Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: R2R

Search

Read the Text Version

6. ขอบเขตการดำ�เนนิ โครงการ 6.1 ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา ศกึ ษาองคค์ วามรู้ กฎหมาย ระเบยี บ ขนั้ ตอนในการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื นำ�มาสรา้ งเป็นกรอบการวิจัย และสร้างเคร่อื งมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู เพือ่ หาแนวทางในการพัฒนาและปรบั ปรุงแก้ไขปญั หาในการปฏิบตั งิ าน ท่ีเกิดขึ้นจากการด�ำ เนนิ งานและการบันทึกข้อมลู ผขู้ อรบั สทิ ธเ์ิ งนิ อุดหนนุ เดก็ แรกเกดิ 6.2 ขอบเขตประชากร/กลมุ่ เปา้ หมาย 1) เจา้ หนา้ ทชี่ ว่ ยปฏบิ ตั งิ านโครงการเงนิ อดุ หนนุ เพอื่ การเลย้ี งดเู ดก็ แรกเกดิ ขา้ ราชการและเจา้ หนา้ ท่ี ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง จากส�ำ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั อบุ ลราชธานี บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั จังหวัดอบุ ลราชธานี รวมจำ�นวน 6 คน 2) เจ้าหน้าทอ่ี งค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นทีร่ บั ผิดชอบงานเด็กแรกเกดิ ในพน้ื ท่จี ังหวดั อุบลราชธานี จ�ำ นวน 10 พื้นท่ี ๆ ละ 2 คน รวม 20 คน ไดแ้ ก่ (1) เทศบาลนครอบุ ลราชธานี (2) เทศบาลต�ำ บลขามใหญ่ (3) องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลนาดี อ�ำ เภอนาเยยี (4) องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลนากระแซง อำ�เภอเดชอุดม (5) องค์การบริหารสว่ นต�ำ บลตบหู อำ�เภอเดชอดุ ม (6) องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลเมอื งเดช อ�ำ เภอเดชอดุ ม (7) องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลเตย อำ�เภอม่วงสามสิบ (8) องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลหนองเหลา่ อ�ำ เภอมว่ งสามสิบ (9) องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำ บลหนองไฮ อ�ำ เภอสำ�โรง (10) องค์การบริหารสว่ นตำ�บลทรายมลู อ�ำ เภอพบิ ูลมังสาหาร 6.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลา 2 วัน ระหว่างวันท่ี 24 - 25 สิงหาคม 2563 44 รายงานผลการด�ำ เนินงาน การพัฒนางานประจ�ำ สู่งานวิจัย (Routine to Research) ปีงบประมาณ 2563

รายงานผลการดาเนนิ งาน การพฒั นางานประจาสูง่ านวจิ ยั ( Routine to Research ) ปีงบประมาณ 2563 7. การดาเนินการ / วิธีการ กรอบแนวคิดการศึกษา 7. การดำาเนินการ/วธิ กี าร กรอบแนวคิดการศกึ ษา นโยบาย มตคิ ณะรฐั มนตรี อนุสญั ญาวา่ ด้วยสิทธิเด็ก มีความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และแผนพัฒนาเด็ก และเยาวชนแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2560 – 2564) สถานการณ์ดา้ นเด็กแรกเกิดในพ้นื ที่ แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรุง แก้ไขปญั หาในการปฏิบตั ิงาน รปู แบบขนั้ ตอนการจดั การ ตรวจสอบ ทเี่ กดิ ขึ้นจากการดาเนนิ งานและ เอกสารและการบันทกึ ข้อมลู ของผยู้ ่ืน การบนั ทึกข้อมลู ผู้ขอรบั สิทธเ์ิ งนิ ขอรบั สทิ ธเ์ิ งินอดุ หนุนเพอื่ การเลย้ี งดู เดก็ แรกเกดิ อุดหนุนเด็กแรกเกดิ บทบาท ขอ้ จากดั และปัญหาอุปสรรคของ หน่วยงานในการจดั การเอกสารและ การบนั ทึกข้อมูลการขอรบั สทิ ธิเ์ งนิ อุดหนนุ เพ่อื การเลยี้ งดูเดก็ แรกเกิด แผนภาพท ่ี 2.1 กรอบแนวคดิ 7.1 วิธีการศึกษา เรอ่ื ง ก�รถอดบทเรยี นก�รด�ำ เนนิ ง�นและก�รบนั ทกึ ขอ้ มลู ผขู้ อรบั สทิ ธเิ์ งนิ อดุ หนนุ เดก็ แรกเกดิ ในระดบั พนื้ ทจี่ งั หวัดอุบลร�ชธ�นี นี้ใชก้ �รวจิ ัยเชงิ คุณภ�พ ทำ�ก�รรวบรวมขอ้ มูลโดย ก�รศึกษ�เอกส�ร ง�นวิจยั ท่ีเกีย่ วข้อง ก�รสนทน�กลุ่ม ก�รประชุมเชิงปฏิบัติเพ่ือถอดบทเรียนจ�กผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ มี 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ข้�ร�ชก�รและ เจ้�หน้�ท่ีผู้มีส่วนเก่ียวข้องก�รดำ�เนินง�นและก�รบันทึกข้อมูลผู้ขอรับสิทธ์ิเงินอุดหนุนเด็ก แรกเกิด จ�กสำ�นักง�น พฒั น�สงั คมและคว�มมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั อบุ ลร�ชธ�นี บ�้ นพกั เดก็ และครอบครวั จงั หวดั อบุ ลร�[ชDธa�teน]ี 2) เจ5�้ 3หน�้ ที่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทร่ี บั ผดิ ชอบง�นเดก็ แรกเกดิ ในพนื้ ทจ่ี งั หวดั อบุ ลร�ชธ�นี ผวู้ จิ ยั ท�ำ ก�รคดั เลอื กผใู้ หข้ อ้ มลู แบบเฉพ�ะเจ�ะจง โดยผใู้ ห้ขอ้ มูลจะตอ้ งสมคั รใจเข�้ ร่วม ก�รวิจยั ในคร้ังนีด้ ้วย ผใู้ หข้ อ้ มลู แบง่ เปน็ 1) เจ�้ หน�้ ทชี่ ว่ ยปฏบิ ตั งิ �นโครงก�รเงนิ อดุ หนนุ เพอ่ื ก�รเลยี้ งดเู ดก็ แรกเกดิ ข�้ ร�ชก�ร และเจ�้ หน�้ ทผี่ มู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งจ�กส�ำ นกั ง�นพฒั น�สงั คมและคว�มมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั อบุ ลร�ชธ�นี และบ�้ นพกั เดก็ ร�ยง�นผลก�รดำ�เนนิ ง�น ก�รพฒั น�ง�นประจ�ำ สงู่ �นวิจยั (Routine to Research) ปงี บประมาณ 2563 45

และครอบครัวจงั หวดั อบุ ลราชธานี จำ�นวน 2 หน่วยงาน รวม 6 คน 2) เจ้าหน้าทอ่ี งค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ท่รี ับ ผดิ ชอบงานเด็กแรกเกดิ ในพน้ื ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี จำ�นวน 10 พ้นื ที่ ๆ ละ 2 คน รวม 20 คน รวมผ้ใู หข้ ้อมลู ทง้ั ส้ิน 26 คน เพ่ือทบทวนหรอื สรปุ ประสบการณ์ การท�ำ งานท่ีผ่านมาในแงม่ มุ ต่าง ๆ เพ่ือใหเ้ หน็ ถงึ รายละเอยี ดของ เหตุปัจจัยท้ังภายในและภายนอกซึ่งทำ�ให้เกิดผลอย่างท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันทั้งที่สำ�เร็จหรือล้มเหลว เป็นการสะท้อน คุณค่าของงาน วิธีปฏิบัติของผู้ที่อยู่หน้างานท่ีมีบทบาทความรับผิดชอบ จุดอ่อนที่เป็นปัจจัยความล้มเหลวของงาน และจุดแข็งท่ีเป็นปัจจัยความสำ�เร็จที่นำ�ไปพัฒนาเป็นแนวทางดำ�เนินงานและปรับปรุงแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน ที่เกิดข้ึนจากการดำ�เนินงานและการบันทึกข้อมูล ผู้ขอรับสิทธิ์เงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกัน ในการวิจัยนี้ทำ�การวิเคราะห์ ข้อมูลโดย การวิเคราะห์เนื้อหา และการสังเคราะห์ข้อมูล ท้ังน้ีผู้วิจัยทำ�การ เก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเอง 7.2 ขน้ั ตอนและแผนการดำ�เนินงาน 1) การศกึ ษาคมู่ อื องคค์ วามรู้ กฎหมาย ระเบยี บ ขนั้ ตอนในการด�ำ เนนิ งานและการบนั ทกึ ขอ้ มลู ผขู้ อรบั สิทธเ์ิ งินอดุ หนุนเด็กแรกเกดิ 2) การประสานงานกลุ่มเปา้ หมายเขา้ รว่ มประชุมเชิงปฏบิ ัติการ “การถอดบทเรียนการด�ำ เนนิ งานและ การบนั ทกึ ขอ้ มลู ผูข้ อรับสทิ ธ์ิเงนิ อดุ หนนุ เด็กแรกเกิด” ในระดับพืน้ ทีจ่ งั หวดั อุบลราชธานี 3) ด�ำ เนนิ การจัดประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ าร“การถอดบทเรยี นการด�ำ เนนิ งานและการบนั ทึกขอ้ มลู ผู้ขอรับ สทิ ธ์เิ งนิ อุดหนุนเดก็ แรกเกิด” ในระดบั พน้ื ท่จี งั หวดั อบุ ลราชธานี 4) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการด�ำ เนินงานวจิ ัย 5) รายงานผลการดำ�เนนิ งานวจิ ยั 8. ประโยชนข์ องโครงการ 1) เพอื่ ทราบปญั หาอปุ สรรคจากกระบวนการด�ำ เนนิ งานและการบนั ทกึ ขอ้ มลู ผขู้ อรบั สทิ ธ์ิ เงนิ อดุ หนนุ เดก็ แรกเกิดท่ผี ่านมา 2) เพื่อได้แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้น จากการดำ�เนินงาน และการบนั ทกึ ข้อมูลผู้ขอรบั สทิ ธเ์ิ งินอดุ หนุนเด็กแรกเกดิ 9. ความเสย่ี งจากการด�ำ เนนิ โครงการ 1) ผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเชิงปฏบิ ัติการอาจติดภารกจิ ไม่สามารถเข้าร่วมตามวันเวลาทก่ี �ำ หนดได้ 2) ผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการไม่กล้าเปิดเผย และยอมรับความจริงในความล้มเหลวจากการ ปฏบิ ัตงิ าน 10. ผลการศึกษา จากการศึกษา เร่ือง ถอดบทเรียนการดำ�เนินงานและการบันทึกข้อมูลผู้ขอรับสิทธ์ิเงินอุดหนุนเด็ก แรกเกิด ในระดับพืน้ ทจ่ี ังหวัดอุบลราชธานี พบว่า มี 6 ประเดน็ ดงั น้ี 1. กระบวนการด�ำ เนนิ งานโครงการเงนิ อดุ หนุนเด็กแรกเกิด มี 11 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1) ประชาสมั พนั ธก์ ารลงทะเบยี นผขู้ อรบั สทิ ธเิ์ งนิ อดุ หนนุ เดก็ แรกเกดิ ใหก้ บั ประชาชนในเขตพน้ื ทที่ ราบ 2) รบั ลงทะเบียน แนะน�ำ /ช้แี จงรายละเอียดหลกั เกณฑ/์ วิธีการลงทะเบยี น 3) เตรยี มแบบฟอรม์ (เอกสารผขู้ อรบั สวสั ดกิ าร+ผรู้ บั รองรายได)้ ตรวจสอบคณุ สมบตั ฯิ ตรวจสอบ เอกสารประกอบการลงทะเบียน พร้อมใหค้ ำ�แนะนำ� และเบอรต์ ดิ ตอ่ กลับ เพอื่ สอบถามรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ 4) เสนอรายงานตอ่ ผู้บรหิ าร 46 รายงานผลการดำ�เนินงาน การพัฒนางานประจำ�สงู่ านวจิ ัย (Routine to Research) ปงี บประมาณ 2563

5) ปิดประกาศรายชื่อผูม้ สี ิทธติ ามหลักเกณฑ์ (ระยะเวลา 15 วัน) 6) บนั ทกึ ข้อมูล ดร.01 เขา้ ระบบฐานข้อมลู 7) รวบรวมเอกสารสง่ พมจ. ภายใน 30 วนั 8) พมจ. ตรวจสอบเอกสารกอ่ นน�ำ ขอ้ มลู เขา้ สรู่ ะบบฐานขอ้ มลู เพอื่ ใหห้ นว่ ยงาน (กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน) ดงึ ข้อมูลไปประมวลผลรายชอ่ื ผ้มู สี ิทธสิ ง่ ใหก้ รมบัญชีกลาง 9) กรมบัญชกี ลางสง่ รายชอื่ ผู้มสี ทิ ธิให้กรมการปกครองตรวจสอบสถานะรายบุคคล 10) กรมบัญชีกลางโอนเงนิ เขา้ บัญชีผไู้ ด้รับสทิ ธริ บั เงนิ อุดหนนุ ทุกวันที่ 10 ของทุกเดือน ลกั ษณะการทำ�งาน หน่วยงานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มีแบ่งงานเป็นกลุ่ม/ฝ่าย ตามจำ�นวนคนทำ�งานทีม่ ใี นส�ำ นักงาน และอบรมวธิ ีบันทึกข้อมูลเขา้ ระบบ/วิธกี ารแก้ไขปัญหาในการบันทึกขอ้ มลู หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) มีการมอบหมายเจ้าหน้าที่กองสวัสดิการสังคม หรอื เจา้ หนา้ ท่อี งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เป็นผรู้ ับผดิ ชอบงานเด็กแรกเกดิ กลมุ่ เปา้ หมาย ประกอบดว้ ย ผู้ปกครองเด็กมสี ัญชาตไิ ทย เดก็ มสี ัญชาตไิ ทย เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง ประกอบดว้ ย 1) สูตบิ ตั รเดก็ แรกเกิด 2) สำ�เนาบตั รประจำ�ตวั ประชาชน ผ้ปู กครอง 3) หน้าบัญชี ธนาคาร (กรุงไทย/ธกส./ออมสนิ ) ของผลู้ งทะเบยี น 4) สมดุ บันทึกสขุ ภาพแม่และเด็ก (สมดุ สชี มพ)ู 5) สำ�เนาบัตรของต�ำ แหนง่ ผรู้ ับรองคนที่ 1, 2 2. บุคคลท่เี ก่ยี วข้องกบั การด�ำ เนินงานโครงการอดุ หนุนเงนิ เดก็ แรกเกิด มี 3 ส่วน ดงั น้ี 1) หน่วยงานท้องถ่ิน ได้แก่ เจ้าหน้าท่ีกองสวัสดิการสังคม ผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ีองค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ ผู้รบั ผดิ ชอบงานเดก็ แรกเกดิ ผู้บรหิ าร เชน่ ผอ.กอง, ปลัด, นายก อบต. หรอื เทศบาล ส.อบต ผนู้ ำ�ชุมชน เช่น ก�ำ นัน ผใู้ หญบ่ ้าน จติ อาสา เชน่ อสม. และ อพม. 2) หน่วยงานรฐั ไดแ้ ก่ เจา้ หนา้ ทีส่ ำ�นักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ เจ้าหนา้ ทบี่ า้ น พกั เด็ก และครอบครัว เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาคีเครอื ขา่ ย เช่น รพสต.หรือรพ.ชุมชนในพ้ืนที่ หน่วยงานสว่ นกลาง กรมกิจการ เด็กและเยาวชน กรมบัญชีกลาง 3) ประชาชน ไดแ้ ก่ ผู้ลงทะเบียนเพอื่ ขอรับสทิ ธ์เิ งินอดุ หนุนเดก็ แรกเกิด เชน่ พอ่ แม่ ผู้ปกครอง บุคคลในครัวเรือน เด็กผ้ไู ด้รบั สิทธิต์ ามโครงการ ผรู้ บั รองสถานะครัวเรอื น กรรมการชุมชน 3. ปญั หาที่พบจากการท�ำ งานการด�ำ เนินงานโครงการเงินอดุ หนุนเด็กแรกเกิด มี 4 ส่วน ดังนี้ ผลู้ งทะเบยี นขอรับสิทธ์ิโครงการเงินอดุ หนนุ เดก็ แรกเกิด 1) ผลู้ งทะเบยี นใหข้ อ้ มลู ไมต่ รงกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ กรณมี รี ายไดต้ �่ำ กวา่ เกณฑ์ 100,000 บาท/คน/ครวั เรอื น กรณีกลมุ่ แอบอ้างมาลงทะเบยี นเพอื่ ขอรับสทิ ธ์โิ ครงการเงนิ อดุ หนนุ เด็กแรกเกิด 2) ผู้ลงทะเบยี นน�ำ เอกสารมาไมค่ รบ เน่อื งจากเอกสารประกอบการลงทะเบยี นมาก 3) ผลู้ งทะเบียนไม่เข้าใจหลกั เกณฑ์ ท�ำ ใหบ้ างรายขาดคุณสมบตั ติ ามหลกั เกณฑ์ 4) ผู้ลงทะเบยี นไดร้ ับข้อมูลประชาสมั พนั ธ์ล่าช้า จนต้องเสยี สทิ ธ์ิ รายงานผลการด�ำ เนินงาน การพฒั นางานประจ�ำ ส่งู านวจิ ัย (Routine to Research) ปีงบประมาณ 2563 47

5) ผลู้ งทะเบยี นไมเ่ ขา้ ใจขนั้ ตอนการด�ำ เนนิ งานโครงการเงนิ อดุ หนนุ เดก็ แรกเกดิ จงึ สอบถามบอ่ ยครงั้ เมือ่ ไมไ่ ดร้ ับเงนิ ตามระยะเวลาทก่ี ำ�หนด 6) ผู้ลงทะเบียน มีบุตรก่อนวัยอันควร เมื่อได้รับสิทธิ์แล้วหย่าร้าง ไม่รับผิดชอบดูแลเลี้ยงดูบุตร ทำ�ให้เกิดภาระตอ่ ครอบครวั เช่น ปู่ ยา่ ตา ยาย เจา้ หนา้ ที่ผู้ปฏบิ ตั ิ หน่วยงานท้องถิน่ 1) เนอ่ื งจากเจา้ หนา้ ทม่ี ภี าระงานมาก รบั ผดิ ชอบหลายกระทรวง ท�ำ ใหก้ ารด�ำ เนนิ งานไมเ่ ปน็ ไปตาม แผนท่วี างไว้ 2) เจ้าหน้าท่ีไม่ได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานท่ีชัดเจนจากกระทรวง พม. เน่ืองจากการ ประชาสมั พันธ์ทไ่ี มท่ ั่วถงึ 3) เจ้าหน้าทใี่ หข้ อ้ มูลการลงทะเบยี นและข้นั ตอนของการรับเงนิ ไม่ชดั เจน ครบถว้ น 4) เม่อื ผู้รับรองสถานะไม่ได้คัดกรอง ท�ำ ใหเ้ จ้าหนา้ ทไี่ มท่ ราบข้อมูลผลู้ งทะเบียนทเ่ี ป็นจรงิ 5) ขน้ั ตอนการตรวจสอบเอกสาร อปท.- พมจ. ไมต่ รงกนั 6) ขอ้ มลู ในระบบมขี ้อผดิ พลาด 7) เมอ่ื เกดิ ปญั หาเกย่ี วกบั ผขู้ อรบั สทิ ธิ์ พมจ. แจง้ ให้ อปท. คน้ หาเอกสารประกอบใหม่ แมเ้ อกสาร ตัวจรงิ อปท. ไดส้ ่งให้ พมจ. แลว้ 8) เจ้าหน้าที่และประชาชนไมไ่ ดก้ รอกข้อมูลใหค้ รบถ้วน 9) อปท. ไมส่ ามารถตรวจสอบข้อมลู ได้ หน่วยงานส่วนกลาง 1) การพิจารณาผลการคัดเลอื กผูข้ อรบั สทิ ธิเ์ กิดความลา่ ช้า 2) การอนุมัตวิ งเงนิ ล่าช้า (เงนิ ออกช้า) 3) ขาดการซักซอ้ มแนวทางการด�ำ เนนิ งานร่วมกนั ระหว่างหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง สำ�นักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย/์ บา้ นพักเด็กและครอบครัว 1) เจ้าหน้าท่ลี มื บันทึกข้อมูลหรือบนั ทกึ ข้อมูลผิด 2) เนอ่ื งจากเจา้ หนา้ ทมี่ ภี าระงานมากรบั ผดิ ชอบงานหลายกรมในกระทรวงพม.ท�ำ ใหก้ ารด�ำ เนนิ งาน ไมเ่ ป็นไปตามแผนทีว่ างไว้ 3) เจา้ หนา้ ทไี่ มไ่ ดร้ บั ทราบแนวทางการปฏบิ ตั งิ านทชี่ ดั เจนจาก กระทรวง พม. การประชาสมั พนั ธ์ ทไี่ ม่ทว่ั ถึง 4) เจา้ หนา้ ท่ไี มเ่ ขา้ ใจแนวทางการปฏิบตั ิงานทีช่ ัดเจน 5) เจา้ หนา้ ท่ีให้ข้อมลู การลงทะเบียนและขนั้ ตอนของการรบั เงินไม่ชดั เจน 6) เมอ่ื ผรู้ บั รอง คอื อสม.ก�ำ นนั ผใู้ หญบ่ า้ น. รบั รองขอ้ มลู ใหท้ กุ ราย ท�ำ ใหเ้ จา้ หนา้ ทไี่ มท่ ราบขอ้ มลู ทเี่ ป็นจรงิ 7) ขน้ั ตอนการตรวจสอบเอกสาร อปท.- พมจ. ไมต่ รงกนั 8) ขอ้ มูลในระบบมีขอ้ ผิดพลาด 9) เมอื่ เกดิ ปญั หาเกย่ี วกบั ผขู้ อรบั สทิ ธิ์ พมจ. แจง้ ให้ อปท. คน้ หาเอกสารประกอบใหม่ แมเ้ อกสาร ตัวจริงทาง อปท. ไดส้ ง่ ให้ พมจ. แลว้ 48 รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน การพัฒนางานประจำ�สูง่ านวิจัย (Routine to Research) ปีงบประมาณ 2563

10) เจ้าหน้าที่และประชาชนไมไ่ ด้กรอกขอ้ มลู ให้ครบถ้วน 11) อปท. ไมส่ ามารถตรวจสอบข้อมูลได้ 4. แนวทางการแก้ไขปญั หา พบว่า มขี นั้ ตอนและการด�ำ เนนิ งาน ดงั น้ี 1) ควรมีการบนั ทึกข้อมูลเอกสารส�ำ รอง 2) ควรตง้ั เปน็ มาตรฐาน กรณโี อนเงินจะได้รบั สิทธเิ ม่ือข้นึ ทะเบยี นผา่ นเกณฑ์ 3) ประชาสมั พันธ์ คณุ สมบัติผู้มสี ิทธลิ์ งทะเบยี นขอรบั เงินอุดหนนุ เดก็ แรกเกิด 4) ควรใหเ้ จ้าหน้าท่ี พมจ. สรุปยอดรายทพี่ บปญั หาส่งให้ทาง อปท. เพื่อด�ำ เนินการแก้ไข 5) ควรมีการประชุมซักซ้อมเพ่ือให้เจ้าหน้าที่ได้ทราบแนวทางการปฏิบัติอย่างถูกต้อง/แนวทาง การดำ�เนนิ งานร่วมกันระหวา่ งหนว่ ยงานต่าง ๆ 6) ควรให้ พมจ. เปน็ ผู้ด�ำ เนินการโครงการหลังจาก เจ้าหนา้ ที่ อปท. รบั ลงทะเบียน 7) มกี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารตา่ ง ๆ ให้เป็นอย่างสม�่ำ เสมอ 8) เพิม่ ชอ่ งทางในการประชาสมั พนั ธ์ เชน่ บนเวบ็ ไชตข์ อง อปท. ในไลน์กลมุ่ ผูน้ �ำ ชุมชน 9) เมื่อผูล้ งทะเบียนสอบถามบ่อยครง้ั เร่ืองการไม่ได้รับสทิ ธ์ิ ต้องหาสาเหตุ เพือ่ แกไ้ ข และอธบิ าย ให้ผู้ลงทะเบยี นเข้าใจ 10) ตอ้ งชแ้ี จงทำ�ความเข้าใจใหท้ ุกฝา่ ยทราบ เมอ่ื ต้องใช้ระยะเวลานาน กวา่ จะได้เงนิ อุดหนุน 11) มชี ่องทางตดิ ตอ่ เจา้ หน้าท่ไี ด้สะดวกรวดเรว็ บคุ ลากร 1) เจา้ หนา้ ทจ่ี ัดสรรเวลาอธบิ ายสกั นดิ เพอื่ ให้ผู้ลงทะเบียนได้ร้แู ละเขา้ ใจในระเบียบ 2) เจา้ หน้าทบ่ี ันทกึ ขอ้ มูลใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั 3) เจ้าหน้าท่ีต้องศกึ ษาทำ�ความเขา้ ใจและอธิบายถึงขัน้ ตอนการลงทะเบยี นและการเข้าระบบ 4) เจา้ หน้าที่ประสานผูน้ �ำ ชุมชน อสม. ตรวจสอบสถานะบุคคลกอ่ นด�ำ เนนิ การตอ่ 5) เจา้ หนา้ ทบี่ นั ทกึ ขอ้ มลู เรยี นรทู้ กั ษะคอมพวิ เตอรเ์ พมิ่ เตมิ เพอ่ื ลดความผดิ พลาดในการบนั ทกึ ขอ้ มลู งบประมาณ 1) รฐั บาลต้องส�ำ รองเงินไวจ้ า่ ยโครงการน้ี ไมเ่ กี่ยวกับงบประมาณอ่นื 2) มีคา่ ตอบแทนใหเ้ จ้าหน้าท่ี อปท. ผู้ทำ�งานด้านน้ี 3) ให้มกี ารพจิ ารณาการอนุมตั วิ งเงินให้เร็วขึ้น 5. การวัดผล/ตวั ชว้ี ัด/การวเิ คราะห์ แบ่งเป็น 2 สว่ น ดงั น้ี ผู้มสี ิทธิรบั เงินอุดหนุน 1) ผ้ขู อรบั สิทธไิ ดเ้ งินอุดหนนุ ทันที เพราะเป็นการช่วยเหลอื เรง่ ดว่ น แกป้ ัญหาอยา่ งทนั ทว่ งที 2) ผู้ขอรับสิทธเิ กดิ ความพงึ พอใจ มคี วามสมั พนั ธท์ ่ดี ีตอ่ หน่วยงาน 3) ขอรับสิทธไิ ด้รบั เงนิ หลงั จากลงทะเบยี นไมเ่ กดิ 1 - 2 เดือน เจ้าหน้าทผ่ี ูป้ ฏิบตั ิ 1) มกี ารแบง่ ฝา่ ยการท�ำ งานและการสมุ่ ตรวจการบนั ทกึ ขอ้ มลู ฯ สงั เกตวา่ งานจะเดนิ มากกวา่ ทจี่ ะ แบง่ ใหฝ้ า่ ยอื่นช่วย 2) จะสามารถวดั ผลไดจ้ ากจำ�นวนเคสท่ีตกค้างลดลง การทำ�งานจะเออ้ื ให้รวดเร็ว 3) การวดั ผลจากการสังเกตจากการปฏิบตั ิงาน ความพึงพอใจของผรู้ ับบริการ รายงานผลการดำ�เนนิ งาน การพัฒนางานประจ�ำ สู่งานวจิ ัย (Routine to Research) ปงี บประมาณ 2563 49

4) ความเขา้ ใจของผ้รู บั บริการและทศั นะคตทิ ี่ดีตอ่ เจ้าหน้าทีแ่ ละหน่วยงาน 5) การอธิบายให้มกี ารชัดเจนไม่เกดิ การสบั สนในขอ้ มูล 6) มคี วามเขา้ ใจมากขึ้นเกยี่ วกับการได้รับสทิ ธใิ นโครงการเงนิ อดุ หนนุ เด็กแรกเกิด 7) การทำ�งานเป็นตามข้นั ตอน ถูกต้อง ชดั เจน มกี ารแนะนำ�ที่ถูกตอ้ งไมเ่ กดิ ความสับสนหรอื เข้าใจผดิ 6. ประโยชน์ที่ได้รับจากการแก้ไขปัญหา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงการดำ�เนินงานต่อผู้รับบริการ ต่อผปู้ ฏิบตั ิงานและองค์กร 1) ผูล้ งทะเบยี นไดร้ บั เงนิ ชว่ ยเหลอื ทันที ตามระยะเวลาท่ีก�ำ หนด ตรงตามวัตถปุ ระสงคข์ องรัฐ 2) มผี ลบวกตอ่ องคก์ ร วา่ มปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถใหก้ ารชว่ ยเหลอื ประชาชนได้ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ขอ้ มลู จากการสนทนากล่มุ ประกอบด้วย ประเดน็ สถานการณ์ดา้ นเดก็ ในพ้ืนที่ แบ่งเป็น 3 สว่ น 3 ประเด็น ดังนี้ 1) ครอบครัว เกิดจากการเล้ียงดูของสถาบันครอบครัว เช่น กลุ่มพ่อแม่ใช้โทรศัพท์เลี้ยงลูก ครอบครวั เลีย้ งเดี่ยว เช่น แมเ่ ลย้ี งเดี่ยว ครอบครัวขยาย 2) พ่อแมห่ รือผ้ปู กครอง เป็นกล่มุ เด็กตดิ ยาเสพตดิ เด็กอยากรู้ อยากลอง เดก็ เลียนแบบสือ่ และ ตวั ละคร ท�ำ ใหเ้ ดก็ ขาดความรใู้ นการปอ้ งกนั เกดิ การตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ หรอื การตงั้ ครรภ์ ไมพ่ รอ้ ม ท�ำ ใหเ้ กดิ คณุ แมว่ ยั เดก็ (11 - 20 ปี) 3) เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งการลงทะเบยี น ปญั หาสทิ ธก์ิ ารเลย้ี งดแู ละการรบั ผลประโยชน์ เชน่ เดก็ อาศยั อยกู่ ับปยู่ ่า ตายาย /การเปลีย่ นแปลงสิทธิ์การรบั เงิน (แม่ตดิ คุก) พอ่ แม่ แยกทางกนั ลูกอาศัยอยู่กับพอ่ แต่เอกสาร (สมดุ ฝากครรภ)์ อยกู่ ับแมเ่ ด็ก ดว้ ยเหตุผลทกี่ ล่าวมาขา้ งต้นท�ำ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ การลงทะเบียนฯ บทบาท ข้อจำ�กัดและปัญหาอุปสรรคในหน่วยงาน ซึ่งบทบาทการดำ�เนินงานของ อปท. ในพ้ืนที่ มี 6 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. เตรียมแบบฟอรม์ 2. แนะนำ�เอกสาร 3. ตรวจสอบคุณสมบัติ 4. ท�ำ ประกาศ 15 วนั 5. บันทึกข้อมลู 6. สง่ เอกสารให้ พมจ. โดยยึดตามหลกั เกณฑ์ของโครงการฯ จากผลการด�ำ เนินงานในพนื้ ท่ี ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ จากการปฏบิ ัติงาน มี 5 สว่ น ดังน้ี 1. เอกสาร มีเอกสารในการลงทะเบียนเยอะเกินไป เอกสารซ�ำ้ ซอ้ น (มีสูติบตั ร/สมุดชมพู) /การชแี้ จง กระบวนการ ไม่มีการอบรมซักซ้อม แนวทางในการปฏิบัติงาน/ข้ันตอน หลังจากลงทะเบียน/ไม่สามารถติดต่อ ผูล้ งทะเบยี นได้ 2. บุคลากร บุคลากร/เจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบมีน้อย (ควรเพ่ิมจำ�นวนเจ้าหน้าที่เด็กแรกเกิด) เป็นโซน กลมุ่ อำ�เภอแยกกนั ชดั เจน เพื่อจะได้ตามเอกสาร แก้ไขเอกสารคน) /การลงขอ้ มลู ซ�้ำ ซอ้ น (อปท. ลงแลว้ เจ้าหนา้ ที่ บ้านพักเดก็ /พมจ.)/เจา้ หน้าท่ี พมจ. ไม่แจง้ ผล อปท. หรอื ผลลงทะเบียน 3. ระบบ/ระเบยี บ ระบบและระเบยี บมกี ารเปล่ยี นแปลง แกไ้ ข 4. งบประมาณ จัดสรรงบประมาณบุคลากร (แบง่ ชดั เจน ลงท�ำ งาน จัดเกบ็ ขอ้ มูลลงระบบ) / ขาดงบ ประมาณในการดำ�เนินงาน 5. ประโยชนต์ ่อกลมุ่ เป้าหมาย เดก็ ไม่ได้รบั การตดิ ตามพัฒนาการเดก็ จากหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง 50 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน การพัฒนางานประจำ�สู่งานวิจยั (Routine to Research) ปีงบประมาณ 2563

ประโยชน์ตอ่ ผปู้ ฏบิ ัติงานและองค์กร ผู้ปฏบิ ตั งิ าน เกดิ ความเขา้ ใจในภาพรวมของโครงการ เกดิ การเชอ่ื มโยง บทบาทในการดำ�เนินงานทั้งหน่วยงานระดับจังหวัด ระดับท้องถ่ิน ประชาชน องค์กร เกิดแนวทางท่ีเหมาะสม ในการดำ�เนนิ งาน และสามารถถ่ายทอดเป็นองค์ความรเู้ พื่อเผยแพรใ่ หก้ ับหน่วยงานอนื่ ไดต้ อ่ ไป สรุปผลการพัฒนางานประจำ�สู่งานวิจัย เรื่อง การถอดบทเรียนการดำ�เนินงานและการบันทึกข้อมูล ผ้ขู อรบั สิทธเ์ิ งนิ อดุ หนุนเด็กแรกเกิด พบว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อการพัฒนาดำ�เนินงานและการบันทึกข้อมูล ผู้ขอรับสิทธ์ิเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด ประกอบด้วย 8 ประเด็น ดังน้ี 1. กระบวนการดำ�เนินงานโครงการฯ มี 2 ภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงานระดับจังหวัด และหน่วยงาน ระดับพ้นื ท่ี หนว่ ยประสานงานและให้บริการระดับจงั หวัด คอื พมจ. ควรมีการสื่อสารและประชาสมั พันธ์ข้อมลู / หลักเกณฑ์ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย และให้ข้อมูลที่ชัดเจนสำ�หรับผู้ปฏิบัติงาน ในรูปแบบที่เข้าใจและเข้าถึงง่าย ท้งั เอกสารแผ่นพบั ประชาสมั พนั ธค์ วามรู้ และสอ่ื ออนไลน์ เพื่อสร้างการรบั รู้ในวงกวา้ ง เช่น Infographic คลปิ ขา่ ว และคลิปคู่มือสอนการใช้งานระบบสำ�หรับเจ้าหน้าท่ีหรือสื่อการสอนออนไลน์ มีฐานข้อมูลและการให้คำ�แนะนำ� เม่ือเกดิ ข้อขัดขอ้ งในการด�ำ เนินงาน 2. หน่วยให้บริการระดับพ้ืนท่ี คือ อปท. ควรสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน การให้ความรู้และเข้าใจ ในโครงการฯ เบอ้ื งตน้ ใหก้ บั ผนู้ �ำ ชมุ ชนและอาสาสมคั รในพนื้ ทอ่ี ยา่ งเทา่ เทยี ม เพอ่ื สอื่ สารผา่ นชอ่ งทางหอกระจายขา่ ว การพบปะหรือการทำ�กิจกรรมร่วมกันของประชาชน อปท. ควรวางแผนการดำ�เนินงานร่วมกันของภาคส่วนต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งไมว่ า่ จะเปน็ หนว่ ยงานทอ้ งถนิ่ หนว่ ยงานภาครฐั ประชาชนในระดบั ชมุ ชน เพอ่ื เชอ่ื มโยงใหเ้ กดิ เปน็ เครอื ขา่ ย ในระดับตำ�บล ประชาชนตอ้ งตดิ ตามข้อมูลโครงการฯ และศกึ ษาข้อมลู และสิทธทิ ่ีตนเองพึงไดร้ ับใหเ้ กิดความเข้าใจ อยา่ งถกู ตอ้ ง ควรรบั ฟงั ความคดิ เหน็ หรอื แนวทางแกไ้ ขจากปฏบิ ตั ิ และสอบถามเพอื่ ความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ ง ตระหนกั ถงึ ความรับผดิ ชอบรว่ มตอ่ ชุมชน 3. แผนงาน/ระเบียบ/ระบบ ควรมีเนื้อหากระชับ ชัดเจน ไม่ซำ้�ซ้อน เข้าใจง่ายสำ�หรับผู้ปฏิบัติท่ีมีทักษะ หลากหลาย 4. เอกสารประกอบ ควรมเี ทา่ ท่จี ำ�เปน็ กรณไี มม่ ีรายการใด ต้องระบุเอกสารทดแทนให้ชัดเจน 5. บคุ ลากร ควรเพม่ิ บคุ ลากรใหม้ เี พยี งพอและพฒั นาทกั ษะการใหบ้ รกิ ารอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผา่ น ครู ก หรอื กลมุ่ เพอ่ื นชว่ ยเพอ่ื น เครอื ขา่ ยการท�ำ งานเพอ่ื แลกเปลยี่ นรู้ การถอดบทเรยี นการท�ำ งาน เพราะ จ.อบุ ลราชธานมี พี น้ื ทก่ี วา้ ง และประชากรจำ�นวนมาก ทำ�ให้การสอ่ื สารและการปฏบิ ัติไมช่ ดั เจนและครอบคลมุ 6. งบประมาณการดำ�เนินงานในพ้ืนที่ ควรจัดสรรให้เหมาะสมกับจำ�นวนกลุ่มเป้าหมายหรือ ควรเหมาะ สมกับบรบิ ทพ้ืนที่ 7. การติดตามผล ควรมีการติดตามผลอย่างต่อเน่ือง เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกลุ่มผู้รับสิทธิเงินอุดหนุน เดก็ แรกเกดิ และเจา้ หนา้ ท่ผี ปู้ ฏิบตั ิ เพ่ืองา่ ยในการประชาสัมพันธข์ ้อมลู การตดิ ตามเอกสาร สอบถามพัฒนาการเด็ก และเปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนช่วยเหลือในอนาคต 8. การวดั ผล/ตวั ชวี้ ดั /การวเิ คราะห์ ส�ำ หรบั ผมู้ สี ทิ ธริ บั เงนิ อดุ หนนุ /ผลู้ งทะเบยี น คอื ความพงึ พอใจ ในการ รับบรกิ าร ส�ำ หรบั เจา้ หนา้ ที่ผูป้ ฏิบตั ิ คอื ทักษะในการแกไ้ ขปัญหาในการท�ำ งาน จำ�นวนผู้รบั บรกิ าร ท่ีตกคา้ งลดลง แนวทางการพัฒนาและการปรับปรุงแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานท่ีเกิดขึ้นจากการดำ�เนินงานและการ บนั ทึกข้อมลู แบง่ เป็น 2 ประเด็น ดังนี้ 1) เรื่องเอกสารและระเบียบ ลดปริมาณเอกสารท่ีใช้ประกอบ การขึ้นทะเบียน / แบบลงทะเบียน รายงานผลการดำ�เนินงาน การพัฒนางานประจำ�สู่งานวิจัย (Routine to Research) ปีงบประมาณ 2563 51

ท่ีกระชับ ไม่ซ�้ำ ซ้อน และไมแ่ ก้ไขเปลยี่ นแปลงบอ่ ย/ มีระเบยี บทชี่ ัดเจนและไมเ่ ปลย่ี นแปลงบ่อย 2) การฝกึ อบรม จดั ใหม้ กี ารอบรมเจา้ หนา้ ทส่ี ว่ นของ อปท. ทร่ี บั ผดิ ชอบปลี ะ 2 ครงั้ จดั อบรมเจา้ หนา้ ท่ี ในการลงบนั ทกึ ขอ้ มลู ใหส้ ทิ ธเ์ิ จา้ หนา้ ทขี่ อง อปท. สามารถแกไ้ ขขอ้ มลู ในระบบไดใ้ ห้ พมจ. สนบั สนนุ ซกั ซอ้ มแนวทาง การด�ำ เนินงานในโครงการในโครงการตา่ ง ๆ (การฝกึ อบรม/การสอนคียเ์ ข้าระบบ) ข้อเสนอแนะ ให้ พมจ. สนับสนุนงบประมาณ ค่าถา่ ยเอกสาร/ค่าทรัพยากรส้นิ เปลืองตา่ ง ๆ ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ เปลี่ยนหน่วยรบั ลงทะเบียนจากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ (อปท.) ให้เป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสขุ ภาพตำ�บล (รพสต.) เมอ่ื ฝากครรภเ์ พอ่ื ตดิ ตามส่งเสริมพฒั นาการเดก็ /เพิม่ เจ้าหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบโครงการฯ แบง่ เปน็ โซนใหช้ ดั เจน อ�ำ นวยความสะดวกกบั เจา้ หนา้ ท่ี อปท. ทกุ กรณ/ี จดั ใหเ้ ปน็ สวสั ดกิ ารส�ำ หรบั เดก็ แรกเกดิ ทกุ ราย ขอ้ เสนอแนะในการท�ำ วจิ ยั 1. เนือ่ งจากเป็นการวิจยั เชิงสำ�รวจ ดังนั้นควรน�ำ แนวทางทีไ่ ด้จากผลวจิ ยั มาต่อขยายผลสูก่ ารแก้ปญั หา ในงานประจ�ำ ต่อไป 52 รายงานผลการด�ำ เนินงาน การพฒั นางานประจ�ำ สูง่ านวจิ ัย (Routine to Research) ปีงบประมาณ 2563

ภาคผนวก ประเดน็ คำ�ถามในการถอดบทเรยี น ส่วนท่ี 1 1. กระบวนการในการด�ำ เนนิ งานโครงการเงนิ อุดหนนุ เดก็ แรกเกิด 2. บุคคลใดบ้างทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การดำ�เนินงานโครงการอุดหนนุ เด็กแรกเกิด 3. ปัญหาที่พบจากการทำ�งานการด�ำ เนนิ งานโครงการอุดหนนุ เด็กแรกเกดิ 4. แนวทางการแก้ไขปญั หาทพี่ บในการด�ำ เนินงานโครงการอุดหนุนเดก็ แรกเกิด 5. การวัดผล/ตวั ชวี้ ดั /การวเิ คราะห์ 6. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการแกไ้ ขปญั หา ปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงการด�ำ เนนิ งานตอ่ ผรู้ บั บรกิ ารตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และองคก์ ร ส่วนที่ 2 1. ความส�ำ เรจ็ ที่ภมู ิใจมากท่ีสดุ 2. เหตใุ ดจงึ เหน็ วา่ เป็นส่งิ นเี้ ป็นสิ่งส�ำ เร็จทส่ี ุด 3. ปจั จยั ใดเปน็ ปัจจยั หลักทนี่ �ำ มาซงึ่ ความส�ำ เร็จน้ี ประเด็นค�ำ ถามในการสนทนากลุ่ม 1. สถานการณ์ดา้ นเดก็ ในพื้นที่ 2. บทบาท ขอ้ จ�ำ กดั และปัญหาอปุ สรรคในหน่วยงาน 3. แนวทางการพัฒนาและการปรับปรุงแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานท่ีเกิดขึ้นจากการดำ�เนินงานและ การบันทึกขอ้ มลู 4. ข้อเสนอแนะ รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน การพัฒนางานประจำ�สูง่ านวจิ ัย (Routine to Research) ปงี บประมาณ 2563 53

ผลผลิตท ่ี 3 การพัฒนางานประจาำ สู่การวิจยั (Routine to Research : R2R) 54 ร�ยง�นผลก�รดำ�เนนิ ง�น ก�รพัฒน�ง�นประจ�ำ สู่ง�นวจิ ยั (Routine to Research) ปงี บประมาณ 2563

บรรณ�นกุ รม กองวจิ ยั และพฒั น�ง�นสง่ เสรมิ ก�รเกษตร. (2556). ถอดรหัสงานประจำานาำ สู่งานวจิ ัย. กรุงเทพมห�นคร: กองวจิ ัย และพัฒน�ง�นส่งเสรมิ ก�รเกษตร กรมส่งเสริมก�รเกษตร. โครงก�รสนบั สนนุ ก�รพฒั น�ง�นประจ�ำ สงู่ �นวจิ ยั ระดบั ประเทศ. คาำ นยิ ามผลงานวจิ ยั R2R. คน้ เมอ่ื 5 ธนั ว�คม 2563, จ�ก http://www.r2rthailand.org/news/detail/11878 จรวยพร ศรีศลักษณ์ และคณะ. (2551). R2R : Routine to Research สยบงานจำาเจดว้ ยการวิจยั สู่โลกใหม่ ของงานประจาำ . นนทบรุ :ี สถ�บันวิจัยระบบส�ธ�รณสขุ (สวรส.). มุกด� สีตล�นุชิต. (2558). R2R : Routine to research กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. ว�รส�รวิช�ก�ร มห�วทิ ย�ลยั อสี เทริ ์นเอเชยี ฉบับสงั คมศ�สตรแ์ ละมนุษย์ศ�สตร,์ 223.

คณะผจู้ ดั ท�ำ ทปี่ รกึ ษา ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 หัวหนา้ ฝา่ ยบริหารทั่วไป/กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ 1. นางอุบลทพิ ย์ เพชรชู หัวหน้ากล่มุ การวจิ ัยและการพฒั นาระบบเครือข่าย 2. นางสาวศรวี รรณ์ สระแก้ว คณะท�ำ งาน คณะท�ำ งาน คณะท�ำ งาน คณะท�ำ งาน คณะทำ�งาน 1. นายผาด สวุ รรณรตั น ์ คณะทำ�งาน 2. นางสาวพรสดุ า ฤทธิธาดา 3. นางปุญชิดา ปญั ญามี 4. นางสทุ ธินนั ท์ สีนามโหนง่ 5. นายวิรตั น์ สุภารักษ ์ 6. นางสาวชฎารตั น์ ไชยสิงห ์ 56 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน การพฒั นางานประจำ�สู่งานวิจยั (Routine to Research) ปงี บประมาณ 2563



พมิ พ์ที:่ หจก.กาฬสินธ์กุ ารพมิ พ์ 338/12-13 ถนนกดุ ยางสามัคคี ตำ�บลกาฬสนิ ธ์ุ อำ�เภอเมอื งกาฬสินธ์ุ จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ 46000 โทร. 08 1057 8118, 09 3446 5777


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook