Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฝึกงานองค์ประกอบ

ฝึกงานองค์ประกอบ

Published by wannapa manojam, 2021-03-16 08:28:09

Description: ฝึกงานองค์ประกอบศิลป์

Keywords: องค์ประกอบศิลป์

Search

Read the Text Version

องคป์ ระกอบศลิ ปส์ ำหรบั งำนคอมพวิ เตอร์

คำนำ หนังสือเรียนวิชำ “องคป์ ระกอบศลิ ปส์ ำหรับงำนคอมพิวเตอร์” รหสั วิชำ 2204-2101 เรยี บเรียงขึ้นตำมหลักสตู รประกำศนยี บัตรวิชำชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั รำช 2556 ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำร อำชีวศกึ ษำ หนงั สอื เลม่ นีป้ ระกอบด้วยเน้ือหำจำนวน 5 หน่วย ประกอบด้วยเน้อื หำดงั น้ี คอื หลกั กำรจัด องคป์ ระกอบศิลป์ ธำตทุ ำงทศั นศิลป์ กระบวนกำรสร้ำงสรรค์ทศั นศิลป์ ศลิ ปะกับคอมพวิ เตอร์ กำรตัดภำพ ผเู้ รยี บเรียงหวังเปน็ อยำ่ งยง่ิ วำ่ หนงั สือเรยี นวชิ ำ “องคป์ ระกอบศิลป์สำหรบั งำนคอมพวิ เตอร์” เลม่ น้จี ะ เอื้ออำนวยประโยชน์แกน่ ักเรยี น ครอู ำจำรย์ผู้สอน ตลอดจนผู้ทีส่ นใจวชิ ำนี้เป็นอย่ำงดี สุดทำ้ ยนีผ้ ูเ้ ขียนขอกรำบ ขอบพระคณุ เจ้ำของผลงำนทุกทำ่ นท่ีผ้เู ขียนไดน้ ำมำอำ้ งองิ และยกตวั อย่ำงประกอบไว้ในหนังสอื เล่มน้ี ขอขอบพระคณุ ทุกท่ำนไว้ ณ โอกำสน้ี

หน่วยที่ 1 หลกั กำรจดั องคป์ ระกอบ ควำมหมำยขององค์ประกอบศิลป์ องค์ประกอบของศิลป์ หรือ (composition) นั้นมำจำกภำษำละติน กำรจะเกิดองค์ประกอบศลิ ปะได้น้ัน ตอ้ งเกดิ จำกกำรเอำ ส่วนประกอบของศลิ ปะมำสรำ้ งสรรค์งำนศิลปะเขำ้ ด้วยกนั หลักกำรจัดองค์ประกอบศิลปจ์ ึงจะเป็นผลงำนองค์ประกอบศิลป์ องคป์ ระกอบศลิ ป์เป็นวชิ ำหรือทฤษฎีที่เก่ยี วกับกำรสร้ำงรูปทรงในงำน กำรจัดองคป์ ระกอบศิลป์เป็นกำรนำเอำทศั นธำตุ ไดแ้ ก่ จดุ เส้น รูปรำ่ ง รูปทรง น้ำหนักออ่ น-แก่ พนื้ ที่วำ่ ง พื้นผวิ และสี มำจดั วำงสร้ำงรปู แบบต่ำงๆอย่ำงลงตวั เหมำะสมกลมกลนื งดงำม มีชวี ติ ชีวำ ถูกตอ้ งตำมหลักเกณฑ์ของกำรจัดองคป์ ระกอบศิลป์ ควำมสำคญั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ กำรสรำ้ งสรรคง์ ำนศลิ ปะให้ไดด้ ีนัน้ ผ้สู ร้ำงสรรค์จะต้องทำควำมเขำ้ ใจกับองค์ประกอบศิลปเ์ ป็นพนื้ ฐำนเสยี กอ่ น ไมเ่ ชน่ นัน้ แลว้ ผลงำนท่ี ออกมำมักไมส่ มบูรณ์เท่ำไรนักซึงองคป์ ระกอบหลกั ของศลิ ปะกค็ ือรูปทรงกบั เน้ือหำ องคป์ ระกอบศลิ ป์เปน็ เสมอื นหวั ใจดวงหนึ่งของกำรทำงำนศลิ ปะ เพรำะในงำนองค์ประกอบศลิ ปห์ น่ึงช้ิน จะประกอบไปดว้ ย กำรร่ำงภำพ กำรจดั วำงให้เกดิ ควำมงำมและกำรใช้สีซ่ึงแต่ละอย่ำงจะต้องเรียนรสู้ รู่ ำยละเอยี ดลกึ ลงไปอกี องค์ประกอบศลิ ปจ์ ึงเปน็ ฐำนสำคัญท่ีรวบรวม ควำมรหู้ ลำยๆ อย่ำงไว้ ดว้ ยกนั จึงตอ้ งเรียนรกู้ ่อนทีจ่ ะศึกษำในเรอ่ื งอื่นๆ

องค์ประกอบศิลป์ เปน็ เสมือนหัวใจดวงหน่ึงของกำรทำงำนศลิ ปะ เพรำะในงำนองค์ประกอบศลิ ป์หน่ึงชน้ิ จะประกอบไปด้วย กำรร่ำงภำพ (วำดเส้น) กำรจดั วำงใหเ้ กิดควำมงำม (จัดภำพ) และกำรใช้สี (ทฤษฏีส)ี ซงึ่ แต่ละอยำ่ งจะตอ้ งเรียนรู้รำยละเอียดสึกลงไป อกี องคป์ ระกอบศลิ ปจ์ งึ เปน็ พืน้ ฐำนสำคญั ทร่ี วบรวมควำมรหู้ ลำย ๆ อย่ำงไว้ ด้วยกัน องค์ประกอบของศลิ ป์ กำรจัดองค์ประกอบและกำรใช้สี เปน็ หลักกำรทสี่ ำคัญในกำรสรำ้ งสรรคใ์ หง้ ำนศลิ ปะ เกดิ ควำมงำม ไมว่ ่ำจะเกิดเป็นจติ รกรรม วำดเขยี น ประติมำกรรมสถำปตั ยกรรมและกำรพมิ พภ์ ำพ หำกปรำศจำกควำมรู้ ควำมเข้ำใจเสยี แลว้ ผลงำนนั้นๆ องค์ประกอบของศลิ ป์ จดั เปน็ วิชำทม่ี ีควำมสำคญั สำหรบั ผศู้ ึกษำงำนศลิ ปะ หำกว่ำขำดควำมรู้ควำมเขำ้ ใจในวิชำน้แี ลว้ ผลงำนทีส่ รำ้ ง ขึน้ มำก็ยำกทีป่ ระสบควำมสำเร็จ โดยเฉพำะอย่ำงยงิ่ งำนศลิ ปะสมยั ใหมท่ มี่ กี ำรแสดงโดยเฉพำะ เสน้ สี แสง เงำ น้ำหนัก พนื้ ผวิ จงั หวะ และบริเวณท่วี ่ำง มคี วำมจำเป็นอย่ำงย่งิ ตอ้ งนำหลักองค์ประกอบศลิ ปม์ ำใช้ กำรจัดองค์ประกอบศลิ ป์ มีควำมสำคัญและเกยี่ วขอ้ งกับงำนทัศนศิลป์โดยตรงทง้ั วิจติ รศิลป์และประยุกต์ศลิ ป์ กำรจดั ภำพหรอื ออกแบบ สร้ำงสรรค์ผลงำนทัศนศลิ ปใ์ ห้เกดิ คณุ ค่ำควำมงำมนั้น จำกทรรศนะต่ำง ๆ สรปุ ได้ว่ำ องคป์ ระกอบศิลป์เปน็ หัวใจสำคัญของงำนศลิ ปะทุกสำขำ เพรำะงำนศิลปะใดหำกขำดกำรนำองค์ประกอบ ศลิ ปไ์ ปใช้ก็จะทำใหง้ ำนนั้นไม่มคี ณุ คำ่ ทง้ั ดำ้ นทำงกำยและทำงจิตใจของผดู้ ูหรอื พบเหน็ กำรที่จะเขำ้ ถงึ ศิลปะ(Appreciation) นั้น จะตอ้ งผำ่ นกำรฝึกฝนและหำทำงดูเพือ่ ใหเ้ กิดควำมเขำ้ ใจ ทั้งจะต้องมีรสนยิ มทด่ี ีพอสมควร กำร ฝกึ ฝน กำรทำซำ้ ๆ อยำ่ งสนใจเมื่อนำนเข้ำกจ็ ะเกิดควำมเขำ้ ใจ ทำดว้ ยควำมคนุ้ เคยกับสง่ิ เหล่ำน้ันจึงจะเขำ้ ใจ รเู้ ห็นในคุณค่ำของศิลปะนั้น องคป์ ระกอบพน้ื ฐำนดำ้ นนำมธรมของศลิ ปะ องคป์ ระกอบพน้ื ฐำนด้ำนนำมธรรมของศลิ ปะ เปน็ แนวคดิ หรือจุดกำหนดแรกท่ศี ิลปินใช้เป็นสง่ิ กำหนดทิศทำงในกำร สร้ำงสรรค์ ก่อนท่จี ะมกี ำรสรำ้ งผลงำนศลิ ปะ ประกอบดว้ ยเน้อื หำกบั เรือ่ งรำว

1.เนอื้ หำในทำงศิลปะ คอื ควำมคิดท่เี ปน็ นำมธรรมที่แสดงให้เห็นได้โดยผ่ำนกระบวนกำรทำงศิลปะ เชน่ ศลิ ปะต้องกำรเขยี นภำพทม่ี เี นื้อหำเกี่ยวกบั ชนบท กจ็ ะแสดงออก โดยกำรเขยี นภำพทิวทัศนข์ องชนบท หรือภำพวิถีชวี ติ ของคนในชนบท เป็นต้น 2.เร่อื งรำวในทำงศลิ ปะ คือ ส่วนที่แสดงควำมคิดท้ังหมดของศลิ ปนิ ออกมำเปน็ รปู ธรรมดว้ ยกระบวนกำรทำงศิลปะ เชน่ ศลิ ปินเขียนภำพช่ือชำวเขำ กม็ กั แสดงรูปเกีย่ วกับวถิ ี ชวี ิต หรือกจิ กรรมสว่ นหน่ึงของชำวเขำ นน้ั คือเรอื่ งรำวทป่ี รำกฏออกมำให้เหน็ ประเภทของควำมสัมพันธ์ของเน้อื หำกับเรอื่ งรำวในงำนทัศนศิลป์น้นั เน้อื หำกับเร่อื งรำวที่มคี วำมสัมพันธก์ นั นอ้ ยหรือมำก หรอื อำจไม่สัมพนั ธก์ นั เลย หรือ อำจไมม่ เี รอื่ งเลยกเ็ ปน็ ไปไดท้ ัง้ นน้ั โดยขน้ึ กบั ลักษณะของงำน และเจตนำในกำรแสดงออกของศิลปนิ ซึ่งเรำสำมำรถแยกได้ดังตอ่ ไปนีค้ ือ (1) กำรเนน้ เน้อื หำดว้ ยเรอ่ื ง (2) เนอ้ื หำที่เป็นผลจำกกำรผสมผสำนกนั ของศลิ ปินกบั เรอ่ื ง (3) เน้อื หำทเี่ ป็นอสิ ระจำกเรอ่ื ง (4) เนอ้ื หำไม่มเี ร่อื ง 1.กำรเนน้ เนื้อหำดว้ ยเร่อื ง ไดแ้ ก่ กำรใชเ้ รอื่ งทตี่ รงกบั เน้ือหำ และเป็นตวั แสดงเนือ้ หำของงำนโดยตรง ตวั อย่ำงเชน่ เมอ่ื ศลิ ปินต้องกำรใหค้ วำมงำมทำงด้ำน ดอกไมเ้ ปน็ เนอื้ หำของงำน เขำก็จะเอำดอกไม้ที่สวยงำมมำเปน็ เรอื่ ง สสี ันและควำมออ่ นชอ้ ยของกลีบดอกจะช่วยใหเ้ กดิ ควำมงำมขน้ึ ในภำพ 2.เน้ือหำที่เปน็ ผลจำกกำรผสมผสสำนระหว่ำงศลิ ปนิ กบั เรอ่ื ง ในส่วนทศ่ี ิลปินจะเสนอควำมคดิ สว่ นตัว หรอื ผสมควำมรูส้ กึ ส่วนตัวเข้ำในเรอ่ื ง เป็นกำรผสมกนั ระหว่ำงรูปลกั ษณะของเรอื่ งกบั จนิ ตนำกำรของศิลปิน เชน่ เร่อื งควำมงำมของดอกไม้ โดยศลิ ปนิ ผสมควำมรสู้ กึ นกึ คิดของตนเองลงไปในเรอื่ งด้วย เขำจะดดั แปรง เพ่มิ เติม รปู รำ่ งของดอกไม้ให้งำมไปตำมทศั นะของเขำและใชอ้ งค์ประกอบของศิลปะประกอบทำงรปู ทรงใหส้ อดคล้องกบั ควำมงำมของเรอ่ื ง 3.เนื้อหำทเี่ ป็นอสิ ระจำกเรื่อง เมอ่ื ศลิ ปนิ ผสมจินตนำกำรของตนเองเข้ำไปในงำนมำกขนึ้ ควำมสำคัญของเร่อื งจะลดลง ดอกไม้ท่ีสวยที่เป็นแบบอำจถกู ศิลปนิ ตดั ทอนขดั เกลำหรือเปลยี่ นแปรงมำกทสี่ ดุ จนเรือ่ งดอกไม้นั้นหมดควำมสำคญั ไปอย่ำงสนิ้ เชิง เหลอื แตเ่ นอื้ หำทเ่ี ป็นอสิ ระ 4.เนอ้ื หำไมม่ ีเรื่อง ศิลปินบำงประเภทไมม่ คี วำมจำเปน็ ต้องใช้เร่ืองเป็นจดุ เรมิ่ ต้นงำนของเขำไมม่ เี รอ่ื ง มีแตร่ ูปทรง กับเนอ้ื หำ โดยรูปทรงเป็นเนอ้ื หำเสยี เอง โดยตรง เป็นเนือ้ หำภำยในลว้ น ๆ เปน็ กำรแสดงควำมคดิ อำรมณ์ และบุคลกิ ภำพของศลิ ปนิ แท้ ๆ ลงไปในรปู ทรงทบ่ี รสิ ทุ ธิ์ งำนประเภทนีจ้ ะเห็นไดช้ ัดในดนตรีและงำน ทัศนศลิ ปท์ ี่เปน็ นำมธรรม และแบบนอนออบเจคตฟี

ส่วนประกอบขององค์ประกอบศิลป์ องคป์ ระกอบพื้นฐำนด้ำนนำมธรรมของศลิ ปะเปน็ แนวคิด หรอื จดุ กำเนิดแรกของทศี่ ิลปนิ ใช้เปน็ สงิ่ กำหนดทิศทำงในกำรสรำ้ งสรรค์ กอ่ นท่ีจะมกี ำรสรำ้ งผม งำนศิลปะ ประกอบดว้ ยเนอ้ื หำกบั เรอื่ งรำว 1. เส้น เส้น Line เส้น คือ ร่องรอยท่เี กิดจำกกำรเคลอื่ นท่ขี องจดุ หรือถำ้ เรำนำจดุ มำวำงเรยี งต่อ ๆ กนั ไป ก็จะเกดิ เปน็ เสน้ ข้นึ เส้นมมี ิติเดียว คอื ควำมยำว ไม่มี ควำมกวำ้ ง ทำหนำ้ เป็นขอบเขตขงิ ทีว่ ำ่ ง รูปร่ำง รูปทรง น้ำหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรปู ทรงต่ำง ๆ รวมท้งั เป็นแกนหรอื โครงสรำ้ งของรูปรำ่ งรูปทรง เส้นเป็นพ้ืนฐำนท่สี ำคัญของศลิ ปะทกุ ชนดิ เส้นสำมำรถใหค้ วำมหมำย แสดงควำมรสู้ ึกและอำรมณ์ไดด้ ว้ ยตนเอง และดว้ ยกำรสรำ้ งเปน็ รปู รำ่ งต่ำง ๆ ข้ึน เส้น มี 2 ลักณะ คือ เสน้ ตรง(Straight Line) และเส้นโค้ง(curve Line) เล้นทั้งสองชนดิ น้ี เม่อื นำมำจดั วำงในลักษณะตำ่ ง ๆ กัน จะมีชือ่ เรยี กต่ำง ๆ และใหค้ วำมหมำยควำมร้สู กึ ทแี่ ตกตำ่ งกันอกี ดว้ ย ลักษณะของเสน้ 1. เส้นต้งั หรอื เสน้ ด่งิ ใหค้ วำมรสู้ กึ ทำงควำมสงู สง่ำ ม่ันคง แขง็ แรง หนักแนน่ เป็นสัญลักษณข์ องควำมซอื่ ตรง 2. เสน้ นอน ให้ควำมรู้สกึ ทำงควำมกวำ้ ง สงบ รำบเรยี บ นง่ิ ผ่อนคลำย 3. เส้นเฉยี ง หรอื เสน้ ทแยงมุม ให้ควำมรู้สกึ เคลื่อนไหว รวดเรว็ ไม่มน่ั คง 4. เสน้ หยกั หรือ เสน้ ซิกแซกแบบฟนั ปลำ ให้ควำมร้สู ึกเคลอื่ นไหวอยำ่ งเปน็ จังหวะ มีระเบียบ ไมร่ ำบเรียบ น่ำกลวั 5. เส้นโคง้ แบบคล่ืน ให้ควำมรูส้ ึก เคลอ่ื นไหวอย่ำงช้ำ ๆ ลื่นไหล ตอ่ เนอื่ ง สุภำพ ออ่ นโยน นมุ่ นวล 6. เส้นโคง้ แบบกน้ หอย ใหค้ วำมรูส้ กึ เคลื่อนไหว คลีค่ ลำย หรือเตบิ โตในทศิ ทำงทห่ี มนุ วนออกมำ 7. เส้นโคง้ วงแคบ ให้ควำมรู้สกึ ถงึ พลงั ควำมเคลอ่ื นไหวท่ีรุนแรง กำรเปลยี่ นทิศทำงทีร่ วดเรว็ ไม่หยุดน่งิ 8. เส้นประ ใหค้ วำมรสู้ กึ ทีไ่ ม่ตอ่ เนือ่ ง ขำดหำย ไมช่ ัดเจน ทำใหเ้ กิดควำมเครยี ด

ควำมสำคัญของเสน้ 1.ใช้ในกำรแบ่งท่ีว่ำงออกเป็นส่วน ๆ 2. กำหนดขอบเขตของทว่ี ่ำง หมำยถงึ ทำใหเ้ กดิ เป็นรปู รำ่ ง (Shape) ข้นึ มำ 3. กำหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทำใหม้ องเหน็ รูปทรง(Form) ชัดขึ้น 4. ทำหนำ้ ทเี่ ปน็ น้ำหนักอ่อนแกข่ องแสงและเงำ หมำยถงึ กำรแรเงำดว้ ยเส้น 5. ใหค้ วำมรู้สึกดว้ ยกำรเป็นแกนหรือโครงสรำ้ งของรปู และโครงสร้ำงของภำพ 2. สี ประวตั คิ วำมเปน็ มำของสี มนษุ ยเ์ รม่ิ มกี ำรใชส้ ีตั้งแตส่ มัยกอ่ นประวัตศิ ำสตร์ มีทัง้ กำรเขียนสลี งบนผนังถำ้ ผนงั หนิ บนพ้นื ผิวเครื่องปน้ั ดนิ เผำ และที่อ่นื ๆ ภำพเขียนสี บนผนงั ถ้ำ(Rock Painting) เริม่ ทำตง้ั แตส่ มยั กอ่ นประวัติศำสตร์ในทวีปยโุ รป โดยคนก่อนสมัยประวตั ิศำสตร์ ในสมยั หนิ เกำ่ ตอนปลำย ภำพเขยี นสที ม่ี ี ชื่อเสยี งในยุคนี้พบท่ีประเทศฝร่ังเศสและประเทศสเปนในประเทศไทย กรมศิลปำกรไดส้ ำรวจพบภำพสสี มัยกอ่ นประวัติศำสตร์บนผนงั ถ้ำ และเพงิ หินในท่ตี ำ่ ง ๆ จะมอี ำยรุ ะหวำ่ ง 1,500–4,000 ปี เป็นสมัยหินใหมแ่ ละยคุ โลหะไดค้ ้นพบต้ังแตป่ ี พ.ศ.2465 คร้ังแรกพบบนผนงั ถ้ำในอำ่ วพงั งำ ตอ่ มำกค็ ้นพบอกี ซงึ่ มอี ยูท่ ั่วไป เชน่ จงั หวดั กำญจนบุรี อุทัยธำนี เปน็ ต้น

คำจำกัดควำมของสี 1.แสงทมี่ ีควำมถีข่ องคลื่นในขนำดที่ตำมมนุษยส์ ำมำรถรบั สมั ผสั ได้ 2.แม่สที เ่ี ป็นวัตถุ(pigmentary primary)ประกอบดว้ ย แดง เหลือง น้ำเงนิ 3.สที ี่เกดิ จำกกำรผสมของแมส่ ี คุณลกั ษณะของสี สีแท้(Hue)คือ สที ยี่ ังไมถ่ กู สีอนื่ เขำ้ ผสม เปน็ ลกั ษณะของสแี ทท้ ีม่ ีควำมสะอำดสดใส เชน่ แดง เหลือง นำ้ เงนิ สีออ่ นหรอื สจี ำง(Tint) ใชเ้ รียกสแี ท้ท่ีผสมด้วยสีขำว เช่น สีเทำ สีชมพู สีแก่(shade) ใชเ้ รยี กสแี ทท้ ่ีผสมดว้ ยสดี ำ เชน่ สีน้ำตำล

สีสำมำรถแยกออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1.สธี รรมชำติ 2.สีทีม่ นุษยส์ รำ้ งขึน้ สีธรรมชำติ เปน็ สที ี่เกดิ ข้นึ เองธรรมชำติ เชน่ สีของแสงอำทติ ย์ สขี องท้องฟำ้ ยำมเชำ้ เย็น สีของรุง้ กินน้ำ เหตุกำรณท์ เี่ กิดขึ้นเองธรรมชำติ ตลอดจนสีของดอกไม้ ตน้ ไม้ พ้ืนดิน ท้องฟำ้ นำ้ ทะเล สที ีม่ นษุ ย์สรำ้ งขึน้ หรอื ไดส้ งั เครำะห์ข้นึ เช่น สวี ทิ ยำศำสตร์ มนษุ ย์ได้ทดลองจำกแสงตำ่ ง ๆ เช่น ไฟฟำ้ นำมำผสมโดยกำรทอแสง ประสำนกัน นำมำใชป้ ระโยชน์ในดำ้ นกำรละคร กำรจัดฉำกเวที โทรทศั น์ กำรตกแต่งสถำนที่

3.คำ่ น้ำหนัก ค่ำน้ำหนัก Value คือ คำ่ ควำมอ่อนแกข่ องบริเวณที่ถกู แสงสว่ำง และบริเวณท่เี ปน็ เงำของวัตถุ หรอื ตวำมออ่ น-ควำมเขม้ ของสหี น่ึง ๆ หรอื หลำยสี เชน่ สีแดงท่ีมคี วำมเขม้ กวำ่ สีชมพหู รสิ อี ดงทอ่ี อ่ นกว่ำสีนำ้ เงิน เปน็ ต้น นอกจำกนยี้ งั หมำยถึงระดับควำมเข้มของแสงและระดบั ควำมมดื ของเงำซึ่งไลเ่ รียงจำกมดื ท่ีสุด(สีดำ)ไปจนถงึ สวำ่ งที่สดุ (สขี ำว)น้ำหนักทอี่ ยรู่ ะหว่ำงกลำงจะเปน็ สเี ทำ ซง่ึ มีตง้ั แตเ่ ทำแกท่ ี่สุด จนถึงเทำออ่ นทีส่ ดุ

แสงและเงำ (Light & Shade) เปน็ องค์ประกอบของศลิ ป์ท่ีอยู่คู่กัน และเมื่อส่องกระทบกับวัตถุจะทำให้เกดิ เงำ แสงและเงำเป็นตัวกำหนดของค่ำน้ำหนัก ควำมเข้มของเงำจะขน้ึ อยกู่ ับควำมเขม้ ของแสง ในท่ที ่มี แี สงสว่ำงมำกเงำจะเข้มขึ้นและในท่ีทแี่ สงสว่ำงน้อยเงำจะไม่ชดั เจน ในที่ทไ่ี ม่มีแสงสว่ำงจะไมม่ ีเงำ และเงำจะอยู่ในทำงตรงข้ำมกบั แสงเสมอ ค่ำนำ้ หนกั ของแสงและเงำ จำแนกไดด้ ังน้ี -บรเิ วณแสงสว่ำงจดั (HI-light) เป็นบริเวณที่อยไู่ กลแ้ หลง่ กำเนิดแสงมำกทสี่ ดุ จะมีควำมสวำ่ งมำกท่สี ดุ -บรเิ วณแสงสว่ำง (Light) เป็นบริเวณที่ไดร้ ับแสงสว่ำงรองลงมำจำกบริเวณแสงสว่ำงจดั เนือ่ งจำกอย่หู ำ่ งจำกแหลง่ กำหนดแสงออกมำ และเรม่ิ มคี ำ่ นำ้ หนกั ออ่ น ๆ -บรเิ วณเงำ (Shade) เปน็ บริเวณทไี่ มไ่ ด้รบั แสงสว่ำง หรอื เป็นบริเวณท่ถี กู บดบังจำกแสงสวำ่ งจะมคี ำ่ ควำมเข้มมำกขนึ้ กว่ำบริเวณแสงสว่ำง -บริเวณเงำตกทอด เป็นบรเิ วณของพื้นหลังท่เี งำของวัตถุทำบลงไป เปน็ บริวณเงำท่อี ย่ภู ำยนอกวัตถุ และจะมีควำมเขม้ ของคำ่ น้ำหนักขึ้นอยู่กับควำมเข้มของเงำ

รูปเรขำคณติ (Geometric Form) มรี ปู ท่แี น่นอน มำตรฐำน สำมำรถวัดหรือคำนวณได้งำ่ ย มีกฎเกณฑ์ เกดิ จำกกำรสร้ำงของมนุษย์ รูปอินทรยี ์(Organic Form) เปน็ รปู ของสิง่ มีชีวติ หรอื คล้ำยกบั ส่ิงมีชีวิตทส่ี ำมำรถเจริญเตบิ โตได้ รูปอสิ ระ(Free Form) เปน็ รูปท่ไี ม่ใช่แบบเรขำคณติ หรอื แบบอินทรยี ์ แต่เกดิ ขึน้ อย่ำงอิสระ ไมม่ ีโครงสรำ้ งท่แี น่นอน ซึง่ เปน็ ไปตำมอทิ ธพิ ลและกำร กระทำจำกส่ิงแวดล้อม

5. พื้นผวิ Texture พ้นื ผวิ หมำยถึง ลกั ษณะของบรเิ วณผิวหน้ำของสงิ่ ตำ่ ง ๆ ท่เี ม่อื สัมผสั แล้วสำมำรถรับรูไ้ ด้ว่ำมลี ักษณะอยำ่ งไร คอื รวู้ ำ่ หยำบ ขรุขระ เรยี บ มนั ด้ำน เนยี น สำก เปน็ ต้น ลักษณะทส่ี ัมผสั ไดข้ องพน้ื ผวิ มี 2 ประเภท คือ 1. พืน้ ผิวท่สี มั ผสั ได้ด้วยมือหรือกำยสมั ผสั เปน็ ลักษณะพ้ืนผิวท่เี ป็นจรงิ ๆ ของผิวหน้ำของวสั ดนุ ั้น ๆ 2. พื้นผวิ ท่สี ัมผัสได้ดว้ ยสำยตำ จำกกำรมองเหน็ แตไ่ มใ่ ชล่ กั ษณะทีแ่ ทจ้ รงิ ของผวิ วัสดนุ ั้น ๆ กำรจัดองคป์ ระกอบของศิลปะ กำรจัดองค์ประกอบของศลิ ปะ มหี ลักทคี่ วรคำนึงอยู่ 5 ประกำร คอื 1.สัดส่วน (Proportion) 2.ควำมสมดลุ (Balance) 3.จังหวะลีลำ (Rhythm) 4.กำรเน้น (Emphasis) 5.เอกภำพ (Unity)

หลกั องคป์ ระกอบทำงศลิ ปะ เป็นหลกั สำคญั สำหรบั ผสู้ รำ้ งสรรค์และผศู้ ึกษำงำนศลิ ปะ เนื่องจำกผลงำนศลิ ปะใด ๆ กต็ ำม ล้วนมีคณุ คำ่ อยู่ 2 ประกำร คอื คุณคำ่ ทำงดำ้ นรูปทรงและคณุ ค่ำทำงดำ้ นเรอ่ื งรำวคณุ ค่ำทำงดำ้ นรปู ทรง เกิดจำกกำรนำเอำองค์ประกอบต่ำงๆ ของศลิ ปะ อันไดแ้ ก่ เสน้ สี แสง และเงำ รูปรำ่ ง รูปทรง พนื้ ผวิ ฯลฯ มำจัดเข้ำด้วยกันเพอื่ ให้เกิดควำมงำม ซึ่งแนวทำงในกำรนำองคป์ ระกอบตำ่ ง ๆ มำจดั รวมกนั นั้นเรียกวำ่ กำรจัดองค์ประกอบศลิ ป์ (Art Composition) อกี คุณค่ำหนึ่งของศิลปะ คอื คณุ ค่ำทำงด้ำนเน้อื หำเป็นเรอ่ื งรำว หรอื สำระของผลงำนทศี่ ิลปนิ ผสู้ รำ้ งสรรค์ต้องกำรทจ่ี ะแสดง ออกมำใหผ้ ชู้ มได้สัมผสั รับรโู้ ดยอำศยั รูล้ ักษณะท่เี กดิ จำกกำรจดั องค์ประกอบศิลปน์ นั้ เอง เอกภำพ (Unity) เอกภำพ หมำยถึง ควำมเปน็ หน่วยหรือเปน็ อันหนง่ึ อันเดียวกัน มคี วำมกลมกลืนเข้ำกันได้ เอกภำพในทำงศลิ ปะ คอื กำรจัดภำพใหเ้ กดิ ควำมสมั พันธ์อยใู่ น กลมุ่ เดยี วกันไมก่ ระจดั กระจำยหรอื กอ่ ให้เกดิ ควำมสบั สน มีควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แม้จะมีส่วนแตกแยกไปบ้ำงกเ็ ปน็ เพียงสว่ นประกอบเท่ำนน้ั 1. เอกภำพของกำรแสดงออก เมอ่ื นำรูปทรงหลำย ๆ รปู มำวำงไกลก้ นั รูปเหลำ่ นน้ั จะมคี วำมสมั พนั ธ์ดงึ ดดู หรอื ผลักไสซงึ่ กนั และกนั กำรประกอบกนั ของรปู ทรงอำจทำได้โดยใช้รูปทรงที่มลี ักษณะไกล้เคียงกนั 2. เอกภำพของรปู ทรง คอื กำรรวมตวั กนั อย่ำงมดี ุลยภำพ และมีระเบียบขององคป์ ระกอบทำงศิลปะเพอื่ ใหเ้ กิดเป็นรปู ทรงหนงึ่ ทส่ี มมำรถแสดงควำม คดิ เห็นหรอื อำรมณข์ องศลิ ปนิ ออกไดอ้ ยำ่ งชนั เจน 1. กฎเกณฑข์ องกำรขัดแย้ง (Opposition) มีอยู่ 4 ลักษณะ คือ 1.1 กำรขดั แยง้ ขององคป์ ระกอบทำงศลิ ปะแตล่ ะชนิด และรวมถงึ กำรขดั แยง้ กนั ขององคป์ ระกอบตำ่ งชนดิ กนั ด้วย 1.2 กำรขัดแยง้ ของขนำด 1.3 กำรขดั แยง้ ของทิศทำง 1.4 กำรขัดแย้งของที่ว่ำงหรือจงั หว

2. กฎของกำรประสำน (Transition) คือ กำรทำให้เกดิ ควำมกลมกลืนให้ส่งิ ตำ่ ง ๆ เขำ้ ไดส้ นทิ กำรประสำนมี 2 วธิ ี 2.1 กำรเปน็ ตวั กลำง (Transition) 2.2 กำรทำซำ้ (Repetition) ควำมสมดลุ (Balance) ควำมสมดลุ เป็นสมบัตทิ ีส่ ำคญั อยำ่ งหนง่ึ ในกำรจัดภำพ ซ่งึ กำรจักภำพให้เกิดควำมสมดุลนนั้ จะต้องยดึ เอำตัวกลำงของภำพหรอื เสน้ แบง่ ก่งึ กลำงภำพเป็นหลักในกำรแบง่ เพรำะปกตงิ ำนศลิ ปะจะมสี ่วนทเ่ี ป็นแกนกลำงหรือศูนย์กลำงทำใหแ้ บง่ ออกได้เป็นดำ้ นซ้ำย ด้ำนขวำ ด้ำนบน ด้ำนล่ำง กำรจดั ควำมสมดุลแบ่งออกเปน็ 2 แบบ คือ 1.ควำมสมดลุ กันโดยจดั ภำพใหม้ รี ูปรำ่ ง รูปทรง หรือสีสนั เหมือนกนั ทงั้ ซำ้ ยและขวำ 2.ควำมสมดลุ กนั โดยจัดภำพให้มรี ปู รำ่ ง รูปทรง หรือสีสนั ด้ำนซำ้ ยและขวำไม่เหมอื นกนั แต่ให้ควำมรู้สึกสมดลกันได้

จงั หวะและจุดสนใจ (Rhythm and Emphasis) ในกำรจัดภำพควรจดั ให้เกดิ จงั หวะและจดุ สนใจประกอบกนั ไปดว้ ยกำรจัดภำพใหม้ ีจังหวะทเี่ หมำะสมกลมกลนื สวยงำมนัน้ จะตอ้ งคำนงึ ถงึ บรเิ วณว่ำงดว้ ย จงั หวะเป็นกำรจดั ภำพในลกั ษณะกำรทำซำ้ เปน็ ระเบียบ ได้รับรูถ้ งึ กำรเคล่ือนไหวต่อเน่อื งของเส้น นำ้ หนัก สีและรปู ทรงจนเกดิ เปน็ จุด สนใจ เช่น จังหวะของรูปร่ำง รูปทรงที่เรยี งกันแบบธรรมดำ จังหวะสแี ละรูปทรงจนเกิดเป็นจุดสนใจ เชน่ จงั หวะจองรูปร่ำง รูปทรงท่ีสลับส่วนกำรจัดภำพ ใหด้ ูนำ่ สนใจหรือจดุ เดน่ ของภำพจองภำพนัน้ หมำยถึง กำรจดั องคป์ ระกอบเพอ่ื สรำ้ งควำมหนว่ ยเดียวทเ่ี ดน่ และนำ่ สนใจนใจ ควำมกลมกลืนและควำมขดั แยง้ (Harmony and Contrast) ควำมกลมกลนื หมำยถงึ กำรนำทัศนะธำตตุ ำ่ งๆ ทตี่ อ้ งกำรสร้ำงสรรค์ มำจัดองคป์ ระกอบใหป้ ระสำรกลมกลืนสอดคล้องสัมพนั ธเ์ ข้ำกัน ได้ ควำมกลมกลืนมีหลำยประเภทไมว่ ่ำจะเป็นกลมกลนื ของ เสน้ รปู รำ่ ง รปู ทรงลักษณะผวิ สี น้ำหนกั อ่อน-แก่ และควำมกลมกลนื ของเน้อื หำสำระ ทั้งหมด

ควำมขดั แย้ง หมำยถึง ควำมผดิ แตกตำ่ งออกไปจำกกลุ่มหรือสว่ นร่วมในลักษณะทไ่ี ม่เหมือนกนั ไมว่ ำ่ จะเป็นรปู ทรงหรอื เน้ือหำกต็ ำม กำรจัดองคป์ ระกอบศิลป์ บำงครั้งควำมขดั แยงกบั กลมกลืนก็มคี วำมเก่ยี วข้องกัน เชน่ ถำ้ ส่วนมำกหรอื ท้งั หมดมคี วำมกลมกลืนกัน อำจ ทำให้เกิดควำมรสู้ ึกซำ้ ซำก ไม่นำ่ สนใจฉะน้ันจึงอำจออกแบบใหม้ คี วำมแตกต่ำงหรือขัดแย้งกันบำ้ ง ก็จะช่วยดึงดดู ทำให้ผลงำนเด่นสะดุดตำ สัดส่วน (Proportion) สัดสว่ น หมำยถึง กำรเอำนำส่วนประกอบต่ำงๆ มำจดั ใหไ้ ด้สดั สว่ นที่เหมำะสมซึง่ แสดงควำมสัมพันธ์ของจำนวน ควำมกว้ำง ยำว ลึก นำ้ หนกั ขนำดของรปู ทรงตำ่ งๆ สดั ส่วนนบั เป็นหลกั สำคัญของกำรจัดภำพ ทำให้ชน้ิ งำนน้นั มีควำมสมบูรณแ์ ละสัมพันธ์กลมกลนื กนั อยำ่ งงดงำม เชน่ สดั สว่ นของมนษุ ย์กบั ทอี่ ย่อู ำศัย เครือ่ งใช้สอย และ เสือ้ ผำ้ สัดส่วนในทำงศลิ ปะเป็นเร่ืองรำวของควำมรู้สึกทำงสุนทรียภำพ กำรสมสัดส่วนนีห้ มำยรวมไป ถึงควำมสมั พนั ธก์ นั อยำ่ งเหมำะสมของ สี แสง เงำ และทศั นธำตอุ ่นื ๆ ด้วย

หนว่ ยที่ 2 ธำตุทำงทศั นศิลป์ ทศั นศิลป์ หมำยถงึ ผลงำนทีม่ นษุ ย์สรำ้ งขนึ้ ใหเ้ ห็นถึงรปู ทรง 2 มติ แิ ละ 3 มติ ิ มเี นื้อทขี่ องปรมิ ำตรและเนอ้ื ท่บี รเิ วณวำ่ งตำมปรมิ ำตรของกำรรับรทู้ ล่ี กั ษณะเปน็ 2 มิติและ 3 มติ แิ ละทส่ี ำคัญ คือ ตอ้ งสำมำรถมองเหน็ ได้นน่ั เอง ประเภทของทัศนศิลปโ์ ดยกำรจำแนกตำมรูปแบบ ประเภทของทัศนศิลป์ 2 มติ ิ คือ ผลงำนทัศนศลิ ปท์ ป่ี รำกฏบนพนื้ ระนำบ ทัง้ ทีข่ รขุ ระและเรยี บท้งั นี้ปรำกฏในลกั ษณะท่ีเป็นเสน้ สี แสงเงำหรอื ลกั ษณะพื้นผวิ ใดๆท่ปี รำกฏ บนพื้นระนำบ สรำ้ งมติ บิ นพน้ื รองรบั เปน็ 2 มิติ สว่ นมิติท่ี 3 คอื ดว้ ยลกึ หรอื หนำเปน็ มติ ิลวงเกดิ ขึ้นโดยควำมรู้สกึ ของผู้ดู เช่น ภำพวำด ภำพเขียน ภำพพมิ พ์ ภำพถำ่ ย ประเภทของทศั นศลิ ป์ 3 มติ ิ คือ ลักษณะจรงิ ของมิติท้ัง 3 ประกำร มีควำมกวำ้ งควำมยำวและควำมลึก ที่มคี วำมเปน็ จรงิ ตมสภำวะของมนั จึงแบง่ ได้เปน็ 3 ประเภทใหญๆ่ คือ ประติมำกรรม สถำปตั ยกรรมและศลิ ปะสื่อผสม ประเภทของทัศนศิลปอ์ ื่นๆ คอื ผลงำนทศั นศลิ ปท์ ไี่ ม่สำมำรถจะจดั ใหอ้ ยใู่ นกลมุ่ ใดกลมุ่ หน่งึ ไดอ้ ยำ่ งชัดเจน เน่ืองดว้ ยทัศนศิลปใ์ นกลุ่มน้ีไดผ้ สมผสำนรูปแบบและวธิ กี ำร แสดงออกทำงศลิ ปะท่มี คี วำมแปลกใหม่ ลกั ษณะรปู แบบทัศนศลิ ป์ รูปแบบทีแ่ สดงเปน็ จรงิ คอื รปู แบบที่ศลิ ปนิ ถ่ำยทอดเรอื่ นำวต่ำงๆ ตำมสภำวะจริงควำมของสงิ่ นน้ั รูปแบบที่แสดงเหนอื ควำมเป็นจรงิ คือ รูปแบบที่ศลิ ปนิ ได้ถำ่ ยทอดเรอื่ งรำวหรอื ปรำกฏกำรณต์ ำ่ งๆ โดยไม่ยึดถือกฎเกณฑ์หรอื ควำมถูกตอ้ งตำมควำมเปน็ จรงิ จำกสภำวะของ สิง่ น้นั ๆ

รูปแบบทีป่ รำศจำกเนอื้ หำ คอื ลกั ษณะรูปแบบของงำนทัศนศิลปป์ ระกอบดว้ ย 3 ส่วนสำคญั คอื รูปแบบ เน้ือหำและกลวธิ ี ทศั นศิลป์รปู แบบนีม้ วี วิ ฒั นำกำร กลวิธที ัศนศลิ ป์ หมำยถึง กระบวนกำรสรำ้ งงำนทศั นศิลป์ซงึ่ ประกอบด้วย 3 สว่ นประกอบ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวธิ ีกำร ควำมหมำยของทัศนธำตุ ทัศนธำตุ หมำยถงึ ส่วนสำคัญท่ีรวมกันเป็นรปู รำ่ งของสงิ่ ท้งั หลำยตำมทม่ี องเหน็ ไดแ้ ก่ จดุ เสน้ สี แสงเงำ นำ้ หนัก บรเิ วณว่ำง และลักษณะผิวทศั นธำตุ เปน็ ส่วนประกอบ สำคญั ของศิลปะท่สี ำมำรถนำมำจดั ให้ประสำนกลมกลนื ฉะน้นั กำรรู้สงั เกตธรรมชำตทิ ่ีอย่รู อบๆ ตัวและกำรรู้จกั เลอื กสรรส่วนประกอบจำกธรรมชำตมิ ำจดั องคป์ ระกอบทำง ศลิ ปะนนั้ จึงเปน็ วิธที ่งี ำ่ ยและดีท่สี ุดในกำรสรำ้ งสรรค์งำนศิลปะทัศนธำตุ ประกอบด้วย 1.จดุ 2.เสน้ 3.สี 4.รปู ร่ำงและรปู ทรง 5.น้ำหนกั 6.บรเิ วณว่ำง 7.ลกั ษณะผิว 1.จุด หมำยถึง รอยหรอื แตม้ ทมี่ ีลักษณะกลมๆ ปรำกฏทผ่ี วิ พื้น ไม่มขี นำด ควำมกวำ้ ง ควำมยำว ควำมหนำ เป็นส่ิงทเี่ ลก็ ท่ีสดุ และเปน็ ธำตุเรม่ิ แรกท่ที ำให้เกดิ ธำตุอ่ืนๆขึ้น 2.เส้น คอื จดุ หลำยๆจุดมำต่อกนั เป็นสำย เป็นแถวแนวไปในทศิ ทำงใดทำงหนงึ่ เปน็ ทำงยำวหรอื จดุ ทเ่ี คลอ่ื นท่ีไปในทิศทำงใดทิศทำงหน่งึ ด้วยแรงผลักดัน เส้นแบ่งเปน็ ลกั ษณะใหญ่ๆ2ลักษณะ 1.เสน้ ตรง 1.1เสน้ ดงิ่ 1.2เสน้ นอน 1.3เสน้ เฉยี ง 1.4เส้นฟนั ปลำ 1.5เส้นประ 2.เสน้ โคง้ 2.1เสน้ โค้งลง 2.2เสน้ โค้งข้นึ

3.เสน้ คด 4.เส้นก้นหอย 5.เส้นโค้งอิสระ 3.สี หมำยถึง ลักษณะของแสงสวำ่ ง ปรำกฏแก่ตำให้เหน็ เปน็ สีขำว ดำ แดง เขียว นำ้ เงนิ เหลอื ง เปน็ ต้น ถ้ำไมม่ ีแสงจะมองไมเ่ ห็นสี 1.สีท่ีเปน็ วตั ถุ สที ีเ่ ปน็ รงควัตถสุ ผี งหรอื ธำตใุ นร่ำงกำยท่ีทำให้คนมีสตี ำ่ งๆสที เ่ี กดิ จำกวัตถธุ ำตเุ ช่น จำกพชื สตั ว์ แร่ธำตุ 2.แมส่ ี คอื สที น่ี ำมำผสมกนั แลว้ ทำใหเ้ กิดสใี หม่ ท่มี ลี ักษณะแตกต่ำงไปจำกสเี ดมิ มอี ยู่2ชนดิ 1.แมส่ ีของแสง เกิดจำกกำรหักเหของแสงผำ่ นแท่งแกว้ ปริซมึ มี 3 สี สแี ดง สีเหลือง สีน้ำเงนิ อยใู่ นรูปของแสงรังสี 2.แมส่ ีวัตถธุ ำตุ เป็นสีท่ไี ด้มำจำกธรรมชำตแิ ละจำกกำรสังเครำะห์โดยกระบวนทำงเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สเี หลือง สนี ำ้ เงิน แมส่ ีวตั ถธุ ำตเุ ป็นแมส่ ที ีน่ ำมำใชง้ ำนกันอยำ่ ง กว้ำงขวำง วงจรสธี รรมชำติ วงจรสี เกิดจำกกำรนำเอำแมส่ ที ี่เปน็ วตั ถมุ ำผสมกนั เปน็ วตั ถมุ ำผสมกนั เป็นสี 3 ขน้ั ม1ี 2 สี สเี หลือง สเี หลืองเขียว เขียว เขยี วน้ำเงนิ นำ้ เงนิ สีน้ำเงนิ มว่ ง ม่วง ม่วงแดง แดง แดงส้ม เหลืองส้มหรอื วงลอ้ ของสี น้ำหนกั สี หรอื วรรณะของสี หมำยถึง ระดับควำมเข้มท่ีแตกต่ำงกันกนั ของสหี รือค่ำควำมอ่อนแกข่ องสี เช่น ดำ-เทำเข้ม-เทำกลำง-เทำอ่อน-ขำว โทนก็มีผลตอ่ ควำมรสู้ กึ คลำ้ ย กับสีนั้นเอง

1.วรรณะสีรอ้ น ประกอบด้วยสเี หลอื ง สมี ว่ งแดง และสีม่วง สใี นวรรณะร้อนน้จี ะเปน็ สีทคี่ อ่ นข้ำงไปทำงสแี ดงหอื สีสม้ ถ้ำสใี ดสหี นงึ่ คอ่ นขำ้ งไปทำงสแี ดงหรือสสี ม้ เช่น สี น้ำตำล สเี ทำอมแดง กใ็ ห้ถอื ว่ำเป็นสีวรรณะร้อนให้ควำมรสู้ กึ รอ้ นแรง 2.วรรณะสเี ยน็ สเี หลือง สเี ขียวเหลือง สเี ขียว สีเขยี วนำ้ เงิน สีน้ำเงนิ สมี ่วงนำ้ เงนิ และสมี ่วง ส่วนสีอื่นๆถ้ำหนักไปทำงสนี ้ำเงนิ และสีเขยี วกเ็ ป็นสวี รรณะเยน็ ดงั เช่น สเี ทำ สดี ำ สเี ขยี วแ ใหค้ วำมรสู้ กึ เยน็ 4.รูปรำ่ งและรปู ทรง รปู รำ่ ง เสน้ รอบนอกของ วัตถุ คน สัตว์ สง่ิ ของ มลี กั ษณะเป็น 2 มติ ิ รูปทรง โครงสร้ำงของรูป วตั ถุ คน สตั ว์ ส่ิงของ มีลักษณะเปน็ 3 มิติ 5.นำ้ หนัก แสงและเงำ แสงและเงำเปน็ องคป์ ระกอบทอ่ี ยูค่ กู่ ัน แสงเมื่อสอ่ งกระทบกับวตั ถจุ ะทำให้เกิดเงำ แสงและเงำเปน็ กำหนดระดบั ของค่ำนำ้ หนัก ควำมเขม้ ของเงำจะข้ึนอยู่กบั ควำมเขม้ ของแสงในทท่ี สี่ ว่ำงมำก แสงและเงำเปน็ องค์ประกอบที่อยู่คู่กนั แสงเมอื่ สอ่ งกระทบกบั วตั ถจุ ะทำให้เกดิ เงำ แสงและเงำเปน็ ตัวกำหนดระดับของค่ำน้ำหนกั ควำมเขม้ ของเงำจะขน้ึ อยู่กบั ควำมเขม้ ของแสงในท่ีท่สี วำ่ งมำก

6.บรเิ วณว่ำง บรเิ วณหรือชว่ งไฟ 1.อำกำศท่โี อบล้อมรปู ทรง 2.ระยะหำ่ งระหวำ่ งรปู ทรง 3.บริเวณภำยในรปู ทรงมลี กั ษณะกลวงหรอื ทะลุเป็นช่องท่มี ีอำกำศผำ่ นเข้ำไปได้ 4.บรเิ วณว่ำงของภำพเขียนหรอื ภำพวำดท่มี องดูเป็นชอ่ งลึกเขำ้ ไปในภำพ เรยี กว่ำบรเิ วณว่ำงลวงตำ 7.ลกั ษณะผิว ลักษณะผิว หมำยถงึ ลักษณะภำยนอกของวตั ถทุ ีม่ องเหน็ และสมั ผัสพื้นผวิ ได้ แสดงควำมรู้ลกึ หยำบ ละเอยี ด ขรขุ ระ มนั ด้ำนเปน็ เส้น เปน็ จุด จำกควำมร้สู กึ ผวิ เปน็ ทศั นธำตุ ทีน่ ำมำประกอบในกำรสรำ้ งศลิ ปะ ลกั ษณะผิวท่แี ตกต่ำงกนั จะทำใหเ้ กดิ ควำมรสู้ ึกแตกต่ำงกัน

หน่วยที่ 3 กระบวนกำรสรำ้ งสรรค์งำนทัศนศิลป์ จติ กรรม เป็นผลงำนทศั นศิลป์แขนงหน่ึงทเ่ี กย่ี วขอ้ งสมั พนั ธ์กับกำรวำดเขียนและระบบสี มีลกั ษณะทัว่ ไปเป็นผลงำนบนแผน่ พ้นื 2 มิติ แต่ใช้กระบวนกำร เพื่อสรำ้ งภำพลวงตำใหเ้ กดิ เป็น 3 มิติ โดยใชส้ ชี นดิ ต่ำงๆ เช่น สีนำ้ สีน้ำมนั สีฝุ่น ฯลฯ เปน็ สอ่ื กลำงในกำรแสดงออกถึงเจตนำในกำรสรำ้ งสรรค์ เรื่องทจ่ี ะศกึ ษำ 1. กระบวนกำรสรำ้ งงำนออกแบบ 2. กำรสรำ้ งสรรค์งำนจิตกรรม 3. กำรสร้ำงสรรคง์ ำนจติ กรรมสนี ้ำ 4. กำรสรำ้ งสรรค์งำนประติมำกรรม 5. กำรสรำ้ งสรรค์งำนกำรพิมพ์ 6. ศพั ทท์ ำงทัศน์ศลิ ป์. สมรรถนะประจำหน่อย 1. จดั พนื้ ที่ จุดสนใจของภำพและกำรเนน้ จัดวำงตำแหนง่ ภำพ และจดั วำงภำพชนิดตำ่ งๆ ตำมหลักกำรขององค์ประกอบศลิ ป์

จุดประสงั ค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. แยกแยะกระบวนกำรสรำ้ งงำนออกแบบได้ 2. สร้ำงสรรคง์ ำนจิตรกรรมได้ 3. สร้ำงสรรค์งำนจติ รกรรมสีนำ้ ได้ 4. สรำ้ งสรรคง์ ำนประติมำกรรมได้ 5. สรำ้ งสรรค์งำนภำพพิมพ์ได้ 6. วิเครำะหศ์ พั ทท์ ำงทศั นศลิ ป์ได้ กระบวนกำรสรำ้ งงำนออกแบบ 1. ประวัตคิ วำมเปน็ มำของกำรออกแบบ มนษุ ยร์ ู้จักรกำรออกแบบมำชำ้ นำนแล้ว จำรหลกั ฐำนทน่ี ับโบรำณคดีขดุ คน้ พบปรำกฏเปน็ ทยี่ ืนยนั ได้ว่ำ มนุษย์สำมำรถออกแบบสิ่งของเครอื่ งใชม้ ำนำน กวำ่ 6,000 ปรี จู้ กั ใชค้ วำมคดิ สรำ้ งสรรค์ออกแบบลวดลำยบนภำชนะ เชน่ ลวดลำยบนเคร่อื งป้ันดนิ เผำบำ้ นเชียงจงั หวัดหวดั อดุ รธำนี

1.1 ควำมหมำยของกำรออกแบบ กำรออกแบบ (Design) คอื กำรสรำ้ งสรรค์ส่งิ ใหมห่ รอื กำรปรบั ปรงุ ดัดแปลงสิ่งเก่ำใหม้ ีรปู แบบแปลกใหมย่ ิ่งขน้ึ โดยใชก้ ระบวนกำรทำงศิลปะใน กำรวำงแผนก่อนลงมอื ปฏิบตั ิ เลือกวสั ดโุ ครงสรำ้ งและวิธีกำรทเี่ หมำะสมตลอดจนคำนงึ ถึงควำมงำมและประโยชน์ใชส้ อยในชีวิตประจำวัน 1.2 ลักษณะของกำรออกแบบ กำรออกแบบทด่ี ีตอ้ งมลี กั ษณะท่สี อ่ื ควำมหมำยไดง้ ่ำยตรงตำมวตั ถุประสงค์ท่ตี ั้งไว้ มคี วำมประณตี สวยงำม มีคณุ คำ่ ทำงด้ำนปประโยชนใ์ ช้สอยเปน็ สำคัญ 1.3 ประเภทของกำรออกแบบ กำรออกแบบมหี ลำยประเภท ซง่ึ แตล่ ะประเภทจะมีลกั ษณะและคณุ คำ่ ทำงด้ำนควำมงำมและประโยชนใ์ ช้สอยท่ีแตกตำ่ งกันออกไป ดงั นี้ กำรออกแบบตกแต่ง คือ เพ่ือปรบั ปรุงตกแตง่ สภำพแวดล้อมและชีวติ ควำมเปน็ อยู่ของคนเรำโดยมงุ่ ประโยชนใ์ ช้สอยและควำมงำมเป็นหลกั กำรตกแต่งภำยใน คอื กำรสร้ำงสภำพแวดลอ้ มภำยในอำคำรท่ีเกย่ี วข้องกบั ควำมเปน็ อย่ใู นชวี ิตประจำวันของมนุษย์ให้เกดิ ควำมสะดวกสะบำยในด้ำน ประโยชน์ใช้สอยและควำมงำม โดยอำศยั เหตผุ ลทำงพฤติกรรมและขอ้ มลู ต่ำงๆ ของมนุษยเ์ ป็นหลกั

กำรออกแบบภำยนอก คือ กำรสรำ้ งสภำพแวดล้อมภำยนอกอำคำรที่เกี่ยวข้องกับกำรเปน็ อย่ใู นชีวิตประจำวันของมนุษยใ์ หเ้ กิดควำมสะดวกสบำยในด้ำนประโยชนใ์ ชส้ อย และควำมสวยงำมในรปู แบบ โดยอำศัยเหตผุ ลทำงพฤตกิ รรมและข้อมลู ตำ่ งๆ ของมนษุ ยเ์ ป็นหลัก 2. กำรออกแบบพำณชิ ยศิลป์ กำรออกแบบพำนชิ ยศลิ ป์ คือ กำรออกแบบทเี่ กีย่ วกับธุรกจิ กำรค้ำ กำรโฆษณำประชำสัมพนั ธ์สกู่ ลมุ่ เปำ้ หมำย คอื ผบู้ ริโภค เพอ่ื ใหผ้ ูบ้ ริโภคไดร้ จู้ ำก สนิ คำ้ ท่ีมำอยู่ในท้องตลำดและเลอื กบรโิ ภคอยำ่ งเหมำะสมกบั เศษฐกจิ กำรออกแบบผลติ ภณั ฑ์ คอื กำรออกแบบส่ิงของ เครอ่ื งใชต้ ำ่ งๆ ภำยในครวั เรือนภำยในสำนักงำนทม่ี ีควำมเปน็ อยใู่ นชีวิตประจำของมนุษย์ โดยคำนึงถึง ควำมทนั สมยั ควำมสวยงำน และประโยชนใ์ ช้สอยเปน็ หลกั กำรออกแบบนเิ ทศศิลป์ คือ กำรออกแบบตดิ ต่อสอื่ สำร สอื่ ควำมหมำย ควำมเข้ำใจ ทำงสำยตำเป็นกำรส่งขอ้ มลู ขำ่ วสำรจำกบคุ คลกลุม่ หน่ึงยังบุคคลอกี กล่มุ หนึง่ ทั้งทำงกำรเขียนกำรแสดงดว้ ยทำ่ ทำงจนกระทงั่ กำรใชส้ อื่ ต่ำงๆ กำรสร้ำงสรรค์งำนจติ รกรรม

จิตกรรม เปน็ ผลงำนทัศนศลิ ปแ์ ขนงหน่งึ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งสัมพนั ธ์กับกำรวำดเขยี นและระบำยสี มีลกั ษณะท่ัวไปเป็นผลงำนบนแผน่ พื้น 2 มติ ิ และ 3 มิติ โดยใชส้ ชี นดิ ต่ำงๆ เช่น สี นำ้ สีน้ำมนั สีฝนุ่ เปน็ สอื่ กลำงในกำรแสดงออกถงึ เจตนำในกำรสรำ้ งสรรค์ จิตกรรมมหี ลำยเรอ่ื งรำวที่ศลิ ปนิ นยิ มนำมำสรำ้ งสรรค์ ได้แก่ 1. จิตกรรมประเภทหนุ่ น่งิ 2. จิตกรรมประเภทภำพทวิ ทศั น์ 3. จิตกรรมประเภทภำพคน 4. จติ กรรมประเภทภำพสตั ว์ 5. จิตกรรมประเภทเรอื่ งรำวจำกศำสนำ ประวตั ศิ ำสตร์ และวรรณคดี ประเภทของจติ กรรม จำแนกไดต้ ำมลกั ษณะผลงำนท่สี น้ิ สุดและวสั ดอุ ปุ กรณ์กำรสรำ้ งสรรคเ์ ปน็ 2 ประเภท คอื ภำพวำดและภำพเขยี น 1. จิตกรรมภำพวำด คอื ภำพวำดเขียน ภำพ วำดเส้น หรือบำงท่ำนอำจจะเรียกด้วยคำศัพท์ว่ำ ดรอว้ิง ปัจจุบันไดม้ ีกำรนำอปุ กรณ์และเทคโนโลยีท่ีใชใ้ น กำรเขียนภำพและวำดภำพทก่ี ำ้ วหนำ้ และทนั สมัยมำกมำใช้ ผ้เู ขยี นภำพจังอำจจะใช้อุปกรณต์ ำ่ งๆ มำใชใ้ นกำรเขียนภำพ ภำพวำด ในสือ่ สงิ่ พมิ พ์สำมำรถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท คอื 1.1 ภำพวำดลำยเส้น 1.2 กำรต์ ูน

2. จิตกรรมภำพเขียน ภำพเขียนเปน็ กำรสรำ้ งงำน 2 มติ ิบนพนื้ ระนำบด้วยสหี ลำยสซี งึ่ มกั จะตอ้ งมีสอ่ื ตวั กลำงระหวำ่ งวสั ดุกบั อปุ กรณท์ ่ใี ช้เขยี นอกี ซ่งึ กลวธิ ีเขยี นท่ี สำคญั คือ 1. กำรเขียนภำพสีน้ำ 2. กำรเขยี นภำพสนี ้ำมัน 3. กำรเขียนภำพสอี ะครลิ ิก 4. กำรเขียนจิตกรรมฝำผนัง 5. กำรเขยี นแผง ลักษณะของภำพจิตรกรรม 1. ภำพหนุ่ นงิ่ เปน็ ภำพวำดที่ไมม่ ีกำรเคลอื่ นไหว เปน็ สิง่ ที่อยูก่ ับท่ี 2. ภำพคนท่วั ไป แบง่ ออกได้ 2 ชนดิ 2.1 ภำพคน เปน็ ภำพท่แี สดงกริ ิยำท่ำทำงต่ำงๆ ของมนษุ ย์ โดยไม่เน้นแสดงควำมเหมือนของใบหนำ้

2.2 ภำพคนเหมือน เป็นภำพที่แสดงควำมเหมอื นของใบหนำ้ ของคนคนใดคนหนง่ึ 3. ภำพทวิ ทศั น์ เปน็ ภำพท่แี สดงควำมงำมน่ำประทบั ใจในควำมงำมของศลิ ปนิ ผวู้ ำดภำพทวิ ทัศน์ยังแบง่ ออกเปน็ ลกั ษณะตำ่ งๆ คอื 3.1 ภำพทวิ ทัศน์ผืนนำ้ หรือทะเล 3.2 ภำพทิวทัศน์พ้ืนดนิ 3.3 ภำพทวิ ทศั น์ชุมชนหรือเมอื ง 4. ภำพประกอบเร่อื ง เปน็ ภำพที่เขียนขน้ึ เพอ่ื บอกเลำ่ เรอื่ งรำวหรอื ถำ่ ยทอดเหตุกำรณต์ ่ำงๆ ให้ผอู้ ่ืนไดร้ ับรู้ โดยอำจเปน็ ทัง้ ภำพประกอบเรอื่ งในหนังสอื และรวมถึงโฆษณำต่ำงๆดว้ ย 5. ภำพองค์ประกอบ เปน็ ภำพที่แสดงควำมสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบของศิลปะและลกั ษณะในกำรจัดองค์ประกอบเพอ่ื ใหเ้ กดิ ควำมรสู้ ึกต่ำงๆ ตำมควำม ต้องกำรของผูส้ รำ้ ง โดยไมย่ ดึ ติดกบั ควำมจรงิ ตำมธรรมชำตนิ ำนำชนดิ น้ปี รำกฏมำกในงำนจติ กรรมสมยั ใหม่

6. ภำพลวดลำยตกแตง่ เป็นภำพวำดลวดลำยประกอบเพ่ือตกแตง่ ส่ิงต่ำงๆ ใหเ้ กิดควำมสวยงำมมำกข้นึ เช่น กำรวำดลวดลำยประดบั อำคำร สิ่งของเคร่ืองใชล้ วดลำยสัก กำรสร้ำงสรรคง์ ำนจิตกรรมสนี ้ำ 1. ดนิ สอน 2. ยำงลบ 3. กำระดำษวำดเขยี น 4. จำนสี 5. พู่กัน 6. สดี ินสอ (สีไม้) 7. สนี ำ้ 8. สโี ปสเตอร์ 9. ฟองนำ้ 10. ผำ้ เช็ดพู่กัน

11. ภำชนะใสน่ ้ำ 12. กระดำษสเกต็ ช์และตวั หนีบ 13. ขำต้งั เขียนภำพและเกำ้ อี้น่งั สำรละลำยประกอบกำรวำดภำพสนี ำ้ 1. Gumarabic ใช้ผสมสำรปอ้ งกนั กำรกระจำยของเน้อื สเี มอื่ ตอ้ งกำรระบำยสแี บบเปยี กซอ้ นเปียก 2. Watercolour Gel ใช้ผสมเพื่อใหเ้ นื้อสีหนำขนึ้ 3. Wetting Agent เปน็ สำรทใี่ ช้ผสมเพ่ือลดควำมตงึ ของพน้ื ผวิ ละชว่ ยใหผ้ ิวซับนำ้ ได้ดขี ึน้ 4. Glycerine ใหห้ ยดลงบนสีจำนเพอ่ื ป้องกนั สีแห้งแตก 5. Varnishing เปน็ สำรละลำยทใี่ ช้เคลือบผวิ หน้ำหลงั จำกวำดเสร็จและแหง้ ดแี ลว้ 6. Masking Fluid นำ้ ยำทำกนั น้ำ

กำรร่ำงภำพ ก่อนลงมอื รำ่ งภำพต้องคำนึงถงึ เรอื่ งหลักเกณฑข์ ององคป์ ระกอบศลิ ป์ คอื 1. จุดสนใจ คือ สิง่ ท่กี ำหนดใหเ้ ปน็ ตวั สำคญั ท่ที ำให้ผ้เู หน็ เป็นสิ่งแรกเม่อื มองเหน็ ภำพ 2. ควำมสมดุล คอื ควำมพอดี ควำมลงตัวในภำพ 3. เอกภำพ คอื ควำมเปน็ หน่งึ เดยี วในภำพ เทคนิคกำรใช้สีน้ำ 1. วิธีเปยี กซอ้ นปยี ก 2. วธิ ีเปียกซอ้ นแหง้ 3. วิธแี ปลงแห้ง

กำรสรำ้ งสรรคง์ ำนประติมำกรรม ประตมิ ำกรรม เป็นงำนศิลปะแบบหนึง่ ทมี่ นุษยส์ รำ้ งสรรค์ข้นึ ดว้ ยควำมรสู้ กึ ประทบั ใจ ซงึ่ เป็นรปู ทรง 3 มิติกินระวำงเน้อื ในอำกำศ ประเภทของงำนประติมำกรรม ประติมำกรรมแบ่งออกตำมรปู ลกั ษณ์ 3 ประเภท ดงั น้ี 1. ประเภทนูนต่ำ คอื กำรรับรู้เฉพำะสว่ นหนำ้ เพยี งดำ้ นเดยี ว 2. ประเภทนนู สงู คือ จะมรี ปู ทรงและมวลปรมิ ำตรควำมนนู สงู ขึน้ มำจำกฐำนรองรบั ทเี่ ปน็ พ้นื หลงั ภำพต้ังแต่ครงึ่ หนำ้ ของรปู จรงิ 3. ประเภทลอยตวั คอื สำมำรถมองเหน็ ไดร้ อบด้ำน

ลักษณะงำนประตมิ ำกรรม แบง่ ออกเป็น 4 ลักษณะ 1. กำรป้นั โดยใชว้ สั ดุท่มี ีเน้ือออ่ น เชน่ ดินเหนียว ดินน้ำมัน 2. กำรแกะสลกั โดยใชว้ ัสดุเนื้อแขง็ เช่น ไม้ หิน งำช้ำง 3. กำรหลอ่ เพอื่ ใหผ้ ลงำนทคี่ งทนถำวร และเพมิ่ จำนวนชิน้ งำนตำมต้องกำร เช่น แมพ่ มิ พต์ ่ำงๆ 4. กำรประกอบข้นึ รปู คอื สร้ำงรปู ในรูปแบบ 3 มิติ กำรสรำ้ งสรรค์งำนภำพพิมพ์ แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภทใหญ่ๆ ดงั นี้ 1. กรรมวิธพี ิมพ์จำกส่วนนนู 2. กรรมวิธีพมิ พ์จำกสว่ นร่องลกึ 3. กรรมวธิ ีพมิ พจ์ ำกสว่ นผิวพืน้ 4. กรรมวิธีพมิ พ์ผำ่ นช่องฉลุ

สกี บั กำรสรำ้ งสรรคง์ ำนทศั นศิลป์ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท สีชนดิ แหง้ ดินสอสี สเี ทยี น สชี อลก์ สีชนดิ เปียก สีน้ำ สีโปสเตอร์ สีนำ้ มนั สีอะครีลิค สฝี นุ่ แหล่งอ้ำงองิ 1. หนงั สอื ในหอสมดุ แหง่ ชำติ และห้องสมดุ ทวั่ ไป 2. https://sites.google.com/site/thasnsilpm4/bth-thi-3 3. https://www.hunkhapit.ac.th/art 4. https://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/016/32.html 5. https://www.artedcenter.com/index.php?lay=show&ac=article&ld=539325477&Ntype=9

หน่วยท่ี 4 ศิลปะกับคอมพิวเตอร์ Computer art หมำยถึง งำนศิลปะอนั เกดิ จำกกำรผลติ ของเคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ น ค.ศ. 1935 อลนั ทรู ง่ิ ได้สรำ้ งจักรกลคำนวณข้นึ เรยี กวำ่ ทรู ง่ิ แมชชีน ซึ่งม่งุ เนน้ กำร คำนวณต่อมำทูริ่งได้พฒั นำเปน็ มำคอมพวิ เตอร์ ACE ภำพศิลปะจำกคอมพิวเตอร์ กำรวำดภำพในปจั จบุ นั น้ีใครๆ ก็สำมำรถวำดได้แล้วโดยไมต่ ้องใชพ้ ูก่ ันจำนสี แตจ่ ะใช้คอมพิวเตอรก์ รำฟกิ แทนภำพทวี่ ำด ในระบบคอมพิวเตอร์กรำฟกิ นี้เรำกำหนดสี แสง รปู แบบลำยเส้นต้องกำรได้โดยง่ำย ภำพยนตร์กำรก์ ำร์ตนู และภำพยนตรป์ ระเภทนิยำยวทิ ยำศำสตร์ หรอื ภำพยนตรท์ ใ่ี ช้เทคนคิ พเิ ศษตำ่ งๆในปัจจบุ ันมีกำรนำคอมพิวเตอรก์ รำฟกิ เข้ำมำชว่ ยในกำรออกแบบและ สรำ้ งภำพเคลอ่ื นไหวมำขึ้น ภำพเคลื่อนไหวจึงมีประโยชนม์ ำกทัง้ ในกำรศึกษำ กำรอบรม กำรวิจยั และกำรจำลองกำรทำงำน กำรแบบกรำฟกิ กรำฟกิ เปน็ สว่ นสำคัญทีม่ บี ทบำทยงิ่ ตอิ กำรออกแบบและกระบวนกำรผลติ ส่ือโดยเฉพำะอยำ่ งยิ่งส่อื ทต่ี อ้ งกำรสมั ผสั รบั รดู้ ว้ ยตำ นักออกแบบจะใช้วิธกี ำรทำงศลิ ปะและวธิ ีกำร ทำงกำรออกแบบรว่ มกันสรำ้ งรูปแบบสอ่ื เพ่ือใหเ้ กดิ ศกั ยภำพสงู สดุ ในกำรทีจ่ ะเปน็ ตวั กลำงในกำรสื่อควำมหมำยระหว่ำงผสู้ ง่ สำรและผรู้ ับสำร ควำมหมำยของกำรออกแบบกรำฟิก เปน็ ลกั ษณะของกำรออกแบบพืน้ ผวิ 2 มติ ิ เพอื่ เปน็ ส่อื กลำงสำหรับกำรถ่ยทอดข้อควำมควำมรู้สกึ คดิ และอำรมณจ์ ำกบุคคลหนึ่งไปยังบคุ คลหน่ึง เพอ่ื ให้เขำ้ ใจและรูเ้ ร่อื งโดย ใช้ประสำทตำในกำรรบั รู้เปน็ ส่วนใหญ่

คณุ คำ่ ของงำนกรำฟกิ 1. เป็นส่ือกลำงในกำรสทอ่ ควำมหมำยใหเ้ กดิ ควำมเขำ้ ใจตรงกนั จำกจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหน่งึ ได้อย่ำงถกู ตอ้ งและชัดเจน 2. สำมำรถทำหนำ้ ทเ่ี ปน็ สอื่ เพอื่ ให้เกดิ กำรเรียน เกิดกำรศึกษำกับกลุ่มเป้ำหมำยได้เปน็ อย่ำงดี 3. ช่วยทำใหเ้ กดิ ควำมนำ่ ใจ ประทบั ใจ และนำ่ เช่ือถือแก่ผู้พยเหน็ 4. ชว่ ยให้เกิดกำรกระตุ้นทำงควำมคดิ และกำรตัดสนิ ใจอยำ่ งรวดเรว็ 5. ก่อใหเ้ กิดควำมคิดสรำ้ งสรรค์ 6. ทำใหผ้ ู้พบเห็นเกดิ กำรเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมท้ังทำงด้ำนกำรกระทำและควำมคดิ ระบบคอมพิวเตอรก์ ับกำรออกแบบงำนกรำฟิก ควำมหมำยและควำมเปน็ มำของคอมพวิ เตอรก์ รำฟิก คอมพิวเตอร์กรำฟกิ (Computer Graphics) หมำยถงึ กำรสรำ้ ง กำรจัดกำร กำรนำข้อมูลมำสรำ้ งเปน็ ภำพ เสน้ กรำฟ แผนภำพ แผนภูมิ หรอื อำจนำ ภำพกรำฟิกจำกสื่ออื่นๆ เชน่ ภำพจำกเครอื่ งสแกน จำกกล้องดจิ ติ อล จำกวีดทิ ศั น์หรอื จำกภำพยนตรม์ ำทำกำรตดั ต่อให้เปน็ ไปตำมตอ้ งกำรหรอื ตกแต่งภำพใหด้ ีขึน้ คอมพวิ เตอร์กรำฟกิ อำจหมำยถึงกำรใช้คอมพวิ เตอร์วำดภำพ โดยใชซ้ อฟต์แวร์ สำหรับวำดภำพ หลักกำรทำงำนและกำรแสดงผลของภำพคอมพิวเตอรก์ รำฟิก ภำพทเี่ กิดบนจอคอมพวิ เตอร์ เกดิ จำกกำรทำงำนของโหมดสี RGB ซึ่งประกอบดว้ ย สแี ดง (Red) สีเขียว (Green) และสนี ำ้ เงิน (Blue) โดยใชห้ ลักยงิ ประจุ ไฟฟ้ำให้เกิดกำรเปลง่ แสงของสที งั้ 3 สมี ำผสมกัน ทำใหเ้ กดิ เป็นจดุ สสี ีเ่ หลย่ี มเลก็ ๆ ทเี่ รยี กว่ำ พกิ เซล (Pixel) ซึ่งมำจำกคำว่ำ Picture กบั Element โดยพกิ เซลจะมี หลำกหลำยสี เม่อื นำมำวำงต่อกันจะเกดิ เป็นรปู ภำพซงึ่ ภำพทใ่ี ช้กบั เครื่องคอมพิวเตอรม์ ี 2 ประเภท คอื แบบ Raster กบั Vector

หลกั กำรของกรำฟกิ แบบ Raster หลักกำรของภำพกรำฟกิ แบบ Raster หรอื แบบ Bitmap เปน็ ภำพกรำฟกิ ทเ่ี กดิ จำกกำรเรยี งตัวกนั ของจดุ เลก็ ๆ หลำกหลำยสี ซ่ึงเรยี กจดุ สเี่ หลีย่ มเลก็ ๆ นว้ี ำ่ พิกเซล (Pixel) ในกำรสรำ้ งภำพกรำฟิกแบบ Raster จะต้องกำหนดจำนวนของพิกเซลให้กับภำพทตี่ อ้ งกำรสรำ้ งถำ้ กำหนดจำนวนพกิ เซลนอ้ ย เมือ่ ขยำยภำพให้มีขนำดภำพ ให้มขี นำดใหญ่ขนึ้ จะทำให้มองเห็นภำพเป็นจดุ เหลย่ี มเล็กๆ หรือถำ้ กำหนดจำนวนพิกเซลมำกกจ็ ะทำใหแ้ ฟม้ ภำพมขี นำดใหญ่ ดงั นั้น กำรกำหนดพิกเซลจงึ ควรกำหนดพกิ เซล ใหเ้ หมำะกับงำนทสี่ รำ้ ง คอื ถ้ำต้องกำรใช้งำนท่ัวไปจะกำหนดจำนวนพกิ เซลประมำณ 100-150 ppi (Pixel/inch) “จำนวนพิกเซลตอ่ 1 ตำรำงนวิ้ ” ถ้ำเป็นงำนท่ีต้องกำร ควำมละเอยี ดน้อยและแฟม้ ภำพมีขนำดเลก็ เชน่ ภำพสำหรับใชก้ ับเว็บไซต์จะกำหนดจำนวนพิกเซลประมำณ 72 ppi และถำ้ เป็นงำนพมิ พ์ เชน่ นิตยสำรโปสเตอรข์ นำดใหญ่ จะกำหนดจำนวนพิกเซลประมำณ 300-350 ppi เปน็ ตน้ หลกั กำรของกรำฟแบบ Vector หลกั กำรของกรำฟิกแบบ Vector เปน็ ภพกรำฟิกที่เกดิ จำกกำรอ้ำงอิงควำมสมั พันธ์ทำงคณิตศำสตรห์ รอื กำรคำนวณ ซง่ึ ภำพจะมีควำมเป็นอสิ ระต่อกนั โดย แยกชิน้ สว่ นของภำพทั้งหมดออกเป็นเสน้ ตรง เสน้ โค้ง รปู ทรง เมอ่ื ภำพกรำฟิกแบบ Vector นยิ มใช้เพ่ืองำนสถำปัตย์ตกแต่งภำยในตำ่ งๆ เชน่ กำรออกแบบอำคำร กำร ออกแบบรถยนต์ กำรสร้ำงโลโก้ กำรสรำ้ งกำรต์ นู เปน็ ต้น หลักกำรใช้สแี ละแสงในคอมพวิ เตอร์ สีที่ใชใ้ นงำนด้ำนกรำฟกิ ทั่วไปมี 4 ระบบ คอื 1. RGB 2. CMYK 3. HSB 4. LAB RGB เป็นระบบสที ีป่ ระกอบด้วยแมส่ ี 3 สีคอื แดง เขยี ว และนำ้ เงิน เมอื่ นำมำผสมกนั ทำใหเ้ กดิ สตี ำ่ งๆ บนจอคอมพิวเตอรม์ ำกถึง 16.7 ลำ้ นสี ซงึ่ ใกล้เคียงกบั สที ่ี ตำเรำมองเห็นปกติ สีที่ไดจ้ ำกกำรผสมสขี ้นึ อยูก่ บั ควำมเขม้ ของสี โดยถำ้ สมี คี วำมเข้มข้นมำก เม่ือนำมำผสมกันจะทำให้เกิดเปน็ สีขำว จึงเรียกระบบสี น้วี ่ำ แบบ Additive หรอื กำรผสมสแี บบบวก

CMYK เปน็ ระบบสีท่ใี ชก้ ับเคร่ืองพมิ พ์ทพ่ี มิ พอ์ อกทำงกระดำษหรอื วสั ดผุ วิ เรยี บอื่นๆ ซึง่ ประกอบด้วยสีหลกั 4 สีคอื สีฟำ้ สีม่วงแดง สเี หลอื ง และสดี ำ ไมด่ ำสนิท เนือ่ งจำกหมึกพิมพม์ ีควำมไมบ่ รสิ ุทธิ์ จงึ เปน็ กำรผสมสีแบบลบ (Subtractive) หลกั กำรเกดิ สขี องระบบน้ี คอื หมึกสหี น่งึ จะดดู กลนื แสงจำกสหี นง่ึ แลว้ สะท้อนกลบั ออกมำเป็น สตี ำ่ งๆ เช่น สีฟำ้ ดูดกลืนแสงสมี ่วงแลว้ สะทอ้ นออกมำเปน็ สีน้ำเงนิ ซึง่ จะสังเกตไดว้ ่ำสที ส่ี ะทอ้ นออกมำเปน็ สหี ลกั ของระบบ RGB กำรเกดิ สใี นระบบนจ้ี ึงตรงข้ำมกับกำรเกดิ สี ในระบบ RGB HSB เป็นระบบสีแบบกำรมองเหน็ ของสำยตำมนษุ ย์ ซง่ึ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คอื Hue คอื สตี ่ำงๆ ทส่ี ะท้อนออกมำจำกวตั ถแุ ลว้ เขำ้ ส่สู ำยตำของเรำ ซ่ึงมกั เรยี กสีตำมชอ่ื สี เช่น สีเขยี ว สแี ดง สเี หลือง เปน็ ต้น Saturation คอื ควำมสดของสีโดยค่ำควำมสดของสจี ะเรม่ิ ท่ี 0 ถงึ 100 ถำ้ กำหนด Saturation ที่ 0 สีจะมคี วำมสดนอ้ ย แต่ถำ้ กำหนดที่ 100 สจี ะมคี วำม สดมำก Brightness คือ ระดับควำมสว่ำงของสี โดยค่ำควำมสวำ่ งของสจี ะเรม่ิ ที่ 0 ถงึ 100 ถ้ำกำหนดที่ 0 ควำมสว่ำงจะนอ้ ยซ่งึ จะเป็นสดี ำ แตถ่ ำ้ กำหนดท่ี 100 สีจะมีควำมสวำ่ ง LAB เป็นระบบสที ไี่ มข่ ึ้นกบั อุปกรณใ์ ดๆ (Device Independent) โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ นคือ “L” หรือ Luminance เป็นกำรกำหนดควำมสว่ำงซงึ่ มคี ำ่ ตัง้ แต่ 0 ถึง 100 ถำ้ กำหนดที่ 0 จะกลำยเป็นสดี ำ แตถ่ ้ำกำหนดที่ 100 จะกลำยเป็นสขี ำว “A” เปน็ คำ่ ของสีท่ไี ลจ่ ำกสเี ขียวไปสีแดง “B” เปน็ ค่ำของสที ไี่ ลจ่ ำกสีน้ำเงินไปสเี หลอื ง องคป์ ระกอบในกำรออกแบบงำนกรำฟิกและสื่อควำมหมำยและควำมเปน็ มำของคอมพวิ เตอรก์ ำรฟกิ องค์ ประกอบอยู่ 2 ส่วน คอื

1. อกั ษรและตัวพิมพ์ ตัวอกั ษรจะทำหน้ำทีเ่ ปน็ สว่ นแจกแจงรำยละเอยี ดของขอ้ มูล สำระท่ตี ้องกำรนำเสนอด้วยรปู แบบและกำรจดั กำรวำงตำแหนง่ อยำ่ งสวยงำม มีควำมชัดเจน กำรออกแบบ กำรเลือกแบบตลอดจนกำรกำหนดรปู แบบของตัวอักษรทจ่ี ะนำมำใชต้ อ้ งมีลักษณะเดน่ อำ่ นง่ำย สวยงำม น่ำสนใจ 2. ภำพและส่วนประกอบตกแตง่ ภำพ ภำพและสว่ นประกอบตกแต่งภำพท่ีตอ้ งกำรเน้นให้เกดิ คุณค่ำทำงควำมงำม ซงึ่ จะทำหนำ้ ทใ่ี นกำรถำ่ ยทอดจนิ ตนำกำรออกมำเป็นรูปแบบและนำเสนอ แนวคิดใหเ้ ปน็ รูปธรรมดำตำมควำมคดิ ของตน เพ่ือตอ้ งกำรใหเ้ กิดประสทิ ธิผลในกำรสอ่ื สำรมำกทส่ี ดุ งำนออกแบบทดี่ คี วรนำภำพมำใชใ้ หเ้ หมำะสมกับโอกำสและหนำ้ ทอ่ี ยำ่ งกลมกลืน คอื 2.1 เม่ือตอ้ งกำรดงึ ดดู ควำมสนใจ 2.2 เมื่อต้องกำรใชป้ ระกอบกำรอธบิ ำยควำมรู้ 2.3 เมื่อต้องกำรคำอธิบำยควำมคดิ รวบยอด 2.4 เมอ่ื ต้องกำรอำ้ งองิ ส่ิงทป่ี รำกฏขึน้ จรงิ 2.5 เมอ่ื ต้องกำรใช้ประกอบข้อมลู ทำงสถติ ิ คุณค่ำและควำมสำคญั ของกำรออกแบบงำนกรำฟิกและส่ือ งำนกรำฟิกที่ดีต้องทำใหเ้ หน็ ถงึ ควำมคดิ ในกำรออกแบบเป็นเลศิ มีคุณคำ่ และควำมสำคัญในตวั เองทีแ่ สดงออกได้ ดังน้ี 1. เปน็ สื่อกลำงในกำรสือ่ ควำมหมำยให้เกดิ ควำมเข้ำใจตรงกัน ถูกต้อง และชัดเจน 2. สำมำรถทำหนำ้ ท่เี ป็นสอ่ื เพอ่ื ให้เกดิ กำรเรยี นรไู้ ดเ้ ปน็ อย่ำงดี 3. ช่วยทำให้งำนเกิดควำมนำ่ สนใจ ประทบั ใจ และนำ่ เช่ือถอื แกผ่ พู้ บเห็น

4. ช่วยใหเ้ กิดกำรกระตุ้นทำงควำมคิดและกำรตัดสนใจไดอ้ ย่ำงไดอ้ ย่ำงรวดเรว็ 5. ช่วยสร้ำงสรรคง์ ำนสญั ลกั ษณท์ ำงสงั คม และพฒั นำระบบกำรสอ่ื สำรใหม้ ีประสทิ ธภิ ำพยิง่ ข้ึน งำนกรำฟิกกับคอมพิวเตอร์ ควำมเจรญิ ก้ำวหนำ้ ทำงเทคโนโลยีในปัจจบุ ันทำให้สำมำรถสรำ้ งคอมพวิ เตอร์รนุ่ ใหมท่ ีม่ ีควำมสำมำรถในดำ้ นกำรคำนวณตัวเลขจำนวนมำกเสรจ็ ส้ินภำยใน เวลำอันสั้นและเกบ็ ขอ้ มูลได้เป็นจำนวนมำก สำมำรถใชต้ ิดต่อสื่อสำรเปน็ เครอื ข่ำยวงกวำ้ งท่ัวโลก นอกจำกนี้รำคำของคอมพิวเตอรก์ ถ็ กู ลงโดยเฉพำะไมโครคอมพวิ เตอร์ ทำ ใหม้ กี ำรใช้งำนแพรห่ ลำยเกือบทกุ วงกำร และเม่ือนำมำใช้งำนกรำฟิกทำให้สำมำรถสรำ้ งงำนกรำฟกิ ไดร้ วดเรว็ มีคณุ ภำพและมีปริมำณมำก งำ่ ยต่อกำรนำไปใช้ งำนกรำฟกิ ทไี่ ด้ ยงั สำมำรถใช้เผยแพร่ไดส้ ะดวกกว้ำงไกลผำ่ นระบบเครอื ข่ำยคอมพวิ เตอร์ ควำมนยิ มใช้คอมพิวเตอรใ์ นงำนกำรฟกิ จงึ เกดิ ขนึ้ อย่ำงแพรห่ ลำยในกิจกรรม ดังนี้ งำนนำเสนอข้อมลู งำนออกแบบ งำนสรำ้ งภำพนำมธรรม คอมพวิ เตอร์ใช้ขอ้ มูล วธิ กี ำรทำงคณิตศำสตร์ และวิธกี ำรสรำ้ งภำพกรำฟกิ สรำ้ งภำพนำมธรรมซงึ่ เปน็ ภำพกรำฟกิ ทไ่ี มม่ ีจริงในธรรมชำติหรือภำพท่ีโดยปกติ มคี วำมยำก หรือเป็นไมไ่ ดท้ ี่จะมองเหน็ หรอื เฝำ้ สังเกตได้ เชน่ ภำพในภำพยนตรท์ ีน่ ักแสดงในปจั จบุ นั ปรำกฏตัวรว่ มกบั บรรดำบุคคลสำคัญของโลกในอดีตหรอื ตวั กำรต์ นู ภำพ หว้ งอวกำศ ภำพกำรเต้นของหัวใจจำกมมุ มองต่ำงๆ ภำพกำรเคลอื่ นไหวของข้อต่อกระดกู ภำพนำมธรรมมปี ระโยชนอ์ ยำ่ งมำกตอ่ งำนบนั เทิง กำรแพทย์ วิทยำศำสตร์ และ งำนอ่ืนๆ ในชวี ิตประจำวนั งำนศลิ ปะ กำรสร้ำงงำนด้ำนศลิ ปะนบั เปน็ สง่ิ สำคัญสำหรบั มนษุ ยช์ ำติ ศิลปนิ สำมำรถใชส้ อ่ื ตำ่ งๆ ในกำรถ่ำยทอดจินตนำกำร อำรมณ์ ควำมรู้สกึ สูผ่ ู้ชมงำนศิลปะน้นั คอมพิวเตอรน์ ับวำ่ เป็นอปุ กรณท์ ี่มปี ระสิทธภิ ำพในกำรสรำ้ งภำพกรำฟิกเพ่ือสอ่ื ควำมหมำย เนื่องจำกมีควำมยืดย่นุ ในกำรนำเสนอไดม้ ำก

งำนสำรวจอวกำศ ในกำรสำรวจอวกำศจำกนอกโลก คอมพิวเตอรใ์ นกำรสำรวจจะบันทกึ ภำพตำ่ งๆ เช่น ดำวองั คำร ดวงจนั ทร์ ดำววีนัส กำแล็กซ่ีต่ำงๆ เป็นข้อมูลทำงดิจิทัล แล้วสง่ กลับมำยงั ฐำนบนโลกซ่ึงจะเปลยี่ นข้อมลู ดิจิทลั มำเปน็ ภำพกรำฟกิ ผู้เชย่ี วชำญทำงกรำฟิกจะวเิ ครำะหภ์ ำพโดยใช้เทคนคิ เพมิ่ คุณภำพของภำพ ซงึ่ จะทำกำรปรบั ภำพ ตำมเงอ่ื นไขของตัวบง่ ช้พี น้ื ผิว งำนพยำกรณอ์ ำกำศ ภำพแผนทอ่ี ำกำศและคำพยำกรณอ์ ำกำศทป่ี รำกฏในข่ำวทำงทวี ีในแต่ละวนั เป็นงำนท่ีเกิดจำกกำรรวบรวมขอ้ มูลควำมกดอำกำศ อณุ หภูมิ ควำมช้ืนสะม พันธ์ ควำมเร็วลม และทศิ ทำงของกรมอตุ ุนยิ มวิทยำจำกหลำยพนื้ ที่ โดยใช้ข้อมูลจำกกำรมองเหน็ ภำพสำรวจผำ่ นทำงดำวเทียม สญั ญำณจำกเรดำร์ เครอ่ื งวดั ภำคพ้ืนดิน เคร่ืองมอื วัดจำกบลั ลนู อำกำศแลว้ ป้อนเขำ้ สรู่ ะบบเครอื ข่ำยคอมพิวเตอรท์ ี่แหลง่ เกบ็ ข้อมลู นัน้ ๆ จำกนั้นขอ้ มลู จำนวนมำกมำยนี้จะถกู สง่ ต่อมำประมวลผลดว้ ยคอมพิวเตอร์ กรมอตุ ุนิยมวิทยำ กรงุ เทพฯ ซง่ึ จะทำกำรคำนวณด้วยควำมเรว็ สูงเพ่ือจำลองสภำพของอำกำส ผลทไ่ี ด้จะเปน็ ภำพกรำฟกิ ที่เปน็ ภำพแผนท่ีอำกำศและข้อมลู สำหรบั พยำกรณ์ อำกำศ งำนกีฬำ ในสนำมกีฬำหลำยแห่งจะมกี ระดำษอิเลก็ ทรอนกิ สท์ ค่ี วบคมุ ด้วยระบบคอมพวิ เตอรส์ ำหรบั ใหข้ อ้ มูลและสรำ้ งควำมสนุกสนำนให้กับผชู้ มโดยกำรแสดง ภำพกรำฟิก เช่น สถิตแิ ละคะแนนกำรแขง่ ขนั ย้อนภำพกำรแขง่ ขัน แสดงภำพเคลื่อนไหว แสดงควำมยนิ ดแี ละเป็นกำลังใจในกำรวิเครำะหข์ อ้ มลู เพื่อเพมิ่ ขีดควำมสำมำรถ ของนกั กฬี ำ ผ้คู วบคุมกำรฝกึ สอนกฬี ำสำมำรถใช้โปรแกรมทำงกรำฟกิ เช่น กำรนำภำพกำรเคลอื่ นไหวรำ่ งกำยของนักกฬี ำขณะวิ่งเก็บบันทกึ ไว้ในคอมพิวเตอร์ โดยใชเ้ ครือ่ ง กรำดตรวจพิเศษหรอื ดจิ ิไทเซอร์ แล้วสรำ้ งโครงรำ่ งกำยขณะเคล่อื นไหวเปน็ ภำพกรำฟิก รูปแบบทีส่ ร้ำงข้ึนน้ีสำมำรถนำไปใชใ้ นกำรเปรยี บเทยี บกบั ผลกำรว่ิงของนกั กฬี ำคน อ่ืน ทำใหส้ ำมำรถพฒั นำรปู แบบกำรวงิ่ และวิธกี ำรเพ่ิมขดี ควำมสำมำรถของนกั กฬี ำได้ ประเภทของงำนออกแบบกรำฟิกและส่อื

ประเภทของงำนออกแบบกรำฟิกและสอ่ื 1. งำนกรำฟิกบนสอื่ โฆษณำส่งิ พิมพ์ 1.1 แผ่นป้ำยโฆษณำ (Poster) เป็นสอ่ื ที่มคี วำมสำคญั มำกในวงกำรประชำสัมพนั ธเ์ พรำะแผ่นปำ้ ยโฆษณำสำมำรถเผยแพรไ่ ดส้ ะดวกและกวำ่ งขวำง เข้ำถึง กลมุ่ เป้ำหมำยไดท้ กุ พ้ืนทส่ี ำมำรถสอ่ื สำรกบั ผู้บรโิ ภคได้ทกุ เพศทุกวัยทุกระดับกำรศกึ ษำ มีควำมยืดหยนุ่ ในกำรออกแบบสำมำรถออกแบบกรำฟิกได้อยำ่ งอิสระเพื่อโนม้ น้ำว ควำมรู้สึกไดเ้ ปน็ อยำ่ งดี 1.2 แผน่ พบั (Floders) หมำยถึง สอ่ื โฆษณำทเี่ ป็นสิ่งพิมพป์ ระเภทไดเร็กเมล (Direct Mail) ทผี่ ้ผู ลติ ส่งตรงถงึ ผบู้ รโิ ภค มที ัง้ วธิ กี ำรส่งทำงไปรษณยี ์และแจก ตำมสถำนทต่ี ่ำงๆ ลักษณะเด่นของแผ่นพบั คอื มีขนำดเล็ก หยบิ งำ่ ย ให้ขอ้ มลู รำยละเอียดไดม้ ำกพอสมควร ผูอ้ ่ำน สำมำรถเลอื กเวลำใดอ่ำนก็ไดผ้ อู้ อกแบบมเี ทคนคิ กำร ออกแบบตำมอิสระหลำกหลำย ค่ำใช้จ่ำยในกำรผลติ ตำ่ กวำ่ สง่ิ พมิ พ์ชนดิ อนื่ นอกจำกนี้ยังเปน็ สอื่ ทีถ่ ึงเปำ้ หมำยไดอ้ ย่ำงแทจ้ ริง 1.3 แผ่นปลวิ (Leaflets) หมำยถงึ สิง่ พมิ พเ์ ฉพำะกจิ ท่มี เี นอ้ื หำสำระเรอื่ งใดเพียงเรอ่ื งเดียว ได้แก่ คำแถลง ประกำศ ชีแ้ จง แจ้งควำม โดยข้อควำมเหล่ำนั้น มกั จะเปน็ กำรใหข้ อ้ มูลเพอ่ื แจกจำ่ ยไปยงั กลุ่มเปำ้ หมำยเฉพำะ อำจมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ กำรโฆษณำ หรือเพ่ือกำรเผยแพรป่ ระชำสมั พันธก์ ็ได้ ควำมหมำยของใบปลวิ อีกลกั ษณะ หนึง่ คือ แผน่ กระดำษข้อควำมทีแ่ จกจำ่ ยในลักษณะที่ปกติ ไม่เปดิ เผยเหมอื นใบปลวิ โฆษณำสินค้ำและบรกิ ำรหรอื ประกำศเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนึ่ง ซ่ึงเปน็ กำรจดั ทำโดยหนอ่ ยงำน รำชกำรหรือหน่วยงำนใด 1.4 บัตรเชิญ (Cards) เปน็ ส่ือโฆษณำอีกประเภทหนงึ่ ทมี่ ีบทบำทในกำรโฆษณำประชำสัมพนั ธ์กำรออกแบบกรำฟิกดำ้ นบตั รเชญิ มอี ยำ่ งกวำ้ งขวำง นกั ออกแบบพยำยำมสร้ำงสรรคร์ ปู แบบใหมท่ ่จี ะท้ำทำยใหผ้ ู้ได้รบั เกิดควำมรสู้ ึกอยำกรอู้ ยำกเหน็ อยำกสมั ผสั บัตรเชญิ เรยี กไดว้ ่ำเปน็ ส่ือเฉพำะกจิ ใช้ในกำสตำ่ งๆ ที่สำคญั เชน่ เชญิ เปดิ ร้ำน เปิดกิจกำร เปดิ นทิ รรศกำร กำรแสดงหรอื ใชโ้ ชว์สินค้ำ กำรเสนผิ ลติ ภัณฑ์รุ่นใหม่ ดังน้นั กำรออกแบบ บัตรเชิญจงึ มักจะตอ้ งมคี วำมประณีต สวยงำม มีคณุ คำ่ สูง ในดำ้ นศลิ ปะ เนือ่ งจำกต้องกำรดงึ ดดู ชักจงู ใหเ้ กดิ ควำมรศู้ กึ คลำ้ ยตำม

2. งำนกรำฟกิ บรรจภุ ัณฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์มหี น้ำท่หี ลกั คือ เปน็ ตวั ภำชนะสำหรบั บรรจสุ ินคำ้ มหี ลำกรูปแบบแตกตำ่ งกนั ไปตำมลกั ษณะของสินคำ้ เชน่ หีบ หอ่ กล่อง ขวด ลัง กระปอ๋ ง ฯลฯ บรรจภุ ณั ฑ์จะมขี นำดต่ำงๆ ตำมขนำดท่ีบรรจุภณั ฑ์แบ่งเปน็ กลมุ่ ใหญๆ่ ได้ 3 กลุ่ม คือ 2.1 บรรจภุ ัณฑส์ ำหรบั ค้ำปลีก มักออกแบบสวยงำม สะดวกในกำรใช้สอย น่ำใช้บำงชนดิ จะเน้นควำมสวยงำมเป็นพิเศษ จะมรี ำยละเอียดของสนิ ค้ำบรรจุ อยู่ภำยใน 2.2 บรรจุภณั ฑเ์ พ่อื กำรค้ำส่ง เป็นบรรจุภณั ฑ์ที่ออกแบบสำหรับบรรจสุ ินคำ้ จำนำนมำกๆ กำรกำหนดรำยละเอยี ดจะแตกตำ่ งออกไป 2.3 บรรจุภัณฑเ์ พอ่ื กำรขนสง่ จะเนน้ ในเรื่องควำมสะดวก ควำมปลอดภัย ควำมประหยัดในกำรขนสง่ กำรออกแบบฉลำกของบรรจภุ ัณฑจ์ ะต้องอย่ภู ำยใต้ เงือ่ นไขและข้อกำหนดหลำยอย่ำง นกั ออกแบบมกั จะต้องสรำ้ งภำพลกั ษณ์ของตัวสินคำ้ ให้เกิดควำมนำ่ เชอ่ื ถอื สวยงำม สว่ นกำรออกแบบหบี หอ่ บรรจุภณั ฑก์ ็มจี ดุ ประสงค์ อยำ่ งเดียวกนั กบั ฉลำกสนิ ค้ำ แตม่ จี ดุ เด่นคอื เพ่ือควำมสะดวกในกำรขนสง่ 3. งำนกรำฟกิ บนเครื่องหมำยและสญั ลกั ษณ์ สอื่ ทเี่ ป็นภำพเครอ่ื งหมำยหรอื สญั ลกั ษณ์ เปน็ สอ่ื ทีม่ บี ทบำทอยำ่ งมำกในชวี ติ ประจำวัน ถ้ำเรำมองไปรอบๆ ตวั จะเหน็ ส่อื ทเ่ี ปน็ ภำพเครื่องหมำยหรอื สญั ลักษณ์ปรำกฏอยู่

3.1 ภำพเครอ่ื งหมำยจรำจร 3.2 เคร่อื งหมำยสถำบนั สมำคมและกลมุ่ ต่ำงๆ 3.3 เครือ่ งหมำยบริษทั สินค้ำหรือผลติ ภัณฑ์ 3.4 ภำพเคร่ืองหมำยสถำนท่ี 3.5 ภำพเคร่ืองหมำยกจิ กรรมตำ่ งๆ 3.6 เครอื่ งหมำยท่ีใช้ในกำรออกแบบเขียนแบบ 4. งำนกรำฟิกบนสิ่งพิมพท์ ่วั ไป ประกอบดว้ ยดังนี้ 4.1 กำรออกแบบปกหนงั สอื 4.2 กำรออกแบบจดั หน้ำ 4.3 กำรออกแบบรูปเลม่ คอมพวิ เตอร์กรำฟิกกบั เทคนคิ พิเศษในภำพยนตร์ คอมพิวเตอร์กรำฟิกนอกจำกกำรใชเ้ ป็นเครื่องมอื ในกำรตกแต่ง ตดั ตอ่ ภำพยนตรแ์ ละควบคุมกำรเคลอ่ื นกล้องด้วยวธิ ีนำคอมพิวเตอรไ์ ปใชค้ วบคู่อุปกรณว์ ดั ตำแหนง่ เพลำและกำรหมนุ ของมอเตอรท์ ่ีติดตงั้ บนแท่นกลอ้ ง ทำให้สำมำรถควบคมุ กำรเคลอ่ื นไหวกลอ้ งภำพยนตรใ์ หเ้ ป็นไปอยำ่ งตอ่ เน่อื งและแลดูเปน็ ธรรมชำติ

WEB GUIDE 1. หนงั สอื ในหอสมุดแห่งชำติ และห้องสมุดทว่ั ไป 2. http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/unit3-1.html 3. http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?ul_content_id=366 4. http://student.nu.ac.th/nackie/Instruction/overview.html 5. http://www.punyisa.com/photoshop/graphic4.html 6. http://www.pattani1.go.th.wbi/page1/t50.htm

หน่วยที่ 5 กำรจดั ภำพ ควำมหมำยของกำรจัดภำพ ควำมหมำยของกำรจัดภำพ คอื กำรนำเอำธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มรอบๆตัวมำประกอบกบั กำรทำงจติ วทิ ยำในเร่อื งของกำรรบั รแู้ ละหลกั กำรทำงศิลปะมำผสมผสำนกนั ควำมเปน็ จริงมไิ ดส้ ่วนใดในงำนศลิ ปะทจ่ี ดั ผิดแปลกหรอื ตำ่ งไปจำกธรรมชำติเลยเพยี งแตม่ กี ำรจัดวำงใหมใ่ หมด่ ูดสี วยงำมกว่ำธรรมชำติ กำรจัดภำพ คือ กำรนำทศั นธำตุทไ่ี ดศ้ กึ ษำเรยี นรไู้ ปแลว้ มำจดั ใหเ้ กดิ ภำพ กำรจดั เปน็ สว่ นประกอบมลู ฐำนสำคญั ในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนศิลปะทกุ แขนง องคป์ ระกอบศลิ ป์ในกำรจดั ภำพ แบ่งออกเป็นลกั ษณะใหญ่ๆ ดงั นี้ 1.กำรจดั ภำพลักษณะต้ัง กำรจดั แสดงองค์ประกอบภำพสว่ นใหญเ่ ปน็ แนวตั้งและใหค้ วำมรสู้ ึกแข็งแรง 2.กำรจดั ภำพลักษณะผำ่ น กำรแกไ้ ขภำพจำกกำรจดั ภำพลักษณะตัง้ ใหม้ ลี ักษณะท่ีดนู มุ่ นวลขึ้น 3.กำรจดั ภำพลักษณะนำสำยตำหรอื เบยี่ งสำยตำ จะทำใหเ้ กดิ กำรมองเหน็ ในระยะใกล้-ไกล 4.กำรจัดภำพลกั ษณะกำรซ้ำ จะทำให้เกดิ ควำมเป็นระเบียบ

5.กำรจัดภำพในลักษณะทรงสำมเหลย่ี ม 6.กำรจัดภำพในลกั ษณะวงกลม 7.กำรจัดภำพลักษณะประจำยเป็นรัศมี กำรจดั ภำพของงำนทศั นศลิ ป์ เป็นกำรนำเอำสว่ นประกอบของควำมงำมทัศนศิลปม์ ำจัดเข้ำดว้ ยกนั โดยตดั ทอนหรือเพ่มิ เตมิ เติมใหเ้ หมำะสมกลมกลืนเกิดเน้อื หำ เร่อื งรำว และควำม งำม แสดงถึงเอกลกั ษณะเฉพำะวำ่ เปน็ กลุ่มใด แบง่ ได้เป็น 2 แบบ คอื -กำรจัดภำพแบบประจำชำติ -กำรจดั ภำพแบบสำกล เทคนิคกำรจัดองคป์ ระกอบภำพ กฎสำมส่วน เปน็ วิธกี ำรง่ำยๆที่จะใหภ้ ำพออกมำดูดิ โดยหลีกเลย่ี งกำรวำงตำแหนง่ ของวตั ถุหลักทเี่ รำถำ่ ยไม่ใหอ้ ยู่ตรงจุดกึ่งกลำงภำพ จะทำให้ภำพนั้นแข็งท่อื ไมช่ อน มอง ดงั นน้ั ตำแหนง่ ทเี่ หมำะสมติอกำรวำงวตั ถุ ควรอย่ใู นตำแหน่งทีเ่ กิดจำกจดุ ตดั ของเสน้ ส่ีเส้นตำมทฤษฎกี ฎสำมสว่ น ควำมสมดขุ องภำพ กำรจดั องคป์ ระกอบภำพดว้ ยกำรจัดควำมสมดุลใหก้ ับวัตถหุ รอื สงิ่ ต่ำงๆ ในภำพโดยอำศัยกำรรับรู้ถึง นำ้ หนกั และตำแหน่งของวัตถตุ ่ำงๆทอี่ ยใู่ นภำพนัน้ ๆ โดยอำศัยหลักกำร คำนดดี -คำนงัด โดยมตี ำแหนง่ กึง่ กลำงภำพเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลำงของตวั คำนนำ้ หนกั

กำรรับรู้นำหนกั ของวัตถุจำกคนดู ขณะดภู ำพ วัตถุขนำดใหญ่จะมีน้ำหนักในภำพมำกกว่ำวัตถทุ ม่ี ีขนำดเลก็ แตถ่ ำ้ วัตถทุ ่ีมขี นำดเล็กกว่ำหำกวำงในจุดที่อยู่หำ่ งออกไปจำกจุดกงึ่ กลำงของคำนในตำแหน่งทเี่ หมำะสมกด็ มู พี ลงั และนำ้ หนักได้มำกย่ิงขึ้นกว่ำปกติเพื่อนำถ่วงดลุ กบั วัตถุท่มี ีขนำดใหญ่กวำ่ ที่อยูด่ ำ้ นหน่งึ ของคำน องคป์ ระกอบกำรออกแบบ 1.องค์ประกอบในกำรควำม องค์ประกอบในควำมนึกคิดไม่สำมำรถมองเหน็ ไมม่ ตี วั ตน แตด่ เู หมือนจะคงอยทู่ ั่วไป 2.องคป์ ระกอบท่ีมองเหน็ ได้ จะเปน็ ตวั แทนขององค์ประกอบในควำมนึกคดิ โดยเมอื่ เรำเขยี นจดุ สน้ ระนำบ หรือปริมำตรลงบนกระดำษ เรำจะไม่เพยี งแต่มองเหน็ ควำมกวำ้ งยำวเท่ำน้ัน แต่จะเหน็ ถึงสี และพ้นื ผิว 3.องค์ประกอบทสี่ ัมพันธ์ องคป์ ระกอบตัง้ แตห่ น่งึ องคป์ ระกอบขน้ึ ป จำเปน็ จะตอ้ งควบคมุ กำรจดั วำงโดยคำนึงถึงควำมสมั พันธ์ขององคป์ ระกอบในกำรสรำ้ งควำมสัมพนั ธร์ ะหว่ำงองคป์ ระกอบนี้ ทศิ ทำงและตำแหนง่ กำรจดั วำงสำมำรถรันรไู้ ด้ 4.องคป์ ระกอบทีน่ ำมำใช้ประโยชน์ 4.1งำนท่เี หมือนจรงิ เม่ือรูปรำ่ งในงำนศลิ ปะได้ถำ่ ยทอดมำจำกธรรมชำติหรือโลกทีม่ นุษย์สรำ้ งข้นึ 4.2ควำมหมำย ควำมหมำยของงำนศลิ ปะแต่ละขั้นจะแสดงออกเพอื่ สื่อสำรสำมำรถแนวคิดในกำรออกแบบ 4.3ประโยชน์ใชส้ อย ประโยชนใ์ ช้สอยในกำรออกแบบจะแสดงออกเมือ่ งำนออกแบบน้ันสนองควำมต้องกำรด้ำยกำรใชส้ อยของมนุษย์

รูปแบบของทศั นศิลป์กล ทัศนศลิ ปก์ ลเกิดจำกกำรจดั ภำพแบบสำกลทไ่ี ดผ้ สมผสำนรปู แบบต่ำงๆ เขำ้ ด้วยกันผ่ำนกำรทดลองปรบั ปรุง ดัดแปลง เลอื กสรรจนวิวฒั นำกำรรปู แบบเปน็ ทีน่ ยิ มท่ัวทกุ ชำติ แบ่งรูปแบบออกตำมลกั ษณะของงำนที่สรำ้ งสรรค์ได้ 3 รูปแบบ -รูปแบบรปู ธรรม ศิลปะแบบเหมือนจริงเปน็ ศลิ ปะทไี่ มซ่ ับซ้อนมีเน้ือหำสำระทป่ี รำกฎเดน่ ชดั แตผ่ ู้สรำ้ งและผชู้ มตอ้ งมคี วำมร้เู รื่องนนั้ ด้วย -รปู แบบกึง่ นำมธรรม เปน็ กำรถ่ำยทอดทอดที่ผิวเบนไปจำกรูปธรรมหรือเหมอื นจรงิ ดว้ ยกำรตัดทอนรปู ทรงจำกของจริงให้เรียบง่ำยแตย่ งั มีเคำ้ โครงเดมิ อยู่ สำมำรถดูร้วู ่ำเปน็ ภำพอะไร -รปู แบบนำมธรรม เป็นศลิ ปะประเภททไี่ มม่ คี วำมจรงิ เหมืออยู่ เพรำะถูกตัดทอนใหเ้ หลอื แค่เส้น สี นำ้ หนกั ที่กอ่ ใหเ้ กิดควำมงำนตำมอำรมณค์ วำมรสู้ ึก เปน็ ส่ิงทีเ่ หนอื ควำมเป็นจริงตอ้ งใชจ้ นิ ตนำกำรในกำรรับรู้ชม คุณคำ่ ของงำนทศั นศลิ ป์ ทัศนศิลป์เป็นศลิ ปะทีร่ บั รไู้ ดด้ ว้ ยตำ กำรรบั รูท้ ำงกำรมองเหน็ ในแขนงจิตรกรรมประตมิ ำกรรมและสถำปตั ยกรรม ทำใหเ้ กิดแรงกระต้นและตอบสนองทำง ด้วยจิตใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook