การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ท่สี อดคล้องมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั ระดับชัน้ อนุบาล ๑ / ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นวัดโสมนัส สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
ประวตั ิส่วนตัว ชือ่ -สกุล : นางสาวชณัญญา กรมขนุ ทด ชอ่ื เล่น : เฟริ น์ รหสั นกั ศกึ ษา : 5981107053 หมู่เรียน D2 วนั /เดือน/ปเี กิด : เกดิ วันพฤหัสบดที ่ี 2 กรกฎาคม 2541 กรปุ๊ เลือด : บี น้ำหนัก/ส่วนสูง : 49 กิโลกรมั / 165 เซนติเมตร สญั ชาติ : ไทย เช้อื ชาติ :ไทย ศาสนา : พุทธ ประวตั ิการศึกษา : - จบประถมศึกษา : โรงเรียนวัดโคกแจง จังหวัดชัยนาท - จบมธั ยมศกึ ษาตอนต้น : โรงเรยี นชยั นาทพทิ ยาคม จังหวดั ชยั นาท - จบมธั ยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จงั หวดั ชัยนาท การฝกึ ทกั ษะวชิ าชีพครู 1 : โรงเรยี นวดั หงส์รัตนาราม การฝกึ ทักษะวิชาชพี ครู 2 : โรงเรียนวัดหงส์รตั นาราม การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 : โรงเรียนวัดโสมนสั ปจั จบุ นั กำลังศึกษาอยู่ที่ : มหาวิทยาลัยราชภัฎบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา คณะครุศาสตร์ สาขา การศึกษาปฐมวัย ภมู ิลำเนา : บ้านเลขท่ี 27/4 ม. ต.วัดโคก อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท 17110 มพี ่ีน้อง 2 คน : เป็นบุตรคนที่ 2 ที่อยปู่ ัจจุบัน : บา้ นเลขท่ี 27/4 ม. ต.วดั โคก อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท 17110 เกรดเฉลย่ี สะสม : 3.65 คติประจำใจ : ทำวันนีใ้ ห้ดที สี่ ดุ ความใฝฝ่ นั ในอนาคต : ขอใหไ้ ด้เจอและได้ทำในสงิ่ ทีใ่ ช่
คำนำ แฟ้มมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเป็นมาตรฐานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา เล่มน้ี จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอหลักการวิธีการ ขั้นตอนการจัดการศึกษาในปฐมวัยตามที่กำหนดไว้ใน มาตรฐานสถานศึกษาปฐมวัยเพื่อตอบสนองนโยบายในการจัดการศึกษามาตรฐานของชาติ จุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรอกี ทั้งได้คำนึงถึงความเชื่อมโยงและ สอดคล้องกัน ของสาระต่างๆ ในแต่ละด้านตามตัวบ่งชี้แต่ละตัวบ่งชี้เพื่อที่จะนำไปสู่การพัฒนาทั้ง ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา และยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ท่ีกำหนดไว้ในหลกั สูตร แฟม้ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเล่มนี้ยังเปน็ สว่ นหน่ึงในการปฏิบตั งิ านในสถานศึกษา เพื่อ นำเสนอผลการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ยังเป็นการจดั การเรียนรูแ้ ละพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียน การสอนอย่างมีระบบ หวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ บรรลุเป้าหมายในการศึกษาในระดบั ปฐมวัยตอ่ ไป
ประวัตโิ รงเรยี น โรงเรียนวัดโสมนัส จดั ตงั้ เม่ือ พ.ศ.๒๔๗๕ มอี าคารเรียนเป็นเรือนไม้ ๒ หลัง ตั้งอยู่ด้านหลังวัด โสมนัสวรวิหาร เป็นโรงเรียนสังกัดเทศบาล กรุงเทพมหานคร อยู่ระยะหนึ่ง แล้วโอนมาเป็นโรงเรียน ประถมศึกษาสังกดั กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๔ กรมสวัสดิการทหารบก ตอ้ งการใช้สถานท่ีต้ังโรงเรยี นเป็นฌาปณสถานกองทพั บก ทางวดั จงึ ให้รื้อยา้ ยอาคารเรียนออกมาปลูก สร้างทางด้านหน้าวัด กรมสามัญฯได้จัดงบประมาณสร้างอาคารเรียนเป็นแบบตึกทรงไทย ๒ ช้ัน ขนาด ๖ ห้องเรียน จำนวน ๒ หลัง แยกห่างกันประมาณ ๒๐๐เมตร มีสนามคั่นกลางเพื่อมิให้บดบัง หน้าวัด การก่อสร้างแล้วเสร็จ และนักเรียนเข้าเรียนได้เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๔ และในปี เดียวกันนั่นเอง กระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งหน่วยทดลองสอนคนหูหนวกขึ้นในโรงเรียนวัดโสมนัส และดำเนินการได้เป็นเวลา ๒ ปีเศษ หน่วยทดลองน้ีจึงได้ย้ายไปต้ังท่ีโรงเรียนสอนคนหูหนวกที่อำเภอ ดุสิต (เขตดุสิตในปัจจุบัน) เมื่อปีพ.ศ.๒๔๙๔ และในปี พ.ศ.๒๕๐๐ กรมสามัญศึกษาได้เปิดโรงเรียน ผู้ใหญภ่ าคค่ำขน้ึ ในโรงเรยี นน้ี แตต่ อ่ มาได้ยุบเลกิ ไป เมื่อกรมสามัญมีโครงการปรบั ปรุงคณุ ภาพการศึกษา ก็ได้คัดเลือกโรงเรียนวัดโสมนัสเข้าอยู่ใน โครงการปรบั ปรุงส่งเสริมโรงเรียนในจังหวัดพระนคร และธนบุรี เปน็ โรงเรยี กลุ่มแรก เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๔ และอยู่ในโครงการนีจ้ นกรมสามญั ยกเลิกโครงการ และกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศจดั ตง้ั โรงเรียนวัด โสมนัสเป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดส่วนกลาง เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๙ ต่อมาได้ก่อสร้าง อาคารทดแทนหลังเดิม ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ สร้างอาคารแบบ ๓๒๐ เป็นตึก ๓ ชั้น ขนาด ๒๐ ห้องเรียน แล้วเสร็จปี พ.ศ.๒๕๑๕ ได้รับพระบรมราชานญุ าติให้ชื่อว่า \"อาคารโสมนสั วัฒนาวดี\" ทำพธิ ีเปิดใช้เมื่อ วนั ที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๕ และสรา้ งอาคารแบบพิเศษ ๓ ช้ัน แทนหลังเดิมดา้ น ทิศตะวนั ตก เปิด ใชง้ านเมอ่ื วนั ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๒๗ ซ่ึงเป็นอาคารทม่ี ีอยู่ในปจั จุบันนี้ ปัจจุบันโรงเรียนวัดโสมนัส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
โรงเรยี นวดั โสมนัส ปา้ ยหนา้ โรงเรียน อาคารฝ่ายประถมศึกษา อาคารฝ่ายปฐมวัย ห้องประชุม
มาตรฐาน การศึกษาปฐมวยั
มาตรฐาน การศึกษาปฐมวยั ๑. พัฒนาการดา้ นร่างกาย มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสขุ นสิ ัยที่ดี ตวั บง่ ช้ีที่ ๑.๑ มนี ้ำหนักและสว่ นสูงตามเกณฑ์ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑.๒ มีสขุ ภาพอนามยั สขุ นสิ ัยที่ดี ตวั บ่งชีท้ ี่ ๑.๓ รกั ษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อืน่ มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญแ่ ละกล้ามเนอ้ื เล็กแข็งแรงใช้ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่วและประสานสัมพนั ธ์ กนั ตัวบ่งชท้ี ่ี ๒.๑ เคลื่อนไหวรา่ งกายอยา่ งคล่องแคล่วประสานสมั พนั ธแ์ ละทรงตัวได้ ตวั บง่ ชี้ที่ ๒.๒ ใช้มอื -ตาประสานสมั พนั ธ์กัน ๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดีและมคี วามสขุ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณอ์ ย่างเหมาะสม ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ มคี วามรู้สึกทด่ี ตี ่อตนเองและผอู้ ่ืน มาตรฐานท่ี ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว ตัวบ่งชท้ี ี่ ๔.๑ สนใจและมคี วามสขุ และแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรแี ละการเคลอ่ื นไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจที่ดีงาม ตวั บง่ ชี้ท่ี ๕.๑ ซื่อสัตย์ สุจรติ ตัวบง่ ช้ีท่ี ๕.๒ มีความเมตตา กรณุ า มนี ำ้ ใจและช่วยเหลือแบง่ ปนั ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๕.๓ มีความเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ืน่ ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๕.๔ มีความรับผิดชอบ ๓. พัฒนาการดา้ นสังคม มาตรฐานที่ ๖ มที ักษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวบ่งชี้ท่ี ๖.๑ ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกิจวตั รประจำวนั ตวั บง่ ชี้ที่ ๖.๒ มีวนิ ัยในตนอง ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพียง มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย ตัวบง่ ชี้ท่ี ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ตัวบ่งชีท้ ี่ ๗.๒ มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทยและรักความเป็นไทย มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ่วมกบั ผู้อื่นได้อยา่ งมคี วามสุขและปฏิบตั ิตนเปน็ สมาชิกทดี่ ขี องสังคมในระบอบ ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ตัวบ่งชี้ท่ี ๘.๑ ยอมรบั ความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ตวั บง่ ชี้ท่ี ๘.๒ มปี ฏิสมั พนั ธท์ ่ดี กี บั ผู้อืน่ ตัวบง่ ช้ที ่ี ๘.๓ ปฏิบัติตนเบ้ืองตน้ ในการเปน็ สมาชิกท่ีดขี องสงั คม ๔. พฒั นาการด้านสติปัญญา มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๙.๑ สนทนาโตต้ อบและเล่าเร่ืองให้ผ้อู ื่นเข้าใจ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสญั ลกั ษณ์ได้ มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดท่ีเปน็ พนื้ ฐานการเรยี นรู้ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิดรวบยอด
ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิดเชงิ เหตุผล ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑๐.๓ มีความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาและตดั สนิ ใจ มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑๑.๑ เลน่ /ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ี่ดีต่อการเรยี นรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรูไ้ ด้เหมาะสม กบั วัย ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑๒.๑ มเี จตคติทดี่ ตี ่อการเรียนรู้ ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
มาตรฐานที่ ๑ พฒั นาการด้านรา่ งกาย ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑.๑ มีนำ้ หนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์ ตัวบง่ ชี้ที่ ๑.๒ มีสขุ ภาพอนามยั สุขนิสยั ทีด่ ี ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑.๓ รกั ษาความปลอดภัยของตนเอง และผ้อู ่ืน
มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัย เด็กมีสขุ นสิ ยั ท่ดี ี ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๑.๑ มีนำ้ หนกั และส่วนสงู ตามเกณฑ์ เด็กมนี ้ำหนัก ส่วนสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามยั ชัง่ นำ้ หนกั ทกุ เดอื น วัดสว่ นสงู ทกุ เดอื น
ตวั บง่ ช้ีที่ ๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามัย สุขนิสัยทด่ี ี เด็กรับประทานอาหารท่มี ปี ระโยชนแ์ ละดมื่ น้ำสะอาดเมอื่ มผี ูช้ ีแ้ นะ ลา้ งมือ ก่อนรับประทานอาหารและหลงั จากใช้ห้องน้ำหอ้ งส้วมเมอื่ มผี ชู้ ้ีแนะ นอนพักผอ่ น เป็นเวลาและออกกำลงั กายเป็นเวลา รับประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน์ ออกกำลงั กายทกุ ตอนเช้าของวันอังคาร รกั ษาสุขอนามัยส่วนตน
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๑.๓ รักษาความปลอดภัยของตนเองและผอู้ น่ื เดก็ เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยเมื่อมผี ชู้ แ้ี นะ ทำไขพ่ ระอาทิตย์ดว้ ยตนเองโดยมคี รู คอยชว่ ยเหลอื ทำการทดลองลกู โป่งพองโตดว้ ย ตนเองโดยมคี รคู อยช่วยเหลือ เล่นสนามอย่างถกู วิธี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนอ้ื ใหญ่และกล้ามเนอ้ื เลก็ แขง็ แรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และ ประสานสัมพันธ์กนั ตัวบง่ ช้ที ่ี ๒.๑ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายอยา่ งคล่องแคล่ว ประสานสมั พนั ธแ์ ละทรงตัวได้ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๒.๒ ใชม้ ือ-ตาประสานสมั พนั ธก์ นั
มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเน้ือใหญแ่ ละกลา้ มเนือ้ เล็กแขง็ แรงใช้ได้อยา่ ง คลอ่ งแคลว่ และประสานสมั พันธ์กัน ตัวบง่ ช้ที ี่ ๒.๑ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายอยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสานสมั พันธแ์ ละทรงตวั ได้ เด็กกระโดดสองขาข้ึนลงอยู่กบั ทไี่ ด้ วิ่งแลว้ หยุดไดแ้ ละรับลกู บอลโดยใชม้ อื และ ลำตวั ช่วย เดก็ วิ่งอ้อมกรวยทีก่ ำหนดได้ กระโดดสองขาข้ามสิ่งกดี ขวาง เดินตอ่ เท้าตามเสน้ ทกี่ ำหนดได้ เด็กโยนและรับลกู บอลโดยใช้มอื และ ลำตัวช่วย
ตัวบง่ ช้ีที่ ๒.๒ ใช้มอื -ตาประสานสมั พันธ์กัน เด็กใชก้ รรไกรตดั กระดาษขาดจากกนั ไดโ้ ดยใช้มือเดียว เขยี นรปู วงกลมตามแบบได้ ร้อยวสั ดทุ ม่ี รี ูขนาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง ๑ เซนติเมตรได้ ใช้กรรไกรตัดกระดาษโดยใชม้ ือเดยี ว รอ้ ยลูกปดั หลายรปู แบบ เดก็ วาดภาพโดยใชส้ ีเทยี นได้
มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจติ ดีและมคี วามสุข ตัวบ่งช้ีที่ ๓.๑ แสดงออกทางอารมณอ์ ย่างเหมาะสม ตวั บ่งชี้ที่ ๓.๒ มีความรสู้ กึ ทด่ี ีต่อตนเองและผู้อน่ื
มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสขุ ตัวบ่งชี้ท่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสม เดก็ แสดงอารมณค์ วามรสู้ ึกได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ เดก็ ตืน่ เตน้ กับการประกอบอาหาร เมนูไข่พระอาทิตย์ เด็กมคี วามสขุ กบั การแบง่ ปนั
ตัวบง่ ช้ที ่ี ๓.๒ มีความรูส้ ึกท่ีดีตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่ เด็กกลา้ พดู กล้าแสดงออกและแสดงความพอใจในผลงานตนเอง เดก็ เล่าประสบการณเ์ ดมิ ของตน ทหี่ นา้ ช้นั เรยี น เดก็ พอใจกับผลงานการประดิษฐป์ ลารปู ทรงของตวั เอง
มาตรฐานที่ ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และ การเคลอ่ื นไหว มีสขุ ภาพจติ ดแี ละมี ความสุข ตัวบง่ ช้ีท่ี ๔.๑ สนใจและมคี วามสุขและ แสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรแี ละการ เคลอื่ นไหว
มาตรฐานท่ี ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรีและ การเคล่ือนไหว มสี ุขภาพจติ ดแี ละมคี วามสขุ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๔.๑ สนใจและมคี วามสุขและแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ดนตรีและ การเคล่ือนไหว เดก็ สนใจ มคี วามสุขและแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ เสียงเพลง ดนตรแี ละแสดง ท่าทาง/เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะและดนตรี สนุกสนานกับการกลงิ้ สเี ครือ่ งแตง่ กาย สนกุ สนานกบั การแสดงบทบาทสมมติ ในฤดกู าลตา่ งๆ อาชีพในฝนั
มคี วามสขุ กบั การระบายสีหมวกอาชพี ในฝนั สนกุ สนานกบั การเต้นประกอบเพลง
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและมจี ิตใจท่ีดีงาม ตัวบ่งชท้ี ี่ ๕.๑ ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ตวั บ่งชที้ ่ี ๕.๒ มคี วามเมตตา กรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลอื แบ่งปนั ตัวบ่งชท้ี ี่ ๕.๓ มีความเห็นอกเห็นใจผอู้ น่ื ตัวบ่งชี้ท่ี ๕.๔มคี วามรบั ผิดชอบ
มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจที่ดีงาม ตัวบ่งชีท้ ่ี ๕.๑ ซอ่ื สัตย์ สุจรติ เดก็ บอกหรอื ชไ้ี ดว้ ่าส่งิ ใดเปน็ ของตนเองและส่ิงใดเปน็ ของผูอ้ น่ื ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลอื แบ่งปนั เด็กแสดงความรักเพอื่ นและมเี มตตาสัตวเ์ ลยี้ งและแบ่งปนั ผู้อน่ื ได้เมอ่ื มี ผ้ชู ีแ้ นะ ตวั บ่งช้ที ่ี ๕.๓ มคี วามเหน็ อกเห็นใจผอู้ ืน่ เดก็ แสดงสหี น้าหรอื ทา่ ทางรับรคู้ วามรสู้ กึ ผอู้ ืน่ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๕.๔มคี วามรบั ผดิ ชอบ ทำงานทไี่ ด้รับมอบหมายจนสำเร็จ เมอื่ มผี ูช้ ว่ ยเหลอื
เก็บทีน่ อนของตัวเองเขา้ ชัน้ แบง่ ขนมใหเ้ พื่อนในวนั เกดิ ทำงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายอยา่ งต้งั ใจ
มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ตวั บ่งชท้ี ่ี ๖.๑ ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน ตัวบ่งชที้ ี่ ๖.๒ มีวินัยในตนอง ตัวบง่ ชี้ที่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพียง
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชวี ิตและปฏบิ ัตติ นตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตวั บ่งชที้ ี่ ๖.๑ ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั กิ จิ วัตรประจำวัน เดก็ แตง่ ตัวโดยมผี ชู้ ว่ ยเหลอื รบั ประทานอาหารด้วยตนเองและใชห้ อ้ งนำ้ หอ้ ง ส้วมโดยมผี ูช้ ่วยเหลอื สวมใส่เสื้อกนั เปื้อนด้วยตนเองโดยครูคอย ชว่ ยเหลือ รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง
ติดกระดมุ เสื้อด้วยตนเองโดยมคี รู คอยชว่ ยเหลอื ช่วยเหลอื ตนเองดว้ ยการใส่รองเท้าเองได้ เก็บท่นี อนด้วยตนเอง เขา้ หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วมด้วยตนเอง
ตวั บ่งชี้ท่ี ๖.๒ มวี นิ ยั ในตนอง เดก็ เกบ็ ของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ท่ีเมอื่ มผี ู้ช้แี นะและเขา้ แถวตามลำดับกอ่ นหลงั ได้เม่อื มีผ้ชู แี้ นะ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพยี ง เดก็ ใช้สิง่ ของเคร่อื งใชอ้ ยา่ งประหยัดและพอเพยี งเม่อื มผี ู้ชแี้ นะ เขา้ แถวก่อนหลงั อยา่ งเปน็ ระเบียบ เก็บของเลน่ ของใชเ้ ข้าทเี่ มื่อเลน่ เสรจ็ ล้างมอื เสร็จแล้วปิดก๊อกนำ้ ทนั ที
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย ตัวบ่งชี้ท่ี ๗.๑ ดแู ลรักษาธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ตวั บ่งชที้ ี่ ๗.๒ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรัก ความเปน็ ไทย
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๗.๑ ดแู ลรกั ษาธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม เด็กมสี ว่ นร่วมดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเมอื่ มีผู้ชแี้ นะและทิง้ ขยะไดถ้ กู ที่ ตวั บง่ ช้ีท่ี ๗.๒ มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเป็นไทย เดก็ ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทยไดเ้ ม่อื มีผู้ช้ีแนะ กล่าวคำขอบคณุ และขอโทษเมอ่ื มผี ู้ ช้แี นะและหยุดยืนเมือ่ ได้ยินเพลงชาติไทย และเพลงสรรเสริญพระบารมี สวดมนตก์ ่อนนอนกลางวนั ทุกวนั เดก็ กลา่ วคำขอบคุณเมอื่ ผ้ใู หญ่ให้ของ
มาตรฐานที่ ๘ อยูร่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้อย่างมคี วามสุขและปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๘.๑ ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ตัวบ่งชท้ี ี่ ๘.๒ มีปฏสิ มั พันธ์ทด่ี ีกบั ผ้อู น่ื ตัวบ่งชท้ี ี่ ๘.๓ ปฏิบัติตนเบื้องตน้ ในการเปน็ สมาชิกท่ีดี ของสังคม
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกบั ผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุขและ ปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของสงั คมในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวบ่งช้ที ่ี ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบคุ คล เดก็ มีเล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเดก็ ที่แตกต่างไปจากตน ตวั บ่งชีท้ ี่ ๘.๒ มปี ฏิสมั พนั ธ์ทดี่ ีกบั ผ้อู ่นื เด็กเลน่ รว่ มกับเพื่อนและยิม้ หรอื ทกั ทายผใู้ หญ่และบุคคลท่คี ุ้นเคยได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๘.๓ ปฏิบตั ติ นเบื้องตน้ ในการเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของสงั คม เดก็ ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลงเมอ่ื มผี ู้ชี้แนะ ปฏิบตั ติ นเป็นผู้นำและผตู้ ามเมอ่ื มีผู้ชีแ้ นะ ยอมรบั และการประนปี ระนอมแก้ไขปัญหาเมื่อมีผชู้ แ้ี นะ ทำกจิ กรรมกับเพ่ือนตา่ งหอ้ ง
กล่าวคำขอบคณุ เมอื่ ผใู้ หญ่ใหข้ อง ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงของห้องเรียนได้
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วยั ตวั บง่ ชี้ท่ี ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่าเรอื่ งให้ ผ้อู ื่นเขา้ ใจ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสญั ลกั ษณ์ ได้
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกบั วยั ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๙.๑ สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอ่ื งให้ผู้อนื่ เขา้ ใจ เด็กสามารถฟังผ้อู ่ืนพดู จนจบและพดู โตต้ อบเกยี่ วกับเรื่องทฟี่ งั และเล่าเรอื่ งดว้ ยประโยคสั้นๆ สามารถเลา่ เรอ่ื งราวเกย่ี วกับผลงานที่ ตนเองไดท้ ำกจิ กรรม สามารถเลา่ ประสบการณเ์ ดมิ ของ ตนเองเก่ยี วกบั รปู ทรงใหค้ รแู ละเพอ่ื น ฟงั
ตัวบ่งช้ีท่ี ๙.๒ อา่ น เขียนภาพ และสญั ลักษณไ์ ด้ เดก็ สามารถอา่ นภาพและพดู ขอ้ ความดว้ ยภาษาของตนและเขียนขดี เขยี่ อย่างมีทิศทาง เดก็ เล่านิทานจากภาพ ลากเส้นพ้ืนฐานได้
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็ น พ้ืนฐานการเรยี นรู้ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิดรวบยอด ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิดเชิงเหตผุ ล ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และตดั สินใจ
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิด ท่ีเป็นพนื้ ฐานการเรียนรู้ ตัวบง่ ช้ีที่ ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด เด็กสามารถบอกลักษณะของสิ่งตา่ ง ๆ จากการสงั เกตโดยใช้ประสาทสมั ผสั จบั คู่ หรอื เปรียบเทยี บสิง่ ต่าง ๆ โดยใชล้ กั ษณะหรอื หนา้ ท่กี ารใชง้ านเพยี งอยา่ งเดยี วและคดั แยกส่ิงต่าง ๆ ตามลกั ษณะหรอื หนา้ ท่กี ารใชง้ านเรียงลำดบั สิ่งของหรอื เหตุการณอ์ ย่าง น้อย 3 ลำดับ สงั เกตภาพแลว้ สามารถตอ่ เตมิ ชิน้ สว่ นได้ สงั เกตและเปรยี บเทยี บภาพได้
ตัวบง่ ชที้ ี่ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล เด็กสามารถระบุผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำเมื่อมีผู้ชี้แนะและคาด เดาหรอื คาดคะเนสง่ิ ทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ทำทดลองลกู โป่งพองโต และสามารถบอกเกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงของลูกโปง่ ที่เปลีย่ นไปได้ ทำการประกอบอาหารเมนไู ขพ่ ระอาทติ ย์ และสามารถบอกเก่ยี วกับการเปลีย่ นแปลงของไขไ่ ด้
ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและตดั สนิ ใจ เดก็ สามารถตดั สินใจในเรอื่ งง่ายๆและแก้ปญั หาโดยลองผิดลองถกู เดก็ ออกมาเลอื กใบระบายสอี าชพี ในฝัน เด็กปะตดิ รปู ทรง
. มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการและ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ตัวบ่งช้ที ่ี ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/ เคลอ่ื นไหวตาม จินตนาการอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ เดก็ สามารถสร้างผลงานศิลปะเพือ่ สอ่ื สารความคิด ความรูส้ กึ ของตนเอง สร้างสรรค์ฉกี ปะไข่ไดโนเสารข์ อง ตนเอง ประดษิ ฐ์พัดพดั คลายรอ้ น ตามจนิ ตนาการ
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์ เด็กสามารถเคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองอย่าง หลากหลายและแปลกใหม่ เพื่อส่งเสริมให้ร่างกายแขง็ แรง สมบรู ณ์ ออกกำลังกายทา่ ทางประกอบเพลงอย่างสนุกสนาน เคลอ่ื นไหวตามคำสงั่ ของผูน้ ำได้
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหา ความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วยั ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๒.๑ มีเจตคติที่ดีต่อการเรยี นรู้ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหา ความรู้
ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๒.๑ มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้ เดก็ สนใจฟงั หรืออ่านหนังสอื ด้วยตนเองและกระตือรือรน้ ในการเขา้ รว่ มกิจกรรม อ่านนิทานจากภาพตามเร่ืองทต่ี นเอง สนใจ มคี วามกระตือรอื ร้นในการทำกจิ กรรม เด็กสนใจและใหค้ วามรว่ มมอื ในการ ทำกิจกรรมจิตอาสา
Search