Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน

วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน

Published by KruNang, 2022-12-30 03:46:15

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ไฟฟ้า
เรื่อง วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 ไฟฟา้ เร่อื ง วงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน โดย ครธู ารารัตน์ ดวงจนั ทร์

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น หลอดไฟฟ้า สวิตช์ เซลลไ์ ฟฟ้า

ฝกึ การเขียนแผนภาพ วงจรฟา้

ฝกึ การเขียนแผนภาพ วงจรฟา้

ฝกึ การเขียนแผนภาพ วงจรฟา้

ฝกึ การเขียนแผนภาพ วงจรฟา้

ฝกึ การเขียนแผนภาพ วงจรฟา้

ฝกึ การเขียนแผนภาพ วงจรฟา้

การต่อวงจรไฟฟ้า • วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม • วงจรไฟฟ้าแบบขนาน • วงจรไฟฟ้าแบบผสม

วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม หมายถึง การนาอุปกรณ์ไฟฟ้ามาตอ่ เรียงลาดับกนั ไป โดยนาปลายดา้ นใดดา้ นหน่ึงของอปุ กรณต์ วั ท่หี นึ่งมาต่อกบั อุปกรณต์ ัวท่สี อง จากนนั้ นาปลายทีเ่ หลือของอุปกรณท์ ส่ี อง ไปต่อกบั อุปกรณ์ตวั ที่สาม และต่อในลกั ษณะท่เี รยี งกันไปเรอ่ื ย ๆ จนถงึ อุปกรณ์ตัวสดุ ท้ายให้ตอ่ ปลายทเ่ี หลือเข้ากับแหลง่ กาเนิดไฟฟา้

วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตวั ต้านทานแต่ละตัวจะมคี ่าเท่ากนั แตค่ วามตา่ งศกั ยร์ วมจะเท่ากบั ผลบวกของความต่างศักยแ์ ตล่ ะตวั นามาบวกกัน ความต้านทานรวมจะเพ่มิ ขน้ึ ตามจานวนหลอดไฟฟ้าท่นี ามาตอ่ กัน กระแสไฟฟา้ ความต่างศักย์ I1 = I2 = I3 Vรวม = V1 + V2 ความตา้ นทาน Rรวม = R1 + R2

ถ้าอุปกรณไ์ ฟฟ้าตวั ใดตวั หนง่ึ เสียหาย หรือไม่ทางาน อปุ กรณ์ท่เี หลอื จะทางาน หรือไม่?

ถา้ อปุ กรณไ์ ฟฟ้าตัวใดตวั หนึ่งเสียหาย หรือไม่ทางานกจ็ ะทาใหว้ งจรเปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าในวงจร อปุ กรณ์ทเ่ี หลือก็จะไม่ทางาน

กิจกรรมท่ี 6.4 วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รมเปน็ อยา่ งไร

ตารางบนั ทึกผลการทดลอง คา่ ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ ค่าความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ (V) AB BC AC ตารางบนั ทึกผลการทดลอง ค่ากระแสไฟฟา้ จดุ ตา่ ง ๆ C ค่ากระแสไฟฟา้ ทีจ่ ดุ ตา่ ง ๆ (A) AB

ตารางบนั ทึกผลการทดลอง คา่ ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ ค่าความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ (V) AB BC AC 2.0 4.0 6.0 ตารางบนั ทึกผลการทดลอง ค่ากระแสไฟฟา้ จดุ ตา่ ง ๆ คา่ กระแสไฟฟา้ ทีจ่ ดุ ต่าง ๆ (A) ABC 0.335 0.335 0.335

แผนภาพการตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม

สรปุ ผลการทดลอง ในการตอ่ หลอดไฟฟ้าสองหลอดแบบอนุกรม กระแสไฟฟา้ ทผี่ ่าน หลอดไฟฟา้ ทง้ั สองจะเทา่ กนั ส่วนความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้าทีค่ รอ่ มหลอดไฟฟ้า แตล่ ะหลอดรวมกันจะเทา่ กับความต่างศักยไ์ ฟฟ้ารวมของวงจร

แบบฝกึ หัด วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม 1

แบบฝกึ หัด วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม 2

แบบฝกึ หัด วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม 3

แบบฝกึ หัด วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม 4

วงจรไฟฟ้าแบบขนาน หมายถึง การนาอุปกรณไ์ ฟฟ้าตงั้ แต่ 2 ตัวข้นึ ไปมาตอ่ เรียงแบบขนานกัน โดยนาปลายดา้ นเดยี วกนั ของอปุ กรณแ์ ตล่ ะตวั มาต่อเข้าดว้ ยกนั แลว้ ตอ่ ปลายของอปุ กรณ์แตล่ ะตัวที่ตอ่ กันแลว้ นัน้ เขา้ กับแหล่งกาเนิดไฟฟา้

วงจรไฟฟ้าแบบขนาน ความตา่ งศักยท์ ต่ี กครอ่ มตัวตา้ นทานแตล่ ะตัวจะมีค่าเท่ากนั แตก่ ระแสรวมจะเทา่ กับผลบวกของกระแสแตล่ ะตวั นามารวมกนั ความต้านทานรวมจะน้อยลง และนอ้ ยกวา่ ความตา้ นทานที่น้อยทส่ี ดุ ในวงจร กระแสไฟฟา้ ความต่างศักย์ Iรวม = I1 + I2 V1 = V2 = V3 ความต้านทาน 1 = 1 + 1 Rรวม R1 R2

ถ้าอปุ กรณ์ไฟฟา้ ตัวใดตวั หนง่ึ เสียหาย หรอื ไมท่ างานจะยังมีกระแสไฟฟา้ ในวงจร ผา่ นอุปกรณ์ไฟฟ้าท่เี หลือใหท้ างานต่อไปได้

กจิ กรรมท่ี 6.5 วงจรไฟฟา้ แบบขนานเปน็ อยา่ งไร

ตารางบนั ทึกผลการทดลอง คา่ ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ ค่าความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ (V) BC DE AF ตารางบนั ทึกผลการทดลอง ค่ากระแสไฟฟา้ จดุ ต่าง ๆ F คา่ กระแสไฟฟา้ ท่ีจดุ ต่าง ๆ (A) ABD

ตารางบนั ทึกผลการทดลอง คา่ ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ ค่าความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจดุ ตา่ ง ๆ (V) BC DE AF 2.3 2.3 2.3 ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง คา่ กระแสไฟฟา้ จดุ ต่าง ๆ F คา่ กระแสไฟฟา้ ทีจ่ ดุ ตา่ ง ๆ (A) 0.6 ABD 0.6 0.25 0.35

แผนภาพการตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบขนาน

สรุปผลการทดลอง ในการต่อหลอดไฟฟ้าสองหลอดแบบขนาน ความตา่ งศักย์ไฟฟ้าของ หลอดไฟฟ้าทัง้ สองจะเท่ากัน และเทา่ กับความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมของวงจร กระแสไฟฟา้ ที่ผา่ นหลอดไฟฟ้าแตล่ ะหลอดรวมกนั จะเท่ากบั กระแสไฟฟา้ รวม ของวงจร

แบบฝกึ หัด วงจรไฟฟ้าแบบขนาน 1

แบบฝกึ หัด วงจรไฟฟ้าแบบขนาน 2

แบบฝกึ หัด วงจรไฟฟ้าแบบขนาน 3

วงจรไฟฟา้ แบบผสม หมายถึง การตอ่ วงจรทง้ั แบบอนกรมและแบบขนานเขา้ ไปในวงจรเดยี ว การตอ่ แบบนี้โดยท่ัวไปไมน่ ิยมใชก้ ัน เพราะเกดิ ความยุ่งยาก จะใช้กนั แต่ในทางดา้ นอเิ ล็กทรอนกิ ส์เป็นส่วนใหญ่ เชน่ ตัวต้านทานตวั หนง่ึ ตอ่ อนกุ รมกบั ตวั ต้านทานอีกตัวหน่ึง แล้วนาตวั ตา้ นทานท้งั สองไปต่อตัวต้านทานอกี ชุดหน่ึง

วงจรไฟฟ้าในบา้ น วงจรไฟฟา้ ภายในบ้านส่วนใหญจ่ ะต่อแบบขนาน ซึ่งเปน็ การต่อวงจรทาให้อปุ กรณ์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้า แต่ละชนิดอย่คู นละวงจร ถ้าเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าชนดิ หน่งึ เกดิ ขดั ข้องเน่ืองจากสาเหตใุ ดกต็ าม เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ชนิดอื่นกย็ ังคงใชง้ านได้ตามปกติ เพราะไม่ไดอ้ ย่ใู นวงจรเดยี วกัน

อุปกรณ์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ในวงจรไฟฟา้ สะพานไฟ ฟวิ ส์ สวติ ช์ เตา้ รบั และเตา้ เสยี บ

เฉลยแบบฝกึ หดั วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม 10 15 1 5 25 5 5

เฉลยแบบฝกึ หดั วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม 3 6 23 6 18 3 3 3

แบบฝกึ หดั วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม 3 4 4 16 4 6 24

แบบฝกึ หดั วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม 4 39 3 3 11 33

เฉลยแบบฝึกหัด วงจรไฟฟา้ แบบขนาน 12 12 16 12 1 12 3 13 9

เฉลยแบบฝึกหดั วงจรไฟฟา้ แบบขนาน 20 20 2 1 20 15 2 6

เฉลยแบบฝึกหดั วงจรไฟฟา้ แบบขนาน 12 12 32 4 12 1

Thank you


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook