Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore network

network

Published by พิมพ์กมล จันทร์ศร, 2019-03-31 00:29:34

Description: network

Search

Read the Text Version

การสื่อสารขอมลู และ ระบบเครือขา ยคอมพิวเตอร เอกสารประกอบการเรียนวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศพ้นื ฐาน(ง40101) สาขาวิชาคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยี โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ http://www.hatyaiwit.ac.th/sysos/photo/wi-fi_flow.jpg 4.1 บทบาทของการสือ่ สารขอ มูลและเครอื ขา ยคอมพิวเตอร 4.2 การสือ่ สารขอ มลู 4.3 สื่อกลางในการสอื่ สารขอมลู 4.4 เครอื ขายคอมพิวเตอร 4.5 โพรโทคอล (Protocol) 4.6 รูปรางเครือขาย (Topology) 4.7 อุปกรณเ ครอื ขาย 4.8 ตวั อยางอุปกรณอ ่นื ๆ ทเี่ ก่ยี วของ

2 4.1 บทบาทของการสอ่ื สารขอมลู และเครอื ขา ยคอมพิวเตอร การติดตอสื่อสารขอมูลสมัยใหมน้ีมีรากฐานมาจากความพยายามในการเช่ือมตอระหวาง คอมพิวเตอรก บั คอมพิวเตอร โดยอาศัยระบบสื่อสารที่มอี ยูแลว เชน โทรศัพท ดังน้นั การส่ือสารขอมูล จึงอยูในขอบเขตท่ีจํากัด ตอมามีการใชคอมพิวเตอรมากข้ึน ความตองการในการติดตอระหวาง เคร่ืองคอมพวิ เตอรห ลายเครอ่ื งในเวลาเดียวกัน ทเ่ี รียก ระบบเครอื ขาย (Network System) ไดร ับการ พัฒนาใหดีขึน้ เปนลําดับ ในตอนเร่ิมตนของยุคส่ือสารเมื่อประมาณ พ.ศ. 2513 – 2515 ความตองการใชคอมพิวเตอร รวมกันมีมากข้ึน แตคอมพิวเตอรยังมีราคาสูงมาก เมื่อเทียบกับอุปกรณสื่อสารที่มีอยูแลวบางอยาง การสื่อสารดวยระบบเครือขายในระยะน้ันจึงเนนการใชคอมพิวเตอรขนาดใหญท่ีศูนยคอมพิวเตอร เปน ผูใหบริการโดยผใู ชส ามารถติดตอ ผา นเครอ่ื งปลายทาง เพอ่ื ประหยัดคาใชจา ยของระบบ ตอ มาเมอ่ื ถึงยคุ สมยั ของไมโครคอมพิวเตอร พบวาขีดความสามารถในดานความเร็วของการ ทาํ งานของคอมพวิ เตอรขนาดใหญ มีความเร็วมากกวาไมโครคอมพิวเตอรประมาณ 10 เทา แตราคา แพงกวาหลายพันเทา ทําใหการใชไมโครคอมพิวเตอรแพรหลายและกระจายออกไป การสื่อสารจึง กลายเปนระบบเครือขายท่ีเช่ือมโยงระหวางคอมพิวเตอรหลายๆ เครื่องแทนที่จะเปนคอมพิวเตอร ขนาดใหญกบั เครอื่ งปลายทางแบบกระจาย ลักษณะของเครือขายจึงเร่ิมจากจุดเล็กๆ อาจจะอยูบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสเดียวกัน ขยายตัวใหญข้ึนเปนทั้งระบบท่ีทํางานรวมกันในหองทํางานในตึก ระหวางตึก ระหวางสถาบัน ระหวา งเมือง ระหวา งประเทศ รปู ที่ 1 การติดตอสอ่ื สารที่กระจายไปทัว่ โลกในยคุ สารสนเทศ แหลงทม่ี า http://203.154.140.4/ebook/files/image7/network1.jpg

3 ขอมลู ในรปู ของสัญญาณอิเล็กทรอนิกสที่เก็บในคอมพิวเตอรสามารถสงตอ คัดลอก จัดพิมพ ทําสําเนาไดงาย เมื่อเทียบกับการคัดลอกดวยมือซึ่งตองใชเวลามากและเส่ียงตอการทําขอมูล ผิดพลาดอีกดวย วิธกี ารทางดา นการส่ือสารขอมูล กําลังไดรับการนํามาประยุกตใชในระบบสํานักงาน ที่เรียกวา ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation) ระบบดังกลาวนี้มักเรียกยอกันสั้นๆ วา โอ เอ (OA) เปน ระบบทใ่ี ชโ ปรแกรมคอมพวิ เตอรมาชวยในการทาํ งานท่ีเก่ียวกับเอกสารทั่วไป แลวสงไป ยังหนวยงานตาง ๆ ดวยไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เพ่ือโอนยายแลกเปล่ียนขอมูลที่เก็บรวบรวมไว ระหวางแผนกซ่ึงอาจตั้งอยูภายในอาคารเดียวกันหรือไกลกันคนละเมืองก็ได โดยการสงขอมูล ขาวสารเชนนี้ตองเกี่ยวของกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสหลายประเภทที่สามารถผนวกเขาหากันเปน ระบบเดียวได อุปกรณเหลานั้นอาจเปนโทรศัพท โทรสาร คอมพิวเตอร เครื่องพิมพ หรืออุปกรณ เครอื ขา ยซึง่ นกั เรียนจะไดเรียนตอไป บทบาทที่สําคัญอีกบทบาทหนึ่ง คือการใหบริการขอมูล หลายประเทศจัดใหมีฐานขอมูลไว บริการ เชน ฐานขอมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ฐานขอมูลงานวิจัย ฐานขอมูลทางเศรษฐกิจ ฐานขอมูล ของสินคาเคร่ืองอุปโภคบริโภค ในมหาวิทยาลัยอาจมีขอมูลเกี่ยวกับหนังสือและตําราวิชาการ หาก ผูใชตองการขอมูลใดก็สามารถติดตอมายังศูนยบริการขอมูลนั้น การติดตอจะผานเครือขาย คอมพวิ เตอร ทาํ ใหการไดรับขอมลู เปนไปอยางรวดเร็ว ประโยชนข องเครอื ขายคอมพิวเตอร 1) การจดั เกบ็ ขอ มูลไดง ายและสือ่ สารไดรวดเรว็ การจัดเก็บขอมูลซึ่งอยูในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส สามารถจัดเก็บไวใน แผนบันทึกท่ีมีความหนาแนนสูง แผนบันทึกแผนหนึ่งสามารถบันทึกขอมูลไดมากกวา 1 ลาน ตวั อักษร สําหรบั การสื่อสารขอมลู น้ัน ถา ขอมูลผานสายโทรศัพทไดดวยอัตรา 120 ตัวอักษรตอวินาที แลว จะสง ขอ มลู 200 หนา ไดใ นเวลา 40 นาที โดยทไ่ี มตอ งเสียเวลานง่ั ปอ นขอ มูลเหลานน้ั ซํ้าใหมอีก 2) ความถกู ตองของขอมูล โดยปกติมีการสงขอมูลดวยสัญญาณอิเล็กทรอนิกสจากจุดหน่ึงไปยังจุดอื่นดวย ระบบดจิ ิทลั วธิ ีการรบั สงนั้นจะมกี ารตรวจสอบสภาพของขอ มูล หากขอ มูลผดิ พลาดก็จะมกี ารรับรูและ พยายามหาวิธีแกไขใหขอมูลท่ีไดรับมีความถูกตอง โดยอาจใหทําการสงใหม หรือกรณีท่ีผิดพลาดไม มากนกั ฝายผูรบั อาจใชโปรแกรมของตนแกไ ขขอมลู ใหถกู ตองได 3) ความเร็วในการทาํ งาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟาจะเดินทางดวยความเร็วเทาแสง ทําใหการใช คอมพิวเตอรสงขอมูลจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งหรือคนหาขอมูลจากฐานขอมูลขนาดใหญ สามารถทําไดรวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบจะทําใหผูใชสะดวกสบายอยางย่ิง เชน บริษัทสายการ บินทุกแหงสามารถทราบขอมูลของทุกเท่ียวบินไดอยางรวดเร็ว ทําใหการจองที่นั่งของสายการบิน สามารถทําไดท นั ที

4 4) ตน ทนุ ประหยดั การเชื่อมตอคอมพิวเตอรเขาหากันเปนเครือขายเพื่อสงหรือสําเนาขอมูลทําให ราคาตน ทนุ ของการใชขอมลู ประหยดั ขน้ึ เมอ่ื เทียบกบั การจัดสง แบบวธิ ีอน่ื เราสามารถสงขอ มูลใหก ัน และกันผา นทางสายโทรศพั ทไ ด 4.2 การสอ่ื สารขอมลู เม่ือกลาวถึงการติดตอส่ือสารในอดีตอาจหมายถึงการพูดคุยกันของมนุษยซ่ึงอาจเปนการ แสดงออกดวยทา ทาง การใชภาษาพดู หรือผานทางตวั อกั ษร โดยเปน การส่ือสารในระยะใกลๆ ตอมา เทคโนโลยีกาวหนาไดมีการพัฒนาการส่ือสารเขากับการใชงานอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ทําใหสามารถ ส่ือสารไดในระยะไกลขึน้ และสะดวกรวดเรว็ มากข้นึ เชน การใชโทรเลข โทรศพั ท โทรสาร เปน ตน อุปกรณท่ีใชในการส่ือสารเองก็ไดรับการพัฒนาความสามารถขึ้นมาเปนลําดับ และเขามามี บทบาททุกวงการ ดังน้ันยุคสารสนเทศนี้การส่ือสารขอมูลจึงหมายถึง การแลกเปล่ียนขอมูลขาวสาร ซ่ึงอาจอยูในรูปของตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียงหรือวีดีทัศนระหวางอุปกรณสื่อสาร โดยผานทาง สอื่ กลางในการส่อื สารซึ่งอาจเปน สอื่ กลางประเภทท่ีมีสายหรือไรสายก็ได องคประกอบหลักของระบบส่ือสารขอมูลมีอยู 5 อยาง ไดแก ผูสง(sender) ผูรับ (receiver) ขาวสาร(message) สอ่ื กลาง(media) และโพรโทคอล(protocol) โพรโทคอล โพรโทคอล สอื่ กลาง ผรู บั ผสู ง ขา วสาร รปู ท่ี 2 องคประกอบของการส่ือสารขอมลู

5 4.2.1 วธิ ีการถา ยโอนขอมูล การถา ยโอนขอ มูล คือการสง สญั ญาณออกจากเครื่องและรบั สญั ญาณเขา ไปใน เครอ่ื ง สามารถจาํ แนกได 2 แบบคอื 1) การถายโอนขอ มลู แบบขนาน การถายโอนขอมูลแบบขนาน คือการสง ขอมูลครั้งละหลายๆ บิตพรอมกันไปจากอุปกรณ สงไปยังอุปกรณรับ ตัวกลางระหวางสองเคร่ืองจึง ตองมีชองทางใหขอมูลเดินทางหลายๆ ชองทาง โดยมากจะเปนสายนําสัญญาณหลายๆ เสน โดย จํานวนสายสงจะตองเทากับจํานวนบิตที่ตองการสง แตละคร้ัง วิธีนี้นิยมใชกับการสงขอมูลระยะทางใกล และปกติความยาวของสายไมควรยาวมากเกินไป รูปที่ 3 สาย IDE เปนสายท่ีใชใ นการถา ยโอนขอมูลภายใน เพราะอาจทําใหเกิดปญหาสัญญาณสูญหายไปกับ เครือ่ งคอมพวิ เตอร ซึ่งเปน การถายโอนขอมลู แบบขนาน ความตา นทานของสาย รูปท่ี 4 การถา ยโอนขอมูลแบบขนาน 2) การถายโอนขอ มูลแบบอนกุ รม การถา ยโอนขอ มูลแบบอนกุ รม เปนการสงขอ มูลครง้ั ละ 1 บิต ไปบน สญั ญาณจนครบจํานวนขอมูลท่ีมอี ยู สามารถนาํ ไปใชกับสือ่ นาํ ขอมลู ทีม่ ีเพยี ง 1 ชอ งสญั ญาณได ส่อื นําขอ มลู ที่มี 1 ชองสญั ญาณนจ้ี ะมีราคาถูกกวา สือ่ นําขอ มลู ทม่ี ีหลายชองสญั ญาณ และเน่ืองจากการ ส่อื สารแบบอนกุ รมมีการสงขอ มูลไดครั้งละ 1 บิตเทานั้น การสง ขอมูลประเภทน้ีจงึ ชา กวาการสง ขอ มูลคร้งั ละหลายบติ รูปที่ 5 การถายโอนขอ มูลแบบอนุกรม

6 การติดตอแบบแบบอนุกรมแบง ตามรปู แบบการรับ-สงได 3 แบบคือ 1) สอื่ สารทางเดียว (simplex) การสื่อสารทางเดียว (simplex) เปนการติดตอทางเดียว เม่ืออุปกรณหน่ึงสงขอมูล อปุ กรณอีกชุดจะตองเปน ฝา ยรบั ขอ มูลเสมอ ตัวอยางการใชงานเชน ในระบบสนามบิน คอมพวิ เตอร แมจะทําหนาที่ติดตามเวลาข้ึนและลงของเครื่องบิน และสงผลไปใหมอนิเตอรที่วางอยูหลาย ๆ จุดให ผูโดยสารไดทราบขาวสาร คอมพิวเตอรแมทําหนาท่ีเปนผูสงขอมูล มอนิเตอรตาง ๆ ทําหนาที่เปน ผูรับขอมูล ไมมีการเปลี่ยนทิศทางของขอมูลเปนการสงขอมูลแบบทางเดียว หรือการสงขอมูลไปยัง เครื่องพมิ พ หรือการกระจายเสยี งของสถานีวทิ ยุ เปน ตน รปู ที่ 6 การสอื่ สารทางเดยี ว 2) สื่อสารสองทางครึง่ อัตรา (half duplex) การสื่อสารสองทางครึ่ง (half duplex) เปนการติดตอกึ่งสองทางมีการเปล่ียน เสนทางในการสงขอมูลได แตคนละเวลากลาวคือ ขอมูลจะไหลไปในทิศทางเดียว ณ เวลาใด ๆ ตัวอยางการใชงานเชน การติดตอระหวาง เทอรมินัลกับคอมพิวเตอรแม ผูใชท่ีเทอรมินัลเคาะ แปนเพื่อสอบถามขอมูลไปยังคอมพิวเตอรแม ตองใชเวลาชั่วขณะคอมพิวเตอรแมจึงจะสงขาวสาร กลับมาทเ่ี ทอรม ินัลน้ัน ไมวา จะเปนเทอรม นิ ลั หรือคอมพิวเตอรแม เมื่ออุปกรณใดอุปกรณหนึ่งเปนผู สงขอ มูล อปุ กรณที่เหลอื ก็จะเปนผรู ับขอมลู ในเวลาขณะน้นั รูปที่ 7 การส่อื สารสองทางคร่ึงอัตรา

7 3) ส่ือสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex) การส่ือสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex) เปนการติดตอสองทาง คือเปนผูรับ ขอมูลและผูสงขอมูลในเวลาเดียวกันได ตัวอยางการใชงานเชน การติดตอระหวางเทอรมินัลกับ คอมพิวเตอรแม บางชนิดที่ไมตองใชเวลารอสามารถโตตอบไดทันที หรือการพูดคุยทาง โทรศพั ท เปนตน รูปที่ 8 การสอื่ สารสองทางเต็มอตั รา 4.3 สอ่ื กลางในการสือ่ สารขอ มูล ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เปนสวนท่ีทําใหเกิด y แบนดว ิดท (Bandwidth) การเชอื่ มตอ ระหวา งอปุ กรณตางๆ เขาดว ยกนั และอุปกรณ นี้ยอมใหขาวสารขอมูลเดินทางผานจากผูสงไปสูผูรับ คือแถบความถีข่ องชองสญั ญาณ ซึง่ ส่ือกลางที่ใชในการสื่อสารขอมูลมีอยูหลายประเภท แตละ หากมชี องสัญญาณขนาดใหญ กจ็ ะ ประเภทมีความแตกตางกันในดานของปริมาณขอมูลที่ สงผลใหภ ายในหนวยเวลาจะสามารถ สื่อกลางนั้นๆ สามารถนําผานไปไดในเวลาขณะใด เคลอ่ื นยายปริมาณขอมูลไดจ ํานวน ขณะหนึ่งซึ่งข้ึนอยูกับแบนดวิดท (Bandwidth) ของส่ือ มากขน้ึ ประเภทนน้ั ๆ ลักษณะของตัวกลางตา งๆ มีดังตอ ไปนี้

8 4.3.1 สอ่ื กลางประเภทมีสาย 1) สายคูบ ิดเกลียว (Twisted pair Cable) สายคูบิดเกลียว ประกอบดวยสายทองแดง 2 เสน แตละเสนมีฉนวนหุมพันกัน เปนเกลียวสามารถลดการรบกวนจากสนามแมเหล็กไฟฟาได แตไมสามารถปองกันการสูญเสีย พลังงานจากการแผรังสีความรอน ในขณะที่มีสัญญาณสงผานสายสายคูบิดเกลียว 1 คู จะแทน การสื่อสารได 1 ชองทางส่ือสาร (Channel) ในการใชงานจริง เชนสายโทรศัพทจะเปนสายรวมท่ี ประกอบดวยสายคูบิดเกลียว อยูภายในเปนรอย ๆ คู สายคูบิดเกลียว 1 คู จะมีขนาด ประมาณ 0.016-0.036 น้วิ y แนวคดิ : การนําสายมาถักเปนเกลียวมีเหตุผลสําคัญ คือ ชวยลดการแทรกแซงจากสัญญาณ รบกวน รปู ท่ี 9 สายคบู ิดเกลยี ว ท่มี า www.worldofcables.com สายคูบิดเกลียว สามารถใชไดท้ังการสงสัญญาณขอมูลแบบอนาล็อกและแบบ ดิจิตอล เนื่องจากสายคูบิดเกลียว จะมีการสูญเสียสัญญาณขณะสงสัญญาณจึงจําเปนตองมี \"เครื่อง ขยาย\" (Amplifier) สัญญาณ สําหรบั การสงสญั ญาณขอมูลแบบอนาลอ็ ก ในระยะทางไกล ๆ หรือทุก 5-6 กม. สวนการสงสัญญาณขอมูลแบบดิจิตอลตองมี \"เครื่องทบทวน\" (Repeater) สัญญาณทุก ๆ ระยะ 2-3 กม. เพราะวา แตละคูของสายคูบิดเกลยี ว จะแทนการทาํ งาน 1 ชองทาง สายประเภทน้ี มดี ว ยกนั 2 ชนดิ คอื ก) สายคูบิดเกลียวชนิดหุมฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เปน สายคูบิดเกลียวท่ีหุมดวยลวดถัดชั้นนอกที่หนาอีกช้ันดังรูปท่ี 10 เพื่อปองกันการรบกวนของคลื่น แมเ หลก็ ไฟฟา ข) สายคูบิดเกลียวชนิดไมหุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เปนสายคูบิดเกลียวมีฉนวนช้ันนอกท่ีบางอีกชั้นดังรูปท่ี 11 ทําใหสะดวกในการโคงงอ แตสามารถ ปองกันการรบกวนของคล่ืนแมเหล็กไฟฟาไดนอยกวาชนิดแรก แตก็มีราคาตํ่า จึงนิยมใชในการ เช่อื มตออปุ กรณใ นเครือขาย ตัวอยา งสายคูบดิ เกลยี วชนิดนี้ เชน สายโทรศัพทท ่ีใชอยตู ามบา น

9 รปู ท่ี 10 สายคูบดิ เกลยี วชนิดหุมฉนวน รูปที่ 11 สายคบู ดิ เกลยี วชนิดไมหุม ฉนวน ตารางที่ 1 แสดงคุณลักษณะของสาย UTP ในแตละชนดิ ระยะทาง ขอดี ขอ เสยี สงู สุด ชนดิ การนาํ ไปใช ลกั ษณะ แบนดวิดท อัตราการสง ราคาถูกมากและงา ย ความปลอดภยั สาย สัญญาณ (Bandwidth) ขอ มลู 3 - 4 ไมล UTP (Data Rate) 3 - 4 ไมล 100 เมตร CAT 1 สายโทรศัพท Analog/Digital Very low < 100 Kbps 100 เมตร 100 เมตร 100 เมตร ตอ การตดิ ตงั้ และสัญญาณ 100 เมตร 100 เมตร รบกวน CAT 2 T-1, ISDN Digital < 2 MHz 2 Mbps เชน เดยี วกับ CAT 1 ความปลอดภัย และสัญญาณ รบกวน CAT 3 LANs Digital 16 MHz 10 Mbps เชน เดยี วกับ CAT 1 ความปลอดภัย แตมสี ญั ญาณรบกวน และสัญญาณ นอ ยกวา รบกวน CAT 4 LANs Digital 20 MHz 20 Mbps เชนเดยี วกับ CAT 1 ความปลอดภยั แตมสี ัญญาณรบกวน และสญั ญาณ นอ ยกวา รบกวน CAT 5 LANs Digital 100 MHz 100 Mbps เชน เดยี วกับ CAT 1 ความปลอดภัย แตมีสญั ญาณรบกวน และสญั ญาณ นอ ยกวา รบกวน CAT 5e LANs Digital 100 MHz 100 Mbps เปน สายทม่ี ี ความปลอดภัย CAT 6 LANs 1000 Mbps (4 pair) คณุ ภาพสงู กวา CAT และสญั ญาณ Digital 200 MHz 1000 Mbps 5 รบกวน อยูในชวงของการราง ความปลอดภัย มาตรฐาน และสญั ญาณ รบกวน CAT 7 LANs Digital 600 MHz 10 Gbps อยใู นชว งของการราง ความปลอดภัย มาตรฐาน และสญั ญาณ รบกวน

10 หัวเชื่อมตอ (Modular Plugs) สายคูบิดเกลียวจะใชหัวเช่ือมตอแบบ RJ-45 ซ่ึงจะมีลักษณะคลายกับหัวเช่ือมตอแบบ RJ-11ที่เปนหัวที่ใชกับสายโทรศัพทท่ัว ๆ ไป ขอแตกตาง ระหวา งหัวเช่ือมตอ สองประเภทน้ีคือ หัว RJ-45 จะมีขนาดใหญกวาเล็กนอยและไมสามารถเสียบเขา กับปลั๊กโทรศัพทได และหัว RJ-45 จะเช่ือมสายคูบิดเกลียว 4 คู ในขณะท่ีหัว RJ-11 ใชไดกับสาย เพยี ง 2 คเู ทาน้ัน ดังรูปท่ี 12 จะแสดงสาย UTP และหวั เช่ือมตอแบบ RJ-45 รูปที่ 12 หวั เชื่อมตอ RJ-45 สําหรับสายรนุ CAT 5e ตารางที่ 2 เปรยี บเทยี บขอ ดแี ละขอ เสียของสายคบู ิดเกลยี ว ขอดี ขอเสยี 1. ราคาถกู 1. ความเร็วในการสง ขอ มลู ตาํ่ เม่ือเทียบกับสอ่ื ประเภทอ่นื 2. งายตอ การนาํ ไปใชง าน 2. ใชไ ดในระยะทางสั้นๆ 3. ในกรณีเปน สายแบบไมม ชี ีลดป อ งกนั สัญญาณรบกวน จะไวตอ สญั ญาณสญั ญาณรบกวน (Noise) ภายนอก

11 การเขาหัว RJ-45 สําหรับสายคูบิดเกลียว การเขาสาย Through เชนจาก hub ไปยัง computer หรอื จาก router ไปยงั hub ใหเช่อื มตอแบบ EIA/TIA 568B ทัง้ สองขา ง และการเขาสายแบบ Cross เชนจาก hub ไปยัง hub จาก computer ไปยัง computer จาก router ไปยงั computer ใหเ ขาสายโดยขา งหนง่ึ เปนแบบ EIA/TIA 568B และอีกขางเปน EIA/TIA 568A ดัง ตารางตอ ไปนี้ ตารางท่ี 3 การเขา หวั RJ-45 แบบ EIA/TIA 568A CABLE (CAT 5) RJ-45 Pair No. Color Pin Symbol Pair 3 ขาว (คูข องเขียว) 1 TD+ 2 TD- Pair 3 เขียว 3 RX+ 4 Not Assigned Pair 2 ขาว (คขู องสม ) 5 Not Assigned 6 RX- Pair 1 ฟา 7 Not Assigned 8 Not Assigned Pair 1 ขาว (คูของฟา) Pair 2 สม Pair 4 ขาว (คูของน้ําตาล) Pair 4 น้ําตาล ตารางที่ 4 การเขา หัว RJ-45 แบบ EIA/TIA 568B CABLE (CAT 5) RJ-45 Pair No. Color Pin Symbol Pair 2 ขาว (คขู องสม) 1 TD+ 2 TD- Pair 2 สม 3 RX+ 4 Not Assigned Pair 3 ขาว (คขู องเขยี ว) 5 Not Assigned 6 RX- Pair 1 ฟา 7 Not Assigned 8 Not Assigned Pair 1 ขาว (คขู องฟา) Pair 3 เขยี ว Pair 4 ขาว (คูของนํา้ ตาล) Pair 4 น้าํ ตาล

12 2) สายโคแอกเชยี ล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สวนใหญจะเรียกสั้น ๆ วาสายโคแอก (Coax) จะมีตัวนําไฟฟาอยูสองสวน คําวา โคแอก มีความหมายวา \"มีแกนรวมกัน\" ซ่ึงชื่อก็บอก ความหมายวาตัวนําท้ังสองตัวมีแกนรวมกันนั่นเอง โครงสรางของสายโคแอกประกอบดวยสาย ทองแดงเปน แกนกลาง แลวหอ หมุ ดวยวัสดุท่ีเปนฉนวน ชั้นตอมาจะเปนตัวนําไฟฟาอีกช้ันหน่ึง ซ่ึงจะ เปนแผนโลหะบาง ๆ หรืออาจจะเปนใยโลหะท่ีถักเปยปุมอีกช้ันหนึ่ง สุดทายก็หุมดวยฉนวนและวัสดุ ปองกันสายสัญญาณ ลวดทองแดงท่ีถักเปนเปยน้ีเปนสวนหน่ึงที่ทําใหสายแบบนี้มีชวงความถี่ สัญญาณไฟฟาสามารถผานไดสูงมากและนิยมใชเปนชองส่ือสารสัญญาณแอนะล็อกเช่ือมโยงผานใต ทะเลและใตด ิน ฉนวนหุม ดา นนอก ตัวนาํ ทาํ ดวย ฉนวนหมุ ดา นใน รปู ที่ 13 สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียลแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 1. สายโคแอกเชียลแบบบาง (Thin Coaxial cable) - ขนาด ∅ 0.64 cm. - ขนาดเลก็ มคี วามยืดหยนุ สูง - นาํ สญั ญาณไดไกลประมาณ 186 m. - ใชเ ชื่อมตอกับ Computer โดยใชมาตรฐาน Ethernet รปู ท่ี 14 ขอ ตอ BNT-T รปู ที่ 15 หัวตอสายโคแอกเชยี ล รูปที่ 16 สายโคแอกเชียลแบบบาง

13 y มาตรฐาน Ethernet • ใช Topology แบบ BUS • Bandwidth 10 Mbps • เชอื่ มตอ Computer ตอ ๆ กนั โดยใชหวั ตอ สาย ขอ ตอ BNT Terminator ปด ปลายสาย โดยไมต องใช Hub 2. สายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Coaxial cable) - ขนาด ∅ 1.27 cm. - ขนาดใหญแ ละแขง็ แรงกวา - สงขอ มลู ไดไกล 500 m. - Network ระยะแรก ใชเปน Backbone แตป จ จบุ ันใช Fiber cable รูปที่ 17 สายโคแอกเชียลแบบหนา สายโคแอกเชียลสามารถถา ยทอดสัญญาณได 2 แบบ คอื 1. บรอดแบนด (Broadband Transmission) 2. เบสแบนด (Baseband Transmission) - แบง สายสญั ญาณออกเปนชองสญั ญาณ - มีเพยี งชอ งสญั ญาณเดยี ว ขนาดเล็กจํานวนมาก ใชในการสง - มคี วามกวา งของชอ งสญั ญาณมาก สญั ญาณ โดยจะมชี อ งสญั ญาณกันชน - การสง สัญญาณเปนแบบ Half- (Guard Band) ปอ งกันการรบกวนกัน duplex - แตละชอ งสัญญาณสามารถรบั -สง ขอ มลู - ใชในระบบ LAN สง สัญญาณแบบ Digital ไดพ รอ มกนั - อปุ กรณมคี วามซับซอนนอ ยกวา - สัญญาณ Analog - ใชใ นการสงสญั ญาณโทรทัศนไดห ลาย แบบแรก รอ ยชอ ง - ตวั อยา ง Cable TV

14 ตารางท่ี 5 แสดงคุณลกั ษณะของสายโคแอกเชียลในแตล ะชนดิ ชนดิ ของสาย ลกั ษณะสาย / การนําไปใชง าน RG-8 สายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Ethernet) RG-58 สายโคแอกเชยี ลแบบบาง (Thin Ethernet) RG-62 นยิ มใชบนเครอื ขา ยทองถ่นิ ทเ่ี รยี กวา ARCNet RG-59 เปนสายทใี่ ชก ับเคร่ืองโทรทัศน ตารางท่ี 6 เปรยี บเทียบขอดีและขอ เสยี ของสายโคแอกเชียล ขอดี ขอเสยี 1.เช่อื มตอไดในระยะทางไกล (500 เมตร) 1. ราคาแพง 2.ลดสญั ญาณรบกวนจากภายนอกไดด ี 2. สายมขี นาดใหญ 3.ปองกันการสะทอ นกลบั (Echo) ไดด ี 3. ตดิ ตงั้ Connector ยาก 3) เสน ใยนําแสง (Fiber Optic Cable) เสนใยนําแสง (Fiber Optic Cable) มีแกนกลางของสายซึ่งประกอบดวยเสนใย แกว หรอื พลาสตกิ ขนาดเล็กหลายๆ เสนอยูรวมกัน เสนใยแตละเสนมีขนาดเล็กเทาเสนผมและภายใน กลวง และเสนใยเหลาน้ันไดรับการหอหุมดวยเสนใยอีกชนิดหนึ่งกอนจะหุมช้ันนอกสุดดวยฉนวน การสงขอมูลผานทางส่ือกลางชนิดนี้จะแตกตางจากชนิดอ่ืนๆ ซึ่งใชสัญญาณไฟฟาในการสง แตการ ทํางานของส่ือกลางชนิดนี้จะใชเลเซอรว่ิงผานชองกลวงของเสนใยแตละเสนและอาศัยหลักการหักเห ของแสงโดยใชใยแกวชั้นนอกเปนกระจกสะทอนแสง การใหแสงเคลื่อนท่ีไปในทอแกวสามารถสง ขอมูลดวยอักตราความหนาแนนของสัญญาณขอมูลสูงมาก และไมมีการกอกวนของคล่ืน แมเหลก็ ไฟฟา และเนอื่ งจากความสามารถในการสงขอมูลทั้งตัวอักษร เสียง ภาพ หรือวีดีทัศนไดใน เวลาเดียวกนั อกี ทัง้ มีความปลอดภยั ในการสง สงู รปู ที่ 18 สายเสนใยนาํ แสง

15 ตารางท่ี 7 เปรยี บเทยี บขอ ดีและขอ เสียของสายเสน ใยนําแสง ขอ ดี ขอเสีย 1. สงขอมูลปริมาณมากดวยความเรว็ สงู 1. เสนใยแกวมีความเปราะบาง แตกหัก (Bandwidth มาก) งาย 2. สง ไดระยะทางไกล สญั ญาณออ นกาํ ลงั ยาก 2. การเดินสายจาํ เปน ตองระมัดระวงั อยา 3. ไมม กี ารรบกวนจากคล่นื แมเหลก็ ไฟฟา มี ใหม คี วามโคงงอมาก ขอ ผิดพลาดนอ ย 3. คา ใชจ า ยสูง เมอ่ื เทียบกบั สายท่ัวไป 4. การตดิ ตั้งจาํ เปนตองพงึ่ พาผูเ ช่ียวชาญ 4. มคี วามปลอดภัยสงู 5. ขนาดเลก็ นํา้ หนักเบา เฉพาะ 6. มคี วามทนทาน สามารถติดตัง้ ในที่ท่มี ี อณุ หภมู ิสูงหรอื ต่าํ มากได 7. คาใชจ า ยจะถูกกวาสายทองแดง ถา ใชง าน ในระยะทางไกล y ขอ สงั เกต : สัญญาณไฟฟาท่ีสงผานตามสายลวดทองแดง มักจะเกิดปญหาในเร่ืองของความตานทางบน ตัวนํา ทําใหเกิดอัตราลดทอนของขอมูลสูงในกรณีสงสัญญาณไปในระยะทางไกลๆ ดังน้ัน จาํ เปน ตองมีอปุ กรณท วนสัญญาณเพื่อยืดระยะทางสงตอออกไปไดอีก ในขณะที่สัญญาณแสงที่ สงผา นบนตวั นาํ เสนใยแกวนําแสงของสายเสนใยนําแสงน้ัน จะไมมีความตานทานใดๆ จึงทําให สายเสน ใยนาํ แสงสามารถสงขอ มลู ในระยะทางไกลๆ ไดด ี 4.3.2 สื่อกลางประเภทไรสาย สาํ หรับการสอื่ สารแบบไรสาย การรับสง ขอ มลู โดยท่ัวไปจะผานอากาศ ซึ่งภายในอากาศ นัน้ จะมพี ลงั งานคล่ืนแมเ หล็กไฟฟา แพรกระจายอยูท่ัวไป โดยจะตอ งมีอปุ กรณที่ไวค อยจดั การกบั คลืน่ แมเหลก็ ไฟฟา เหลานน้ั ซง่ึ โดยปกติจะมีอยู 2 ชนดิ คอื 1. แบบ Directional เปนแบบกําหนดทิศทางของสัญญาณ ดวยการโฟกัสคลื่นน้ันๆ ซ่ึง จําเปนตองทําการรับสงดวยความระมัดระวัง โดยจะตองอยูในระนาบเดียวกัน เชน การส่ือสารดวย คลืน่ ไมโครเวฟ อุปกรณรับสง จาํ เปนตอ งส่อื สารกันอยูในระดบั สายตา 2. แบบ Omnidirectional เปนแบบกระจายสัญญาณรอบทิศทาง ซ่ึงสัญญาณที่สงออกไปนั้นจะ กระจายหรือแพรไปทั่วทิศทางในอากาศ ทําใหสามารถรับสงสัญญาณเหลาน้ีไดดวยการต้ังเสาอากาศ เชน วทิ ยุกระจายเสยี ง หรือการแพรภ าพสญั ญาณโทรทศั น

16 สําหรับชวงความถี่อื่นๆ เชน ชวงความถ่ีของแสงอินฟราเรดและคล่ืน ความถ่ีสั้น เหมาะกับการนําไปใชเพื่อการส่ือสารบนพื้นท่ีท่ีจํากัดหรือการสื่อสารระยะใกลๆ เชน ภายในหอง หรือสํานักงาน โดยปกติแสงอินฟราเรดมักนํามาใชกับเคร่ืองวิทยุหรือโทรทัศนที่สามารถ ควบคุมดวยรีโมตคอนโทรล และรวมถึงการนําไปประยุกตใชกับเครือขายทองถ่ินแบบไรสาย ซ่ึง สามารถเช่อื มตอไดท้งั แบบจุดตอจดุ หรอื แบบหลายจุด คล่ืนวทิ ยุ (Radio Frequency : RF) การส่ือสารดวยคล่ืนวิทยุนั้น จะมีคล่ืนความถ่ีที่แตกตางกันตามคล่ืนของชนิดน้ันๆ เชน VLF, VHF, UHF, SHF และ EHF เปนตน ซ่ึงชวงความถี่อยูท่ี 104 ถึง 109 Hz โดยคล่ืนในชวง ดังกลาวสามารถนําไปใชสําหรับการสงขาวสาร และการสื่อสารไรสายได โดยมีการเริ่มตนใชงานกับ คล่ืนวิทยุ AM (Amplitude Modulation) และคลน่ื วทิ ยุ FM (Frequency Modulation) การส่ือสารโดยอาศัยคลื่นวิทยุ จะกระทําโดยการสงคล่ืนไปยังอากาศเพื่อเขาไปยัง เครอื่ งรับวทิ ยุ โดยการใชเทคนคิ การกลํา้ สัญญาณหรอื เรียกวา การมอดูเลต ดวยการรวมกับคล่ืนเสียง ที่เปนคล่ืนไฟฟาความถี่เสียงรวมกัน ทําใหการสื่อสารดวยวิทยุกระจายเสียงน้ันไมจําเปนตองใชสาย อีกทั้งยังสามารถสงคล่ืนไดในระยะทางที่ไกลออกไปไดตามประเภทของคลื่นนั้นๆ รวมถึงเทคนิค วิธีการผสมคล่ืนก็จะใชเทคนิคท่ีแตกตางกัน ดังน้ันเคร่ืองรับวิทยุท่ีใชงานก็จําเปนตองปรับใหตรงกับ คลนื่ ท่สี ง มาดวย อินฟราเรด (Infrared) แสงอินฟราเรดเปนคล่ืนความถี่ส้ันที่มักนําไปใชกับรีโมตคอนโทรลของวิทยุหรือ โทรทัศน เปน แสงทม่ี ที ศิ ทางในระดบั สายตา ซึ่งไมสามารถทะลผุ า นวัตถทุ บึ แสงได แสงอินฟราเรดมักมีการนํามาใชงานบนคอมพิวเตอรโน็ตบุค คอมพิวเตอรมือถือ อุปกรณรอบขางตางๆ เชน เครื่องพิมพ เคร่ืองแฟกซ และรวมถึงกลองดิจิตอล อัตราความเร็วปกติ ในการรับสงขอมูลอยูระหวาง 4 - 16 Mbps และปจจุบันมีการบรรจุชองส่ือสารอินฟราเรด (Infrared Data Association : IrDA) เพ่ือเตรียมไวสําหรับการใชงานส่ือสารแบบไรสายดวยอินฟราเรด เชน เมาส คียบอรด หรือเคร่ืองพิมพ แตอยางไรก็ตามในปจจุบันการส่ือสารไรสายบนระยะหางสั้นๆ นี้ กาํ ลังถูกเทคโนโลยีอยางบลูธูท(Bluetooth) เขามาแทนท่ี บลูธทู (Bluetooth) บลูธูทไดนํามาพัฒนาเพื่อใชสําหรับการส่ือสารแบบไรสายบนระยะทางส้ันๆ ตั้งแต 10 เซนติเมตร ถึง 10 เมตร มีความแตกตางเมื่อเทียบกับการส่ือสารดวยแสงอินฟราเรดตรงที่ สามารถสื่อสารทะลุส่ิงกีดขวางหรือกําแพงได อีกท้ังยังเปนการส่ือสารแบบไรสายดวยการแผคล่ืน ออกเปน วงรัศมรี อบทิศทางดว ยคลนื่ ความถี่สงู สําหรับความเร็วในการถา ยโอนขอ มลู อยทู ่ี 722 Kbps เมื่อมีการเชื่อมตอโดยตรงหรือแบบจุดตอจุด ในขณะท่ีการเชื่อมตอแบบหลายจุด ก็จะทําใหความเร็ว ลดลงเหลือประมาณ 57.6 Kbps ในปจจุบันบลูธูทมักนําไปใชงานกับอุปกรณส่ือสารตางๆ เชน เคร่ืองพีดเี อ คอมพิวเตอรโนต็ บุค เครือ่ งพมิ พ รวมทงั้ โทรศพั ทเคล่อื นท่ี

17 ไมโครเวฟ (Microwave) การสง สัญญาณขอมูลไมโครเวฟมักใชก นั ในกรณีทก่ี ารตดิ ต้ังสายเคเบลิ ทําไดไม สะดวก เชน ในเขตเมอื งใหญ ๆ หรอื ในเขตท่ีปาเขา แตล ะสถานีไมโครเวฟจะติดตง้ั จานสง-รบั สญั ญาณขอมลู ซงึ่ มเี สน ผาศนู ยกลางประมาณ 10 ฟุต สญั ญาณไมโครเวฟเปน คลื่นยา นความถีส่ ูง (2-10 จิกะเฮริ ตซ) เพื่อปอ งกนั การแทรกหรือรบกวนจากสัญญาณอ่นื ๆ แตส ญั ญาณอาจจะออนลง หรอื หกั เหไดใ นที่มอี ากาศรอนจดั พายหุ รอื ฝน ดงั นั้นการติดต้งั จาน สง-รับสัญญาณจงึ ตอ งใหห นั หนา ของจานตรงกัน และหอยิ่งสูงยงิ่ สง สญั ญาณไดไ กล ปจจุบันมีการใชการสงสัญญาณขอมูลทางไมโครเวฟกันอยางแพรหลาย สําหรับ การส่ือสารขอมูลในระยะทางไกล ๆ หรือระหวางอาคาร โดยเฉพาะในกรณีท่ีไมสะดวกท่ีจะใชสาย เสนใยนําแสง หรือการสื่อสารดาวเทียม อีกทั้งไมโครเวฟยังมีราคาถูกกวา และติดต้ังไดงายกวา และสามารถสงขอมูลไดคราวละมาก ๆ ดวย อยางไรก็ตามปจจัยสําคัญท่ีทําใหส่ือกลางไมโครเวฟ เปนทน่ี ยิ ม คือราคาท่ีถกู กวา รปู ท่ี 19 การเชอ่ื มตอแบบไมโครเวฟ ดาวเทยี ม (Satellite) การสือ่ สารดวยดาวเทยี ม (Satellite Transmission) หรอื สถานไี มโครเวฟลอยฟา นน่ั เอง ซึง่ ทาํ หนาทข่ี ยายและทบทวนสัญญาณขอ มลู รบั และสงสญั ญาณขอ มูลกับสถานีดาวเทยี มที่ อยูบ นพื้นโลก สถานีดาวเทียมภาคพ้ืนจะทําการสง สญั ญาณขอมลู ไปยงั ดาวเทยี มซง่ึ จะหมนุ ไปตาม การหมุนของโลกซ่งึ มีตาํ แหนง คงท่เี ม่อื เทียมกบั ตาํ แหนง บนพื้นโลก ดาวเทยี มจะถูกสง ข้ึนไปใหล อย อยูสูงจากพ้ืนโลกประมาณ 23,300 กม. เครอ่ื งทบทวนสัญญาณของดาวเทยี ม (Transponder) จะ รับสญั ญาณขอมลู จากสถานภี าคพน้ื ซ่งึ มีกําลงั ออนลงมากแลว มาขยาย จากน้นั จะทาํ การทบทวน สัญญาณ และตรวจสอบตาํ แหนง ของสถานีปลายทาง แลวจึงสง สญั ญาณขอ มลู ไปดว ยความถอ่ี ีก ความถี่หน่ึงลงไปยงั สถานีปลายทาง การสงสญั ญาณขอมลู ขนึ้ ไปยังดาวเทยี มเรียกวา \"สญั ญาณอปั

18 ลิงก\" (Up-link) และการสงสัญญาณขอมูลกลับลงมายงั พ้ืนโลกเรยี กวา \"สญั ญาณดาวน-ลิงก (Down- link) ลักษณะของการรับสงสัญญาณขอมูลอาจจะเปนแบบจุดตอจุด (Point-to-Point) หรือแบบแพรสัญญาณ (Broadcast) สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเคร่ืองทบทวนสัญญาณ ดาวเทียมไดถึง 25 เครื่อง และสามารถครอบคลุมพ้ืนท่ีการสงสัญญาณไดถึง 1 ใน 3 ของ พ้ืนผิวโลก ดังน้ันถาจะสงสัญญาณขอมูลใหไดรอบโลกสามารถทําไดโดยการสงสัญญาณผานสถานี ดาวเทียมเพยี ง 3 ดวงเทาน้ัน รูปท่ี 20 การเชอ่ื มตอ แบบดาวเทยี ม ระหวางสถานีดาวเทียม 2 ดวง ที่ใชค วามถี่ของสญั ญาณเทากนั ถาอยูใกลกัน เกนิ ไปอาจจะทําใหเกิดการรบกวนสญั ญาณซ่งึ กันและกนั ได เพอ่ื หลกี เลย่ี งการรบกวนหรอื ชนกนั ของ สญั ญาณดาวเทยี ม จึงไดมีการกําหนดมาตรฐานระยะหา งของสถานีดาวเทียม และยานความถี่ เชน ระยะหางกัน 4 องศา (วัดมุมเทยี งกับจดุ ศูนยกลางของโลก) ใหใชย านความถีข่ องสญั ญาณ 4/6 จิ กะเฮริ ตซ หรอื ยา น C แบนดโ ดยมแี บนดวดิ ทข องสัญญาณอปั -ลงิ กเ ทากับ 5.925-6.425 จกิ ะเฮิรตซ และมแี บนดวดิ ทของสัญญาณดาวน-ลิงกเ ทา กับ 3.7-4.2 จกิ ะเฮิรตซ การสงสัญญาณขอมูลทางดาวเทียมสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพ้ืนอ่ืน ๆ ได อีกทั้งยังมีเวลาประวิง (Delay Time) ในการสงสัญญาณเน่ืองจากระยะทางข้ึน-ลง ของสัญญาณ และทส่ี าํ คญั คือ มีราคาสงู ในการลงทนุ ทําใหคาบรกิ ารสูงตามข้นึ มาเชนกนั

19 4.4 เครือขายคอมพิวเตอร เครือขายคอมพิวเตอร คือ การนําเคร่ืองคอมพิวเตอรหลายๆ เครื่องมาตอเช่ือมโยงใหมีการ สื่อสารขอมูลระหวางกัน เพื่อใหเพิ่มขีดความสามารถของระบบใหสูงขึ้น เพิ่มการใชงานดานตาง ๆ และลดตนทุนระบบโดยรวมลง มีการแบงใชงานอุปกรณและขอมูลตาง ๆ ตลอดจนสามารถทํางาน รวมกันได ส่ิงสําคัญท่ีทําใหระบบขอมูลมีขีดความสามารถเพ่ิมข้ึน คือ การโอนยายขอมูลระหวางกัน และการเชื่อมตอหรือการส่ือสาร การโอนยายขอมูลหมายถึงการนําขอมูลมาแบงกันใชงาน หรือการ นําขอมูลไปใชประมวลผลในลักษณะแบงกันใชทรัพยากร เชน แบงกันใชซีพียู แบงกันใชฮารดดิสก แบงกันใชโปรแกรม และแบงกันใชอุปกรณอ่ืน ๆ ที่มีราคาแพงหรือไมสามารถจัดหาใหทุกคนได การ เชื่อมตอคอมพิวเตอรเปนเครือขายจึงเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพการใชงานใหกวางขวางและมากขึ้น จากเดิม การเช่ือมตอในความหมายของระบบเครือขายทองถ่ิน ไมไดจํากัดอยูที่การเช่ือมตอระหวาง เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร แตยังรวมไปถึงการเชื่อมตออุปกรณรอบขาง เทคโนโลยีที่กาวหนาทําให การทํางานเฉพาะมีขอบเขตกวางขวางย่ิงขึ้น มีการใชเคร่ืองบริการแฟมขอมูลเปนท่ีเก็บรวบรวม แฟมขอมูลตางๆ มีการทําฐานขอมูลกลาง มีหนวยจัดการระบบส่ือสารหนวยบริการใชเคร่ืองพิมพ หนวยบริการการใชซีดี หนวยบริการปลายทาง และอุปกรณประกอบสําหรับตอเขาในระบบเครือขาย เพ่ือจะทาํ งานเฉพาะเจาะจงอยางใดอยา งหนึ่ง ชนิดของเครอื ขา ยคอมพวิ เตอร สามารถจําแนกตามระยะทางของการเชื่อมตอระหวาง อปุ กรณก ารสื่อสารไดเปน 3 ประเภทดังนี้ Network Local area network Metropolitan area Wide area network (LAN) network (MAN) (WAN) ในความเปนจริงประเภทเครือขายท้ังสามจะนํามาใชงานบนวัตถุประสงคท่ีแตกตาง กัน โดยจุดสําคัญอยูที่ลักษณะการใชงานและระยะทางในการเช่ือมตอ เชน หากตองการเชื่อมตอ เครือขา ยเพอ่ื ใชง านภายในอาคาร หรอื สํานักงาน เครือขายทองถ่ินก็ถือเปนทางเลือกที่เหมาะสมท่ีสุด โดยตารางที่ 8 จะแสดงถงึ ขนาดและระยะทางของเครือขายชนิดตา งๆ

20 ตารางท่ี 8 เปรยี บเทียบระยะทางและขนาดพื้นทีก่ บั ชนดิ เครือขายทใ่ี ชง าน ระยะทาง ขนาดพ้ืนท่ี ชนิดเครอื ขาย 1m ภายในหอง Personal Area Network 10 m ภายในหอ ง/ระหวางหอง Local area Network 100 m ตกึ (LAN) 1 km หนว ยงาน 10 km เมอื ง Metropolitan area network (MAN) 100 km ประเทศ Wide area network 1000 km ทวีป (WAN) 10000 km ท่ัวโลก Internet 1. Local area network (LAN) หรือเครือขายคอมพิวเตอรแบบทองถ่ิน ระยะ ทางการเชื่อมตอประมาณไมเกิน 10 กิโลเมตร มีความเร็วในการแลกเปลี่ยนขอมูลสูง ประมาณ 10- 1000 Mbps สื่อท่ีใชมักจะเปนสื่อแบบสายสัญญาณ สวนใหญจะใชในองคกร สํานักงาน เชน เครือขายภายในมหาวิทยาลัยหรือเครือขาย ภายในบริษัท นอกจากน้ีเครือขายแบบทองถิ่นยัง สามารถแบง ออกเปน 2 ชนดิ คือ 1.1 Peer to Peer เปนเครือขายขนาดเล็กท่ีมีการเชื่อมตอ คอมพิวเตอรดวยกันไมเกิน 10 เคร่ือง ซึ่งอาจเรียกวาเวิรกกรุป(Workgroup) โดยคอมพิวเตอรใน เครือขายดังกลาวจะไมมีเคร่ืองใดเฉพาะท่ีทําหนาท่ีเปนศูนยบริการขอมูล(Server) ซ่ึงทุกๆ เคร่ืองใน เครือขายจะมีความเสมอภาคกันหมด โดยแตละเครื่องบนเครือขายจะเปนไดท้ังเครื่องลูกขายและ เครือ่ งบริการ ซงึ่ ขน้ึ อยกู บั วาเคร่อื งน้ันถกู รอ งขอใชทรัพยากรหรือตองการใชทรัพยากรจากเครื่องอื่น เปา หมายของเครอื ขายประเภทน้ีคอื ตองการใหคอมพิวเตอรท ่ีเชือ่ มตอสามารถใชท รพั ยากรรว มกนั ได เปนสาํ คญั และใชตน ทุนต่าํ n o คอมพิวเตอร A รอ งขอ คอมพวิ เตอร D สง ไฟล ไฟลจ ากคอมพิวเตอร D ใหค อมพิวเตอร A p คอมพวิ เตอร A รับไฟล จากคอมพิวเตอร D รูปท่ี 21 เครอื ขา ยแบบ Peer to Peer ทม่ี า www.networking.glencoe.com

21 1.2 Client/Server เปนเครือขายที่มีคอมพิวเตอรหนึ่งหรือหลาย เครื่องที่ทําหนาท่ีเปนเครื่องศูนยบริการขอมูล(Server) ซึ่งบางคร้ังอาจเรียกวาโฮสตคอมพิวเตอร (Host Computer) โดยเครื่องเซริฟเวอรนี้จะทําหนาที่ในการควบคุมการเขาถึงอุปกรณฮารดแวรและ ซอฟตแวรบนเครือขาย และเปนศูนยกลางของขอมูลในเครือขายสวนเครื่องไคลเอนตนั้นก็คือเครื่อง ลูกขายที่จะตองล็อกอินเขาสูเครือขายกอน จึงสามารถใชบริการทรัพยากรตางๆ บนเครือขายได โดยยูสเซอรแตล ะคนที่ล็อกอนิ เขา สรู ะบบนน้ั จะมสี ิทธิการใชงานที่แตกตา งกันตามที่ผูจัดการเครือขาย (Admin) เปน ผกู าํ หนดสิทธิการใชงานให เครือขายประเภทน้ีจะมีระบบการปองกันความปลอดภัยท่ี ดกี วา แบบ Peer to Peer o เซริฟเวอรส ง ไฟลใหเครอ่ื งลกู B n เคร่อื งลูก B รอ งขอไฟล จากเซรฟิ เ วอร p เครื่องลกู B รับไฟลจากเซริฟเวอร รูปท่ี 22 เครอื ขา ยแบบ Client/Server ทม่ี า www.networking.glencoe.com ตารางท่ี 9 เปรยี บเทียบการเช่อื มตอ เครอื ขายแบบ Peer to Peer และ Client/Server Peer to Peer Client/Server ประเภทของผูใช บา นหรือสํานักงานขนาดเล็ก โรงเรยี น โรงพยาบาล บริษัทขนาด ใหญ ขนาดขององคกร จํากดั จาํ นวนของเครื่องลกู ขาย เครื่องลูกขา ย (Workstation) มจี าํ นวน (Workstation) มาก ผดู แู ลระบบ ผใู ชง านประจําเครอ่ื งลูกขายเปน มีผูดแู ลระบบเปน ผดู ูแลทั้งหมด ผดู ูแล ระบบความปลอดภัย ผูใชงานประจาํ เคร่อื งลูกขา ยตองเปน ผดู ูแลระบบจากสวนกลางเปนผูแล ผูดแู ลรักษาความปลอดภัยดวย รักษาความปลอดภัยของระบบให ตนเอง ความหนาแนน ของ มีการจํากัดจํานวนการใชท รพั ยากร ผูใ ชงานสามารถเขา ใชท รัพยากร เครอื ขา ย รวมกนั ของผใู ชงาน รว มกนั ไดม ากกวาแบบ Peer to Peer ราคา ราคาไมแพงเม่อื เทยี บกบั แบบ ราคาสงู กวาเมอื่ เทยี บกับแบบ Peer to Client/Server Peer

22 2. Metropolitan area network (MAN) เปนเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญ ซง่ึ อาจครอบคลุมพ้ืนที่ท้ังตําบลหรือทั้งอําเภอ เครือขายคอมพิวเตอรชนิดนี้เกิดจาก การเชื่อมตอของ เครือขายคอมพิวเตอรแ บบทองถ่นิ หลายๆ เครือขา ยเขาดวยกนั 3. Wide area network (WAN) เปนเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญมาก ภายในเครือขายประกอบไปดวย เครือขายแบบ LAN และ MAN พ้ืนที่ของเครือขายแบบ WAN สามารถครอบคลุมไดท้ังประเทศ หรือท่ัวโลก เครือขายอินเตอรเน็ตท่ีใหบริการครอบคลุมทั่วโลกก็ เปนเครือขายแบบ WAN เครอื ขา ยหนงึ่ เชนกนั 4.5 โพรโทคอล (Protocol) โพรโทคอล คือ ขอกําหนดหรือขอตกลงท่ีใชควบคุมการสื่อสารขอมูลในเครือขาย ไมวาจะ เปนการสื่อสารขอมูลระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอรหรือระหวางคอมพิวเตอรกับอุปกรณอ่ืนๆ เครื่อง คอมพิวเตอรหรืออุปกรณเครือขายท่ีใชโพรโทคอลชนิดเดียวกันเทาน้ันจึงจะสามารถติดตอและสง ขอมูลระหวางกันได โพรโทคอลมีลักษณะเชนเดียวกับภาษาที่ใชในการสื่อสารของมนุษยที่ตองใช ภาษาเดยี วกนั จงึ จะสามารถสอ่ื สารกนั ไดเขาใจ ในป ค.ศ. 1977 องคกร ISO (international Organization for Standard) ไดจัดตั้ง คณะกรรมการข้นึ กลมุ หนึง่ เพอ่ื ทําการศกึ ษาจัดรูปแบบมาตรฐาน และพัฒนาสถาปตยกรรมเครือขาย และใน ป ค.ศ. 1983 องคกร ISO ก็ไดออกประกาศรูปแบบของสถาปตยกรรมเครือขายมาตรฐานใน ชื่อของ \"รูปแบบ OSI \" (Open System Interconnection Model) เพ่ือใชเปนรูปแบบมาตรฐานใน การเชื่อมตอระบบ คอมพิวเตอร อักษร \"O\" หรือ \"Open\" ก็ หมายถึง การท่ีคอมพิวเตอรหรือระบบ คอมพิวเตอรหนึ่งสามารถ \"เปด\" กวางใหคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรอ่ืนที่ใชมาตรฐาน OSI เหมอื นกันสามารถติดตอไปมาหา สูระหวางกันได จุดมุงหมายของการกําหนดการแบงโครงสรางของ สถาปตยกรรมเครือขายออกเปนเลเยอร ๆ และกําหนดหนาที่การทํางานในแตละเลเยอร รวมถึง กาํ หนดรูปแบบการอนิ เตอรเฟซระหวางเลเยอรดว ย การสอ่ื สารขอมูลดวยคอมพิวเตอรจ ะประกอบดวยฝายผูสงและผูรับ และจะเร่ิมดวยฝายผูสง ตอ งการสงขอ มูลโดยผานชน้ั มาตรฐาน 7 ชน้ั เรยี งลาํ ดบั ดังน้ี 1. ช้ันกายภาพ (physical layer) เปนชั้นที่เกี่ยวของกับการสงกระแส บิต(Bit Stream) บนตัวกลางสื่อสารซ่ึงเกี่ยวของกับคุณสมบัติทางกล(Mechanical) และทาง อิเล็กทรอนิกส(Electronics) ในการอินเตอรเฟซและตัวกลางที่ใชสงขอมูล รวมถึงการกําหนดหนาที่ และขัน้ ตอนการทาํ งานของอปุ กรณทีจ่ ะตองอนิ เตอรเฟซเพือ่ การปฏิบัตงิ านเมือ่ เกดิ การสงขอ มลู 2. ช้ันเชื่อมโยงขอมูล (data link layer) เปนช้ันท่ีทําหนาท่ีการสง ขอมูลในลักษณะ Node-to-Node ซึ่งจะกําหนดกฎเกณฑสําหรับการเขาถึงและการใชงานบนชั้น กายภาพ ดวยการจะจัดการกับขอมูลอยางไรใหอยูในรูปแบบของเฟรม เพ่ือจะจัดสงเฟรมน้ีอยางไร บนเครือขาย โดยตองมีความวางใจไดถึงการนําพาขอมูลจากลําดับช้ันกายภาพท่ีปราศจาก ขอผิดพลาดใดๆ เพ่อื บรกิ ารใหกบั ลําดบั ชัน้ ทีส่ ูงขน้ึ ไป

23 3. ช้ันเครือขาย (network layer) y IP Address คือหมายเลข ทําหนาท่ีควบคุมการสงผานขอมูลระหวางตนทางและปลายทาง ประจําตัวของเครื่องคอมพิวเตอร โดยผานจุดตางๆ บนเครือขายใหเปนไปตามเสนทางท่ีกําหนด (Logical Address) ท่ีใชสําหรับการ รวบรวมและแยกแยะขอมูลเพ่ือหาเสนทางในการสงขอมูลที่ ส่ื อ ส า ร บ น เ ค รื อ ข า ย โ ด ย เ ฉ พ า ะ เหมาะสม เ ค รื อ ข า ย อิ น เ ท อ ร เ น็ ต เ ช น 10.50.1.234 4. ช้ันขนสง (transport layer) y MAC Address คือหมายเลข เปนช้ันท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบในการสงขอมูลในลักษณะ End-to- End ดวยการสรางความนาเช่ือถือถึงการรับประกันการบริการ ป ร ะ จํ า ตั ว บ น ก า ร ด เ ค รื อ ข า ย รับสงขอมูล วาขอมูลที่สงไปน้ันถึงผูรับแนนอน หากเกิด (Physical Address) เชน 00-14-22- ขอ ผิดพลาดระหวา งการสง ก็จะมกี ารสงใหม F8-A2-16 5. ช้ันสวนงาน (session layer) ทําหนาท่ีสรางการติดตอระหวาง เครื่องตนทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการสงขอมูลระหวางเคร่ืองทั้งสองใหถูกตองและมี ประสิทธิภาพโดยกําหนดขอบเขตการรับ-สง คือกําหนดจุดผูรับและผูสงโดยจะเพ่ิมเติมรูปแบบการ รับ-สง ขอมูลวาเปนแบบขอมูลชุดเดียว หรือหลายชุดพรอมๆ กัน เชน โมดูล(module) ของการ นําเสนอผานเว็บ หากการส่ือสารภายในชั้นน้ีเกิดลมเหลว ทําใหขอมูลเสียหาย ก็อาจจําเปนตอง เร่ิมตนการทํางานของชนั้ นใี้ หม 6. ช้นั การนําเสนอขอ มูล (presentation layer) จะแปลงขอมูลที่สงมา ใหอยูใ นรูปแบบท่โี ปรแกรมของเครื่องผูรบั เขาใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนําเสนอขอมูลโดยกําหนด รปู แบบภาษา ชนดิ และวิธีการเขาถึงขอมูลของเคร่ืองผูสงใหเคร่ืองผูรับเขาใจ เชน การนําเสนอผาน เว็บ การเขา รหสั และถอดรหสั ขอมูล 7. ช้ันการประยุกต (application layer) เปนลําดับช้ันซ่ึงอนุญาตใหยูส เซอรที่ใชงานซอฟตแวรแอปพลิเคชันตางๆ สามารถเขาถึงเครือขายโดยจะเตรียมการเพื่อการ อินเตอรเฟซระหวางยูสเซอรกับคอมพิวเตอร และสนับสนุนการบริการตางๆ เชน การสงจดหมาย อิเล็กทรอนิกสหรืออีเมล การรีโมตระยะไกลเพื่อเขาถึงขอมูลหรือถายโอนขอมูล การแชรฐานขอมูล และบริการอน่ื ๆ รปู ที่ 23 โมเดลการส่ือสารขอมูลตามมาตรฐานของ OSI ทม่ี า www.networking.glencoe.com

24 4.6 รปู รางเครอื ขาย (Network Topology) คอมพิวเตอรหรืออุปกรณรับ-สงขอมูลที่ประกอบกันเปนเครือขาย มีการเชื่อมโยงถึงกันใน รูปแบบตางๆ ตามความเหมาะสม เทคโนโลยีการออกแบบเช่ือมโยงนี้เรียกวา รูปรางเครือขาย (Network Topology) โทโปโลยีคือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของเครือขาย ซึ่งก็หมายถึง ลักษณะของการเชื่อมโยง สายสื่อสารเขากับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ภายในเครือขายเขา ดวยกนั นนั่ เอง โทโปโลยีของเครือขายแตล ะแบบมคี วามเหมาะสมในการใชงานแตกตางกัน จึงมีความ จําเปนที่เราจะตองทําการศึกษาลักษณะคุณ สมบัติ ขอดีและขอเสียของโทโปโลยีแตละแบบ เพื่อ นาํ ไปใชในการออกแบบพจิ ารณาเครือขา ยใหเ หมาะสมกบั การใชงาน ปญหาของการเช่ือมตอคอมพิวเตอร หรืออุปกรณของสถานีปลายทางหลายๆ สถานีคือ จํานวนสายทใ่ี ชเ ชอื่ มโยงระหวา งสถานีเพ่ิมมากขึน้ และระบบการสลับสายเพื่อโยงขอ มูลถึงกันในการ สื่อสารระหวางสถานี ถามีการเพ่ิมสถานีมากข้ึนคาใชจายในการเดินสายก็มากตามไปดวย และ ในขณะท่ีสถานีหนึง่ ส่อื สารกับสถานีหน่งึ กจ็ ะถือครองการใชสายเช่อื มโยงระหวา งสถานีน้ัน ทําใหการ ใชสายเชื่อมโยงไมเ ต็มประสทิ ธภิ าพ รปู รา งเครือขา ยมีหลายรูปแบบ แตละรปู แบบจะมีลักษณะการเชอ่ื มตอแตกตา งกัน โดยบาง รปู แบบมกี ารเชอื่ มตอ แบบจุดตอจุด(point-to-point) และบางรปู แบบมลี ักษณะการเช่ือมตอ แบบหลายจุด(multipoint) การเชอ่ื มตอแบบจดุ ตอ จดุ (point-to-point) เปนการเช่อื มตอ ระหวา งเครื่องคอมพวิ เตอร หรืออปุ กรณส อื่ สารสองเครื่อง โดยใชส่ือกลางหรอื ชอ งทางในการสือ่ สารชอ งทางเดยี วเปนการจอง สายในการสง ขอมูลระหวางกันโดยไมมีการใชง านสื่อกลางนน้ั รว มกบั อปุ กรณช น้ิ อนื่ ๆ การเช่ือมตอ ลกั ษณะนีเ้ ปนการเชื่อมตอท่ที ําใหส ้นิ เปลืองชอ งทางการสื่อสาร การเชอื่ มตอแบบหลายจุด(multipoint) เปน การใชง านชอ งทางการสอ่ื สารเตม็ ประสทิ ธิภาพมากข้นึ โดยการเชือ่ มตอลักษณะนจี้ ะใชชอ งทางการสอ่ื สารหนงึ่ ชอ งทางเชอ่ื มตอเขากบั เคร่อื งคอมพวิ เตอรหรอื อปุ กรณส่อื สารหลายชนิ้ โดยมีจดุ เชอ่ื มแยกออกมาจากสายหลัก ดังตอ ไปนี้ 1) โทโปโลยแี บบ BUS ในระบบเครือขา ย โทโปโลยแี บบ BUS นบั วา เปน โทโปโลยที ไี่ ดรบั ความนยิ มใชกันมากในอดตี คือการนาํ อปุ กรณท กุ ชิ้นในเครอื ขา ยเชือ่ มตอกบั สายสอ่ื สารหลักท่ี เรยี กวา \"บสั \" (BUS) เมือ่ โหนดหนง่ึ ตองการจะสงขอมูลไปยังอกี โหนดหนึ่งภายในเครือขา ย ขอ มลู จากโหนดผูสง จะถกู สง เขาสสู ายบสั ในรูปแบบของแพก็ เกจ ซงึ่ แตละแพ็กเกจจะประกอบดวยตําแหนง ของผูสงและผรู ับ และขอมูล การสื่อสารภายในบัสจะเปนแบบ 2 ทศิ ทางแยกไปยงั ปลายทั้ง 2 ดาน ของบัส โดยตรงปลายทงั้ 2 ดา นของบสั จะมีเทอรม ิเนเตอร(Terminator) ทาํ หนาทด่ี ูดกลนื สัญญาณ เพ่ือปองกนั ไมใ หสญั ญาณขอ มูลนนั้ สะทอ นกลับเขามายงั บัส อกี ทัง้ เปน การปอ งกนั การชนของ สัญญาณขอมูลอื่นท่ีเดินทางอยใู น BUS สัญญาณขอ มลู จากโหนดผสู งเม่อื เขา สบู ัสจะไหลผานยงั ปลายทง้ั 2 ขา งของบัส แตล ะโหนดท่เี ช่อื มตอเขากบั บัสจะคอยตรวจดวู า ตําแหนงปลายทางทม่ี ากบั

25 แพ็กเกจขอ มูลนน้ั ตรงกับตาํ แหนง ของตนหรอื ไม ถา ใชก็จะรบั ขอ มูลนน้ั เขา มาสโู หนดตน แตถา ไมใชก็ จะปลอยใหส ัญญาณขอ มลู ผานไป จะเห็นไดว าทกุ ๆ โหนดภายในเครอื ขายแบบ BUS นนั้ สามารถ รบั รูสัญญาณขอ มลู ได แตจ ะมเี พยี งโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเทาน้นั ท่ีจะรบั ขอมลู นน้ั ไปได การควบคมุ การส่ือสารภายในเครือขายแบบ BUS มี 2 แบบคือแบบ ƒ ควบคมุ ดวยศูนยกลาง (Centralized) ซง่ึ จะมโี หนดหนง่ึ ทท่ี าํ หนา ทีเ่ ปนศนู ยกลาง ควบคมุ การ สอ่ื สารภายในเครือขายซ่งึ สวนใหญจ ะ เปนไฟลเซริ ฟเวอร ƒ ควบคุมแบบกระจาย (Distributed) ทกุ ๆ โหนดภายในเครือขา ยจะมีสิทธิในการ ควบคุมการสื่อสารแทนท่จี ะเปน ศนู ยกลางควบคมุ เพียงโหนดเดยี ว ซึ่งโดยทั่วไปคู โหนดท่กี าํ ลงั ทาํ การสื่อสารสง-รับขอ มลู กนั อยูจะเปนผคู วบคมุ การสื่อสารในเวลานั้น สายแกนหลกั การเช่อื มตอกบั สายแกนหลัก รูปท่ี 24 โทโปโลยีแบบ BUS ตารางที่ 10 เปรียบเทียบขอดแี ละขอเสยี ของโทโปโลยแี บบ BUS ขอดี ขอเสยี 1. เปนโครงสรา งท่ไี มซ ับซอ น และตดิ ตั้งงาย 1. หากสายเคเบิลท่ีเปนสายแกนหลักขาด 2. งายตอการเพิ่มจํานวนโหนด โดยสามารถ จะสงผลใหเครือขายตองหยุดชะงัก เชือ่ มตอเขา กับสายแกนหลกั ไดท นั ที ในทนั ที 3. ประหยัดสายสงขอมูล เน่ืองจากใชสายแกน 2. กรณีระบบเกิดขอผิดพลาดใดๆ จะหา หลักเพยี งเสน เดยี ว ขอ ผิดพลาดไดยาก 3. ระหวางโหนดแตละโหนดจะตองมี ระยะหา งตามขอ กาํ หนด

26 2) โทโปโลยีแบบ RING เหตุท่ีเรียกการสื่อสารแบบน้ีวาเปนแบบ RING เพราะขาวสารที่ สงผานไปในเครือขายจะไหลวนอยูในเครือขายไปในทิศทางเดียวเหมือนวงแหวน หรือ RING นั่นเอง โดยไมม ีจุดปลายหรอื เทอรม เิ นเตอรแบบ BUS ในแตล ะโหนดจะมรี พี ตี เตอรประจําโหนด 1 เครื่อง ซึ่ง จะทําหนา ทเี่ พ่มิ เติมขาวสารท่ีจําเปนตอ การสอ่ื สาร ในสว นหัวของแพ็กเกจ ขอมูลสําหรับการสงขอมูล ออกจากโหนด และมีหนาท่ีรับแพ็กเกจขอ มูลท่ีไหลผานมา จากสายสอ่ื สารเพอ่ื ตรวจสอบวาเปนขอมูล ท่ีสงมาใหโหนดตนหรือไม ถาใชก็จะคัดลอกขอมูลท้ังหมดน้ันสงตอไป ใหกับโหนดของตน แตถา ไมใชก็จะปลอ ยขอ มูลน้ันไปยงั รพี ีตเตอรของโหนดถดั ไป รปู ท่ี 25 โทโปโลยแี บบ RING ตารางท่ี 11 เปรยี บเทยี บขอ ดแี ละขอเสยี ของโทโปโลยีแบบ RING ขอดี ขอ เสยี 1. แตละโหนดในวงแหวนมีโอกาสที่จะสงขอมูล 1. หากวงแหวนเกิดขาดหรือเสียหาย จะ ไดเ ทา เทยี มกัน สง ผลตอ ระบบทั้งหมด 2. ประหยัดสายสัญญาณ โดยจะใชสายสัญญาณ 2. ยากตอการตรวจสอบ ในกรณีที่มีโหนด เทากับจํานวนโหนดที่เชอื่ มตอ ใดโหนดหน่ึงเกิดขัดของ เน่ืองจากตอง 3. งา ยตอ การตดิ ตง้ั และการเพิ่ม/ลบจาํ นวนโหนด ตรวจสอบทีละจุดวาเกิดขอขัดของ อยางไร 3) โทโปโลยีแบบ STAR จากการเช่ือมโยงติดตอส่ือสารที่มีลักษณะคลายกับรูปดาว (STAR) หลายแฉกโดยมีศูนยกลางของดาว หรือฮับเปนจุดผานการติดตอกันระหวางทุกโหนดใน เครือขาย ศูนยกลางจึงมีหนาท่ีเปนศูนยควบคุมเสนทางการส่ือสารท้ังหมดทั้งภายใน และภายนอก เครือขาย นอกจากน้ีศูนยกลางยังทําหนาท่ีเปนศูนยกลางขอมูลอีกดวย โดยเช่ือมตอเขากับไฟล เซริ ฟเวอรอ กี ที

27 การสื่อสารภายในเครือขายแบบ STAR จะเปนแบบ 2 ทิศทางโดยอนุญาตใหมีเพียง โหนดเดียวเทานั้นท่ีสามารถสงขอมูลเขาสูเครือขายในเวลาเดียวกัน เพื่อปองกันการชนกันของ สัญญาณขอมูล (แตในอุปกรณรุนใหมสามารถทําการสลับการทํางานและยอมใหทํางานไดพรอมกัน คือ Switch HUB) โทโปโลยีแบบ STAR เปนที่นิยมใชกันมากที่สุดในปจจุบันเพราะติดต้ังงายและ ดูแลรักษางาย หากมีโหนดใดเกิดความเสียหายก็ตรวจสอบไดงาย และศูนยกลางสามารถตัดโหนด นั้นออกจากการส่ือสารในเครอื ขา ยได รูปท่ี 26 โทโปโลยแี บบ STAR ตารางท่ี 12 เปรียบเทยี บขอดแี ละขอ เสียของโทโปโลยีแบบ STAR ขอ ดี ขอเสยี 1. มีความคงทนสูง คือหากสายเคเบิลของบาง 1. ใชสายเคเบิลมากเทากับจํานวนเครื่องที่ โหนดเกิดขาดก็จะไมสงผลกระทบตอระบบ เชื่อมตอ ซึ่งหมายถึงคาใชจายท่ีสูงขึ้น โดยรวม โดยโหนดอื่นๆ ก็ยังสามารถใชงาน ดวย แตก็ใชสายเคเบิลมากกวาแบบ ไดตามปกติ BUS กบั แบบ RING 2. เน่ืองจากมีจุดศูนยกลางอยูที่ฮับ ดังน้ันการ 2. การเพิ่มโหนดใดๆ จะตองมีพอรต จดั การและการบรกิ ารจะงายและสะดวก เพียงพอตอการเช่ือมโหนดใหม และ จะตองโยงสายจากพอรตของฮับมายัง สถานทท่ี ี่ตง้ั เครื่อง 3. เน่ืองจากมีจุดศูนยกลางอยูท่ีฮับ หากฮับ เกิดขอขัดของหรือเสียหายใชงานไมได คอมพิวเตอรตางๆ ท่ีเชื่อมตอเขากับฮับ ดงั กลา วก็จะใชง านไมไ ดท ้งั หมด

28 4.7 อุปกรณเครือขา ย 1. การด เครอื ขา ย (Network Interface Card) การดเครือขาย หรือการดแลน หรืออีเธอรเน็ตการด ทําหนาท่ีในการเช่ือม คอมพิวเตอรที่ใชงานอยูน้ันเขากับระบบเครือขายได เชน ในระบบแลน เคร่ืองคอมพิวเตอรทุกเครื่อง ในเครือขายจะตองมีการดเครือขายท่ีเช่ือมโยงดวยสายเคเบิลจึงสามารถทําใหเคร่ืองติดตอกับ เครือขายได สวนในกรณีเปนระบบแลนไรสาย ก็จะตองใชการดแลนแบบไรสาย (Wireless PCI/PCMCIA Card) รวมกบั อุปกรณทเ่ี รยี กวาแอกเซสพอยต (Wireless Access Point) รูปท่ี 27 การด แลน รปู ที่ 28 การดแลนแบบไรสาย รปู ที่ 29 การด แลนแบบไรสาย สาํ หรบั PC สําหรบั Notebook ทมี่ า http://i.expansys.com/i/b/b112043.jpg ทมี่ า http://wl2007.blogspot.com/ ทม่ี า http://img.alibaba.com/ 2. ฮับ (Hub) ฮบั คอื อุปกรณท รี่ วมสญั ญาณทีม่ าจากอุปกรณรับสงหลายๆ สถานีเขาดวยกัน ฮับเปรียบเสมือนเปนบัสท่ีรวมอยูท่ีจุดเดียวกัน ฮับท่ีใชงานอยูภายใตมาตรฐานการรับสงแบบอีเทอร เน็ต หรือ IEEE802.3 ขอมูลท่ีรับสงผานฮับจากเครื่องหนึ่งจะกระจายไปยังทุกสถานีท่ีติดตอยูบนฮับ นนั้ ดังนน้ั ทุกสถานจี ะรับสญั ญาณขอมลู ทีก่ ระจายมาไดท้งั หมด แตจะเลือกคัดลอกเฉพาะขอมูลที่สง มาถงึ ตนเทานัน้ การตรวจสอบขอมูลจึงตองดูที่แอดเดรส(address) ท่ีกํากับมาในกลุมของขอมูลหรือ แพ็กเก็ต รปู ที่ 30 ฮับ ที่มา www.techfresh.net/.../belkin-network-usb-hub.jpg (ภาพทางซาย) ทีม่ า www.overstock.com/.../2660342/product.html (ภาพทางขวา)

29 3. สวิตช (Switch) สวิตซ คืออุปกรณรวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณรับสงหลายสถานี เชนเดียวกับฮับ แตมีขอแตกตางจากฮับ คือ การรับสงขอมูลจากสถานีหรืออุปกรณตัวหน่ึง จะไม กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ ทั้งนี้เพราะสวิตชจะรับกลุมขอมูลหรือแพ็กเก็ตมาตรวจสอบกอน แลวดูวาแอดเดรสของสถานีหลายทางไปที่ใด สวิตชจะลดปญหาการชนกันของขอมูลเพราะไมตอง กระจายขอมลู ไปทุกสถานี และยังมขี อ ดใี นเรื่องการปอ งกนั การดักจบั ขอ มลู ทกี่ ระจายไปในเครือขา ย รูปที่ 31 สวติ ซ ท่มี า http://www.ldrtech.com/ (ภาพทางซาย) ทม่ี า http://www.mrgadget.com.au/ (ภาพทางขวา) 4. เกตเวย (Gateway) เกตเวยเปน อุปกรณหน่งึ ทท่ี ําใหร ะบบเครอื ขา ยท่มี คี วามแตกตางกนั ทัง้ ในดาน ของสถาปตยกรรม หรือมาตรฐานอนื่ ๆ ใหส ามารถเช่ือมโยงเครอื ขา ยรว มกันได เชน สถาปต ยกรรม ของเครอื่ งระดบั เมนเฟรมยอมมีความแตกตางกบั สถาปต ยกรรมเครอ่ื งพซี ี แตถา มีอปุ กรณเ กตเวย แลวจะทาํ ใหเ คร่อื งทงั้ สองสามารถมีประตูท่ที าํ ใหท ัง้ สองระบบเชอ่ื มโยงกนั ได รปู ท่ี 32 เกตเวย ทีม่ า http://www.geocities.com/ohhonet/gateway.jpg

30 5. บรดิ จ (Bridge) บริดจเปนอุปกรณที่เหมาะกับเครือขายหลายๆ กลุมที่เชื่อมตอกัน เนื่องจากสามารถแบงเครือขายท่ีเช่ือมตอกันหลายๆ เซกเมนตแยกออกจากกันได ทําใหขอมูลในแต ละเซกเมนตไมตองว่ิงไปท่ัวทั้งเครือขาย กลาวคือบริดจสามารถอานเฟรมขอมูลที่สงมาไดวามาจาก เคร่ืองในเซกเมนตใด จากนั้นจะทําการสงขอมูลไปยังเคร่ืองซึ่งอาจอยูในเซกเมนตเดียวกันหรือตาง เซกเมนตกไ็ ด ซึ่งความสามารถดังกลา วทาํ ใหช วยลดปญ หาความคับค่งั ของขอ มลู ในระบบได รปู ที่ 33 บริดจ ทีม่ า http://www.xs-drive.com/pics/webupdatebridge120_big.jpg 6. รีพีตเตอร (Repeater) รีพีตเตอร เปนอุปกรณทวนสัญญาณเพ่ือใหสามารถสงขอมูลถึงกันได ระยะไกลขึ้น คือ รีพีตเตอรจะปรับปรุงสัญญาณที่ออนตัวใหกลับมาเปนรูปแบบเดิม เพ่ือให สัญญาณสามารถสงตอไปไดอีก เชน การเชื่อมตอเครือขายแลนหลายๆ เซกเมนต ซึ่งความยาว ของแตละเซกเมนตน้ันจะมีระยะทางท่ีจํากัด ดังน้ันอุปกรณอยางรีพีตเตอรก็จะชวยแกปญหา เหลานีไ้ ด รูปท่ี 34 รพี ีตเตอร ท่มี า http://img.alibaba.com/

31 7. โมเดม็ (Modem) โมเด็มเปนอุปกรณท่ีทําหนาที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใหสามารถเช่ือม คอมพิวเตอรท่ีอยูระยะไกลเขาหากันไดดวยการผานสายโทรศัพท โดยโมเด็มจะทําหนาท่ีแปลง สัญญาณ ซ่ึงแบงออกเปนท้ังภาคสงและภาครับ โดยภาคสงจะทําการแปลงสัญญาณคอมพิวเตอรให เปนสัญญาณโทรศัพท (Digital to Analog) ในขณะที่ภาครับนั้นจะทําการแปลงสัญญาณโทรศัพท กลับมาเปน สัญญาณคอมพิวเตอร (Analog to Digital) ดงั น้นั ในการเช่อื มตอเครือขายระยะไกลๆ เชน อินเทอรเน็ต จึงจําเปนตองใชโมเด็ม โดยโมเด็มมีทั้งแบบภายใน(Internal Modem) ที่มีลักษณะเปน การด โมเด็มภายนอก(External Modem) ทีม่ ลี กั ษณะเปนกลองแยกออกตา งหาก และรวมถึงโมเด็ม ท่เี ปน PCMCIA ทม่ี ักใชก ับเครือ่ งคอมพิวเตอรโ นตบคุ รปู ท่ี 35 โมเดม็ แบบภายนอก รปู ที่ 36 โมเดม็ แบบภายใน รูปท่ี 37 โมเดม็ แบบ PCMCIA ท่ีมา http://rmutphysics.com ทีม่ า http://rmutphysics.com ที่มา http://rmutphysics.com 8. เราเตอร (Router) ในการเช่ือมโยงเครือขายคอมพิวเตอรจะตองมีการเชื่อมโยงหลายๆ เครือขาย หรืออปุ กรณหลายอยา งเขา ดว ยกนั ดังน้นั จึงมเี สนทางการเขาออกของขอมูลไดหลายเสนทาง และแต ละเสนทางอาจใชเทคโนโลยีเครือขายท่ีตางกัน อุปกรณจัดเสนทางจะทําหนาที่หาเสนทางท่ีเหมาะสม เพื่อใหก ารสงขอ มูลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ การที่อุปกรณจัดหาเสนทางเลือกเสนทางไดถูกตอง เพราะแตละสถานีภายในเครือขายมีแอดเดรสกํากับ อุปกรณจัดเสนทางตองรับรูตําแหนงและ สามารถนาํ ขอ มลู ออกทางเสนทางไดถ ูกตอ งตามตําแหนงแอดเดรสที่กาํ กับอยูในเสนทางนน้ั รูปที่ 38 เราเตอร

4.8 ตัวอยางอุปกรณอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วของ 32 รปู ที่ 39 CABLE TESTER ทีม่ า www.kukukaiza.th.gs รปู ท่ี 40 คีมเขาหวั เชือ่ มตอแบบ RJ-45 ทม่ี า www.mdf-net.com รปู ท่ี 41 16, 24, 48-Port Cat.6 RJ-45 UTP Rack Mount Patch Panels ท่มี า www.mdf-net.com รูปที่ 42 Cat.5e RJ-45 Modular Jacks ทมี่ า www.mdf-net.com รูปท่ี 43 RJ-45 Modular Plug Boots ที่มา www.mdf-net.com

33 รปู ที่ 44 Face Plates ที่มา www.mdf-net.com รปู ที่ 45 POP UP Floor Mount ท่มี า www.mdf-net.com รูปท่ี 46 Wall Rack 19” ทมี่ า www.mdf-net.com แหลง ท่มี า : • สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลย.ี หนังสือเรยี นสาระการเรียนรูพ ้นื ฐาน เทคโนโลยสี ารสนเทศ ชวงช้นั ที่ 4 ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 4-6. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพครุ สุ ภาลาดพรา ว,2547. • โอภาส เอ่ียมสริ วิ งศ. เครอื ขา ยคอมพิวเตอรแ ละการส่ือสาร. กรงุ เทพมหานคร : พิมพที่บริษทั เอช.เอ็น.กรปุ จํากัด,2548. • โอภาส เอย่ี มสริ ิวงศ. วิทยาการคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร : พิมพท บ่ี รษิ ัท เอช. เอ็น.กรุป จํากัด,2548. • Behrouz A. Forouzan. Data Communications and Networking. 3th ed. Singapore,2003. • Pual j. Fortier, and Hector J. Caban. Introduction to Networks and Networking. United States of America,2005.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook