Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ม.ต้น

วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ม.ต้น

Published by 423ed000003, 2023-06-30 04:14:59

Description: รวมเล่มประวัติม.ต้น

Search

Read the Text Version

1 แผนการจดั การเรียนรู้ ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ รายวิชา สค ๒๒๐๒๐ ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย สาระการพัฒนาสงั คม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะช้าง สำนักงำนส่งเสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย จงั หวดั ตรำด



2 คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสำคญั สำหรับครูทีจ่ ะทำให้การจัดการเรียนรู้บรรลุเป้าหมาย ที่ต้องการ เป็นการวางแผนไวล้ ว่ งหน้าโดยศึกษาในเรื่อง สาระพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๕) หมวด ๓ ระบบการศึกษา และ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษาทุกมาตรากรอบ ของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เอกสารเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานเอกสาร เกย่ี วกบั เนอื้ หาในรายวชิ าท่จี ัดการเรียนรู้ และศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ ต่าง ๆ ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและรูปแบบการเรียนรู้ โดยกำหนดให้ใช้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. (ONIE MODEL) ซึ่งมี ๔ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ ๑ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการ เรยี นรู้ (O : Orientation) ขั้นตอนท่ี ๒ การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) ขั้นตอนที่ ๓ การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) ขั้นตอนที่ ๔ การประเมินผล (E : Evaluation) แผนการเรียนรูจ้ ะทำให้ครูได้คู่มือการจัดการเรียนรู้ ทำให้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ได้ครบถ้วนตรง ตามหลักสตู รและจัดการเรยี นรู้ได้ตรงเวลา ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ดังกล่าว สำเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือจากข้าราชการบำนาญ ผู้บริหาร นักวิชาการ และครู กศน. ที่ได้เสนอแนะความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการพัฒนาเป็นแผนการจัดการ เรยี นรู้ สำนกั งาน กศน. ขอขอบคุณในความร่วมมอื มาในโอกาสน้ี กศน.อำเภอเขาสมิง ตลุ าคม ๒๕๖๕

3 คำอธบิ ายรายวชิ า สค22020 ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในโลก และนำมาปรับใช้ในการดำเนนิ ชีวติ เพื่อความม่นั คงของชาติ ศึกษาและฝึกทกั ษะเกยี่ วกับ ความภูมใิ จในความเป็นไทย การประยุกด์ใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ บญุ คุณของแผ่นดิน มรดกไทยสมยั รตั น โกสนิ ทร์ และการเปลย่ี นแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร์ การจดั ประสบการณก์ าวเรยี นรู้ การจัดกระบวนการการเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์ชาติไทย มงุ่ เน้นใหผ้ ้เู รยี นสร้างองค์ความรู้ เกดิ จิตสำนกึ รกั และกาคภูมใิ จในความเป็นไทยท่เี กิดจากการแลกเปลย่ี นเรียนรูจ้ ากการอภิปรายกลุ่ม การสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสืบคนั้ ขอ้ มูล โดยใชว้ ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การค้นควา้ อสิ ระ การใช้ปัญหาเปน็ ฐาน โครงงาน โครงการจากเอกสารหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ผู้เชย่ี วชาญ ส่อื เทคโนโลยี และการเรยี นร้จู กประสบการณ์ตรงโดยใช้สถานการณ์หรือเหตุการณจ์ รงิ และ จากแหลง่ เรยี นรู้จากทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่เกี่ยวข้องกับชาตไิ ทย การวัดและประเมนิ ผล การสอบถาม การสัมภาษณ์ การประเมนิ ขึ้นงาน การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การนำสนอผลงาน การรายงาน การอภปิ ราช แบบบนั ทึกการเรยี นรู้ แบบรายงานตนเอง และแบบทดสอบ

4 รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า สค ๒๒๐๒๐ ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ จระหนกั เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษชศู าสตร์ การเมอื ง การปกครองในโลก และนำมาปรับใชใ้ นการคำเนินชีวติ เพือ่ ความมนั่ คงของชาติ ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชวี้ ดั เนือ้ หา จำนวน/ ช่ัวโมง ๑. ภูมิศาสตร์ ๑. อธิบายความหมาย ประวตั ศิ าสตร์ ความสำคัญของสถาบันหลัก 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 120 ของชาดิ ศาสนาที่สำคญั ๆ ในโลก 2. อธิบายความเป็นมกของ 2.มีความรู้ ความเขา้ ใจ ใน ชนชาตไิ ทย หลักธรรมสำคญั ของแต่ละ 3. บอกพระวชิ าสามารถ ศาสนาสันตสิ ขุ ของหระมาพทวิสใหย 3. เห็นความสำคญั ในการอยู่ กนั คาวรวมชาติ รว่ มกับศาสนาอ่นื อยา่ ง 4. อธบิ ารความสำคัญของ 4. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นทสี่ ง่ ผล สงาบันศาสนา ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกบั ศาสนา ร. อธินาชความสำคัญของ อื่นอยา่ งสันตสิ ขุ 6. อธิบาชและอกตัวอย่าง ร.ฝกึ ปฏบิ ัติพัฒนาจิต เพื่อให้ ท่แี สงถงึ คามกาคภูมิใจ ๕.สามารถพฒั นาตนเองให้มี ในความเป็นไหย สตปิ ญั ญาในการแก้ปญั หา 7. บอกบุญคุณของ ต่างๆ และพฒั นาคนเอง พระมหัตวิธไี ทย ครอบครวั่ สังคม ชมุ ชน สถาบันพวะมพากบดั 6. วฒั นธรรมประเพณีใน ประเทศ ไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก - ภาษา - การแตง่ กาย - อาหาร – ประเพณที ส่ี ำคัญๆ ฯลฯ 7. การอนุรกั ษ์และสืบทอด วฒั นธรรมประเพณี (กรณี ตัวอย่าง) 8.ขอปฏิบัติในการมสี ่วนร่วม สืบ ทอด ประพฤติปฏิบตั ติ น เป็น แบบอยา่ งในการอนรุ ักษ์ วฒั นธรรมประเพณีอนั ดีงาม ของ สงั คมไทย

5 9.1 แนวทางในการเลอื กรบั ปรบั ใช้วัฒนธรรมต่างชาติได้ อย่าง เหมาะสมกับตนเองและ สงั คมไทย (กรณตี ัวอยา่ ง) 9.2 ค่านิยมทพี่ งึ ประสงค ของ สังคมไทย – ความ เอื้อเฟื้อเผือ่ แผ่

การวเิ คราะหเ์ นื้อหาสาระ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น เรอ่ื ง เนือ้ หา ประวัติศาสตร์ 1. ความภมู ใิ จในความเปน็ ไทย ชาตไิ ทย 1.1 สถาบนั หลักของชาติ 1.1.1 สถาบนั ชาติ 1) ความหมายของชาติ 2) ความเป็นมาของชนชาติไทย 3) การรวมชาติไทยเปน็ ปกึ แผน่ 4) บทบาท ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย ในการรวมชาติ 1.1.2 สถาบนั ศาสนา 1) ศาสนาพทุ ธ 2) ศาสนาคริสต์ 3) ศาสนาอิสลาม 1.1.3 สถาบนั พระมหากษตั ริย์ 1) บทบาทและความสำคัญของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ 2) พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย 3) สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์คอื ศนู ยร์ วมใจของคนในชาติ

✓✓ ง่าย ระดบั วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ น ประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย (สค22020) ปานกลาง 6 ยาก ตนเอง พบกลมุ่ ทางไกล ชนั้ เรียน โครงงาน อัธยาศัย อื่น ๆ (สอนเสริม)

แผนการจดั การเรียนรู้โดยใช้ O ระดบั ประถมศึกษา ประวตั ศิ าสตรช์ า หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่อื ง พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยและ บรรพบรุ ุษในสมัยสุโขทยั รายวิชา/หวั เร่ือง ตัวช้วี ดั เนอื้ หา พระราชประวตั แิ ละพระราช 2.1.1 บอกช่ือ 2. พระมหากษัตรยิ ์ไทยและ บรรพบรุ ุษใน กรณียกิจทสี่ ำคญั ของ พระมหากษตั ริยไ์ ทยสมัย สมยั สุโขทยั พระมหากษตั ริยใ์ นสมยั สุโขทัย สุโขทัย 2.1 พระมหากษตั รยิ ์ไทย สมัยสุโขทยั 2.2.1 บอกพระราชประวตั ิ 2.2 พระราชประวตั ิและพระราชกรณีย และพระราชกรณยี กิจที่ กิจท่ีสำคญั ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย สมยั สำคัญ ของพระมหากษตั รยิ ์ สุโขทัย ไทยสมยั สโุ ขทัย 2.3 วีรกรรมของบรรพบรุ ษุ สมัยสโุ ขทยั 2.2.1.1 พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทรา 4. เหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตรส์ มัยสุโขทัย ทิตย์ 4.1 อธบิ ายวิธกี ารจัดการนำ้ สมยั สุโขทัย 4.2 อธิบายวธิ กี ารอยกู่ ับนำ้ ใน สมัยโบราณ 4.3 นำวธิ ีการอยกู่ บั น้ำ ในสมยั โบราณ มาปรบั ใช้ ในชวี ติ ประจำวันได้

7 ONIE MODEL าติไทย (สค12024) ขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การจัดกระบวนการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ การวัดและ ประเมนิ ผล ขั้นที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาความตอ้ งการในการเรยี นรู้ ๑.หนงั สือเรยี น ครูและผูเ้ รยี นร่วมกนั กำหนดความจำเปน็ ที่ต้องเรียนรูใ้ น ๒.ส่อื /Youtube 1. รายงาน เรอื่ งต่อไปนี้ การนำเสนองานใน 1. พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย สมยั สโุ ขทยั รปู แบบต่าง ๆ 2. พระราชประวตั แิ ละพระราชกรณียกิจทส่ี ำคัญของ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย สมยั สโุ ขทัย 3. วีรกรรมของบรรพบรุ ษุ สมยั สโุ ขทยั 4. เหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตรส์ มยั สโุ ขทยั โดยรว่ มกันสรุปความสำคญั ในการใชค้ วามสำคญั ในการใช้ ในชีวติ ประจำวัน โดยครถู ามผเู้ รยี นว่า “ผ้เู รียนรู้จกั ประวัติพระมหากษตรยิ ไ์ ทยพระองค์ใดบ้าง” เพ่อื กระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นทบทวนความจำและคามรูเ้ ดิมของตนเอง

รายวชิ า/หวั เร่อื ง ตวั ช้วี ัด เน้อื หา

8 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ การวัดและ ประเมนิ ผล ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้ ครูและผเู้ รียนรว่ มกนั เสนอความคดิ เห็นเรอ่ื งบรรพบรุ ุษในสมัยสโุ ขทัยและวีรกรรม ของบรรพบรุ ษุ เพมิ่ เตมิ ให้ผเู้ รียนอ่านจากหนงั สอื เรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ ขั้นที่ 3 ปฏิบตั ิ 1.ผเู้ รียนบอกชอื่ พระมหากษตั รยิ ์ไทยสมยั สโุ ขทัยและวีรกรรม ของบรรพบรุ ษุ สมยั สโุ ขทัย ๒.ผเู้ รียนบอกพระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กจิ ทส่ี ำคัญ ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยสมยั สโุ ขทยั ขน้ั ท่ี ๔ ประเมินผลการเรยี นรู้ ครูมอบหมายงานให้ผ้เู รียนออกมานำเสนอพระราชประวตั แิ ละ พระราชกรณียกิจทสี่ ำคัญ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยสมยั สุโขทยั และวีรกรรมของบรรพบรุ ษุ ไทย

9 บนั ทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กศน.ตำบลเกาะชา้ ง อำเภอเกาะช้าง จังหวดั ตราด สัปดาห์ท่ี..............................วัน......................เดอื น...............................พ.ศ............................ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ สาระวิชาพัฒนาสังคม วชิ า สค22020 ประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย เนือ้ หา/สาระที่สอน ............................................................................................................................. ........................................ ................................................................................................................................................................ ..... ............................................................................................................................. ........................................ ............................................................................................................................. ........................................ ..................................................................................................................................................................... กจิ กรรมการเรยี นการสอน ....................................................................................................................... .............................................. ............................................................................................................................. ........................................ ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................. ....................................................... ปัญหา/อุปสรรค การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ........................................ ............................................................................................................................................................. ........ .......................................................................................................... ........................................................... วิธีการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ........................................ ............................................................................................................................................................ ......... ........................................................................................................................ ............................................ ลงชื่อ..............................................ครูผูส้ อน (................................................) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ........................................... ......................................................................................................................................................................... ลงช่ือ..............................................ผู้บริหารสถานศกึ ษา (................................................)

10 คณะผจู้ ัดทำ ทปี่ รึกษา ภวู านร ครู รกั ษาการในตำแหน่ง นางสาวกติ ตวิ รา ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเกาะชา้ ง ศรีบญุ เรอื ง คณะทำงาน อุ้ยอลงกรณ์ ครู นายมนตรี พิณเสนาะ ครอู าสาสมัครฯ นางสาววาสนา ครู กศน.ตำบล นางสาวกาญจนา อุย้ อลงกรณ์ ครอู าสาสมัครฯ ผรู้ ับผิดชอบ นางสาววาสนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook