การปลกู โดยปฏิบัตเิ ชน่ เดียวกนั กับครังแรก กําจัด วชั พชื ครังที 3 ตามความจําเปน โดยใชจ้ อบถาก หรอฉีด พน่ ดว้ ยยา 6. การเก็บเกยี ว ทาํ การเก็บเกยี วมันสาํ ปะหลงั ในชว่ งอายุทีเหมาะสม คอื ประมาณ 10-12 เดอื น พร้อมทัง วางแผนการเตรยมทอ่ น พันธมุ์ นั สําปะหลงั เพอื การปลกู ในคราวตอ่ ไปสว่ นของตน้ มนั สาํ ปะหลงั ทีไมใ่ ช้ เชน่ ใบ กงิ กา้ น หรอ ลาํ ต้น ควรสบั ทิงไว้ ในแปลง เพือให้เปนปยุ พชื สดในดินต่อไป
ประโยชนข์ องมนั สําปะหลัง ประกอบอาหารคาวหวาน โดยนําส่วนของรากสะสมอาหาร ทมี ีการสะสมของคาร์โบไฮเดรตไปใช้ประกอบอาหาร แปรรูปเปนสารปรุงแตง่ รสอาหาร อาหารสตั ว์ อตุ สาหกรรมกาว พลังงานเอทานอล
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: