ก คานา แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ดนตรี) สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเป็น แนวทางสาหรับครูได้นาไปใช้ในการดาเนินการสอนดนตรีไทยในโรงเรียน โดยมุ่งหวังให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา มี ก า ร วั ด ผ ล ป ร ะ เ มิ น ผ ล ค ร อ บ ค ลุ ม ทุ ก ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ แบบฝกึ ทักษะ ดนตรไี ทย มีทั้งหมด 5 เล่ม ดงั น้ี เล่มที่ 1 เรือ่ ง ประเภทเครอ่ื งดดี เครอ่ื งสี เล่มที่ 2 เรือ่ ง ประเภทเครอ่ื งตี เครื่องเป่า เล่มที่ 3 เรือ่ ง วงดนตรีไทย เล่มที่ 4 เรื่อง ดนตรีพื้นบ้าน เล่มที่ 5 เรือ่ ง การใช้และดูแลรักษาเครือ่ งดนตรไี ทย ในการใช้แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย ควรใช้เอกสารเรียงลาดับจากเล่มที่ 1 ถึงเล่มที่ 5 เพื่อความต่อเนื่องของเน้ือหา ซึ่งสอนจากง่ายไปหายาก ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ า แบบฝึกทักษะเล่มนี้จะเกิดประโยชน์แก่นักเรียนและผู้ที่ศึกษาค้นคว้า ขอขอบพระคุณ ครูอาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ รวมท้ังผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์และให้คาแนะนา อย่างดยี ิ่ง ขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ ภญิ ญดา เภาพงศ์
สารบญั ข เรือ่ ง หนา้ คานา ก สารบัญ ข สาระและจุดประสงค์การเรียนรู้ 1 ขั้นตอนการใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรีไทย 2 คาชแี้ จงสาหรับครู 3 คาชีแ้ จงสาหรบั นักเรียน 4 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 9 เครื่องดนตรีพ้ืนบ้าน 10 แบบฝกึ หดั ที่ 1 27 วงดนตรพี ืน้ บ้าน 28 แบบฝกึ หัดที่ 2 37 แบบทดสอบหลังเรยี น 41 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น 45 บรรณานุกรม 46 ภาคผนวก 51 52 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 53 เฉลยแบบฝกึ หัดที่ 2 57 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 58 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
1 สาระและจดุ ประสงค์การเรียนรู้ แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มท่ี 4 ดนตรีพื้นบา้ น มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั ตัวชี้วดั ม.1/4 จัดประเภทของวงดนตรไี ทยและวงดนตรที ีม่ าจากวัฒนธรรมต่าง ๆ สาระสาคญั ดนตรีพื้นบ้าน เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีและวงดนตรีประจาภูมิภาคนั้น ๆ ซึ่งเกิดจาก ภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นที่คิดค้นสร้างสรรค์ขึ้น เพื่อให้คนในท้องถิ่นเกิดความสนุกสนาน ผอ่ นคลายและสร้างความสามัคคีในท้องถิน่ ในแต่ละภาคมีเคร่ืองดนตรีและวงดนตรีที่แตกต่างกัน ออกไปขึน้ อยู่กับวฒั นธรรม ประเพณี วิถีการดาเนินชีวติ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ : นกั เรียนสามารถ 1.1 บอกชอ่ื เครือ่ งดนตรีพ้ืนบ้านได้ถูกต้อง 1.2 จดั ประเภทของเครื่องดนตรีพ้ืนบ้านได้ถกู ต้อง 1.3 จัดประเภทของวงดนตรีพ้ืนบ้านได้ถูกต้อง 2. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 2.1 นักเรียนมีทักษะในการฟงั และแยกเสียงเครื่องดนตรีพ้ืนบ้านได้อย่างนอ้ ย 3 เครือ่ ง 2.1 นกั เรียนมีทักษะในการฟังและแยกเสียงวงดนตรพี ืน้ บ้านได้อย่างนอ้ ย 3 วง 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ 3.1 มีวินัย 3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3 รักความเป็นไทย
2 ขน้ั ตอนการใช้แบบฝกึ ทักษะ ดนตรไี ทย เล่มที่ 4 ดนตรพี นื้ บ้าน 1. อ่านคาชีแ้ จงและคาแนะนาการใช้แบบฝกึ ทักษะ ดนตรไี ทย 2. ศกึ ษาแบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรไี ทยโดยปฏิบัติ ดงั น้ี ไม่ผ่านเกณฑ์ 2.1 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2.2 ศกึ ษาใบความรู้ 2.3 ทาแบบฝกึ หดั 2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรยี น 3. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น แบบฝกึ หดั การประเมินผล จากแบบเฉลย 4. ศกึ ษาแบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรไี ทยเล่มที่ 5 ตอ่ ไป ผา่ นเกณฑ์
3 คาชีแ้ จงสาหรับครู แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 4 เร่ืองดนตรีพื้นบ้าน ใช้ประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ดังน้ี 1. แจกแบบฝกึ ทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 4 เรื่อง ดนตรีพ้ืนบ้าน ให้นักเรียน 2. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาคาชีแ้ จงการใช้แบบฝกึ ทักษะและชีแ้ จงเพิ่มเติม ก่อนลงมอื ปฏิบตั ิ 3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อดูว่านักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเรือ่ งที่เรยี นมากน้อยเพียงใด 4. ให้นักเรียนศึกษาแบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 3 เร่ือง ดนตรีพื้นบ้านและ แบบฝกึ หัดที่ 1 - 2 เพื่อให้นกั เรียนได้ทบทวนและเกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง 5. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อดูว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลังเรียน มากน้อยเพียงใด 6. สังเกตพฤติกรรมคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์และบันทึกผล 7. ตรวจคะแนนและบันทึกผลลงในแบบเก็บคะแนนการทาแบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 2 เรือ่ ง ประเภทเครื่องตี เครื่องเป่า 8. แจ้งคะแนนให้นกั เรียนทราบและชมเชยนกั เรียนพร้อมให้คาแนะนาเพิม่ เติม
4 คาชี้แจงสาหรบั นกั เรียน แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 4 เร่ือง ดนตรีพื้นบ้าน ใช้ประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยมีแนวทางการใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ดงั น้ี 1. ตรวจสอบแบบฝกึ ทักษะว่าครบถ้วนหรอื ไม่ ถ้าไม่ครบถ้วนตอ้ งแจง้ ครผู ู้สอนทันที 2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบฝึกทักษะก่อนจะเริ่มศึกษาหาความรู้ในลาดับ ต่อไป 3. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ 4. ศึกษาแบบฝึกทักษะด้วยตนเองตามลาดับข้ันตอนที่จัดไว้ในแบบฝึกทักษะ เม่ือเข้าใจ แล้ว ทาแบบฝกึ หดั ใหค้ รบทกุ แบบฝกึ หดั 5. ศกึ ษาแบบฝกึ ทักษะด้วยความเอาใจใส่และมีความซื่อสัตย์ 6. เม่ือศึกษาใบความรู้และทาแบบฝึกหัดในแบบฝึกทักษะเสร็จแล้ว ตรวจสอบความ ถกู ต้องจากเฉลย 7. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 10 ข้อ 8. ในกรณีที่นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ไม่ถึง 8 ข้อ ให้นักเรียนย้อนกลับ ไปศึกษาแบบฝึกทักษะเล่มนี้ใหม่แล้วทาแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งจนกว่าจะได้คะแนน ตามเกณฑ์ 9. เมื่อมีปัญหาใด ๆ เช่น ไม่เข้าใจเนื้อหา สามารถขอคาแนะนาจากครไู ด้ตลอดเวลา
5 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรื่อง ดนตรพี ื้นบ้าน คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง ของกระดาษคาตอบที่กาหนดให้โดย เลือกข้อทีถ่ ูกต้องเพียงข้อเดียว (ข้อสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 1. ซึงจัดเป็นเครือ่ งดนตรีพ้ืนบ้านภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคอีสาน ค. ภาคกลาง ง. ภาคใต้ 2. ปี่จุมเปน็ เครื่องดนตรที ีบ่ รรเลงอยู่ในวงใด ก. วงโปงลาง ข. วงกลองยาว ค. วงปี่พาทย์ ง. วงสะล้อ ซอ ซึง
6 3. ฆ้องคเู่ ปน็ เครื่องดนตรีพ้ืนบ้านภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคใต้ ค. ภาคอีสาน ง. ภาคกลาง 4. ข้อใดเป็นเครือ่ งดนตรพี ื้นบ้านภาคเหนือท้ังหมด ก. ปี่จมุ กลองตุ๊ก ฆอ้ งคู่ แคน ข. ซึง สะล้อ แคน กลองยาว ค. กลองหาง กลองตุ้ม ทับ แคน ง. สะลอ้ กลองสะบัดชยั ซึง กลองเต่งทึง้ 5. กลองใดที่นยิ มตกแตง่ ตัวกลองให้สวยงามด้วยผา้ สี ก. กลองสะบดั ชยั ข. กลองหาง ค. กลองยาว ง. กลองเต่งทึง้
7 6. จากรูปเป็นเครือ่ งดนตรีที่บรรเลงอยู่ในวงใด ก. วงโปงลาง ข. วงสะล้อ ซอ ซึง ค. วงกลองสะบัดชยั ง. วงกลองยาว 7. ข้อใดเป็นเครือ่ งดนตรขี องวงโปงลางทั้งหมด ก. โปงลาง แคน สะล้อ ทับ ข. โปงลาง แคน โหวด กลองหาง ค. โปงลาง กลองสะบดั ชยั ซึง ปี่จมุ ง. โปงลาง รามะนาลาตัด ทับ กลองเต่งทึง้ 8. เครือ่ งดนตรีใดทีเ่ ปน็ เครื่องดนตรปี ระกอบการแสดงมโนราห์ ก. กลองตกุ๊ ข. กลองหาง ค. กลองสะบดั ชัย ง. กลองตมุ้
8 9. วงดนตรใี นข้อใดที่เป็นวงดนตรพี ืน้ บ้านภาคกลาง ก. วงสะล้อ ซอ ซึง ข. วงกลองสะบดั ชยั ค. วงดนตรีประกอบการละเล่นลาตัด ง. วงดนตรปี ระกอบการแสดงรองแง็ง 10. จากรปู เปน็ เครือ่ งดนตรีที่มชี ื่อวา่ อะไร ก. กลองตมุ้ ข. กลองเต่งทึง้ ค. กลองสะบัดชยั ง. กลองหาง
9 กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน ชื่อ - สกุล........................................................................ชน้ั ................เลขที่................ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบในแบบทดสอบ แล้วทาเครือ่ งหมาย ลงใน ในข้อ ที่ถกู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม สรุปการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไปจงึ ผ่านเกณฑ์
10 เคร่อื งดนตรีพืน้ บา้ น
11 เครือ่ งดนตรพี นื้ บ้านภาคเหนอื พิณน้าเตา้ ที่มา : เพจเรียนนาฏศลิ ป์กบั ครนู า้ ตาล พิณน้าเต้า เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทดีดที่มีสายเดียว เข้าใจว่าชาวอินเดียนามา แพร่หลายอยู่ในดินแดนแหลมอินโดจีนก่อน ที่มีชื่อเรียกว่า “ พิณน้าเต้า ” เพราะนาเปลือกผล น้าเต้ามาทาเปน็ กะโหลก การบรรเลงพณิ น้าเตา้ ทีม่ า : PARINYA OHMO
12 พณิ เปี๊ยะ ที่มา : เพจเรียนนาฏศลิ ป์กับครูนา้ ตาล พิณเปี๊ยะ เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองดีดที่เก่าแก่ของชาวล้านนาทางภาคเหนือ ของประเทศไทย อาจเรียกว่าพณิ เพี๊ยะหรอื เปี๊ยะ มีสายต้ังแต่ 2 สายไปจนถึง 7 สาย เดิมใช้เป็น เครื่องดดี สาหรบั แอ่วสาว นิยมดีดเพลงทีม่ ีทานองช้า ๆ เช่น เพลงปราสาทไหว การบรรเลงพณิ เปีย๊ ะ ทีม่ า : KS Studio Chiangmai
13 ซึง ทีม่ า : เพจร้านปรินญาภัครดนตรีไทย ขายสะลอ้ ซอ ซึง เครอ่ื งดนตรีไทย ซึง เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นเมืองของทางภาคเหนือ มี 4 สาย มีรูปร่างคล้ายคลึง กับกระจับปี่แต่มีขนาดที่เล็กกว่า ชาวไทยทางภาคเหนือนิยมเล่นกันมาก ตามปกติใช้บรรเลง ร่วมกับปี่ซอ การบรรเลงซึง ทีม่ า : Kruadd NKT
14 สะลอ้ ที่มา : MSU Pharmacy สะล้อ เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นเมืองล้านนา มีทั้ง 2 สายและ 3 สาย คันชักสาหรับสี เป็นคนั ชกั อิสระเหมอื นคันชกั ซอสามสาย สะล้อเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า ทร้อ หรือ ซะล้อ มีรูปร่าง คล้ายซออู้ ใช้บรรเลงร่วมกับซึงและปี่ซอ การบรรเลงสะล้อ ทีม่ า : NG Official
15 กลองสะบดั ชยั ที่มา : SWK เคร่อื งดนตรีลา้ นนา กลองสะบัดชัย เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นเมืองของภาคเหนือ มีลักษณะเป็นกลองสองหน้า มีนาคไม้แกะสลักทาสีประดับไว้อย่างสวยงามที่ตัวกลอง ส่วนลีลาในการตีมีลักษณะโลดโผน เร้าใจ มีการใช้อวัยวะหรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ศอก เข่า ศีรษะ ประกอบในการตีด้วย โอกาสในการบรรเลง ใช้แสดงเปน็ มหรสพและใชแ้ สดงเพื่อความสนุกสนาน การบรรเลงกลองสะบัดชัย ทีม่ า : เสกสรร ปั้น Youtube
16 กลองเตง่ ทึง้ ที่มา : TK PARK อทุ ยานการเรียนรู้ กลองเต่งทึ้ง เป็นกลองพื้นเมืองของภาคเหนือ มีลักษณะเป็นกลองสองหน้า ทาด้วย ไม้เนือ้ แขง็ เช่น ไม้แดง หรอื ไม้เนือ้ อ่อน เชน่ ไม้ขนุน หน้ากลองขงึ ดว้ ยหนังวัวและมีขาตั้งสาหรับ ใช้วางตวั กลอง นิยมบรรเลงประสมกับเครื่องดนตรีอน่ื ๆ การบรรเลงกลองเตง่ ทึง้ ทีม่ า : เฮือนดนตรี สเี ขยี ว
17 ปีจ่ มุ ทีม่ า : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ ปี่จุม เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านของภาคเหนือ เลาปี่ทาจากไม้ไผ่ บริเวณปลายด้านหนึ่ง มรี เู ป่าทีเ่ จาะทะลเุ ปน็ รูปสี่เหลี่ยมผนื ผ้า นิยมทาจากทองเหลือง เงินหรือโลหะไว้สาหรับสอดลิ้น เพื่อให้เกิดเสียง ด้านหนึ่งเจาะด้วยเหล็กเผาไฟเรียงลาดับลงมา 7 รู ตามระยะห่างของแต่ละ เสียง ปี่จุมแตล่ ะเลามีขนาดยาว – ส้ันและเล็ก - ใหญ่แตกต่างกันไปตามเสียงที่ต้องการ เหตทุ ี่เรียกว่าปี่จมุ เพราะใช้บรรเลงเปน็ จุม (ชุด) คอื ประกอบด้วยปี่ตั้งแต่สามเลาขึ้นไป สามารถแบ่งตามขนาดได้ 5 ชนิด คือ 1. ปี่แม่ 2. ปี่กลาง 3. ปี่ก้อย 4. ปี่เลก็ 5. ปี่ตัด การเป่าปี่จุม ที่มา : มดื ฝนโปรดกั ชน่ั MuedfonProduction
18 เครือ่ งดนตรพี นื้ บา้ นภาคอีสาน โปงลาง ทีม่ า : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ โปงลาง เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน ตดี าเนินทานองอย่างเดียว มีวิวัฒนาการ มาจากระฆังแขวนคอสัตว์ ประกอบด้วย ลูกโปงลาง 12 ลูกเรียงตามลาดับเสียงสูงต่า ใช้เชือก ร้อยเป็นแผง นามาแขวนกับขาตั้ง ยึดส่วนปลายกับส่วนโคนให้ผืนโปงลางทามุมกับพื้น 45 องศา ไม้ตีโปงลางทาดว้ ยแก่นไม้มีหัวงอนคล้ายค้อน การบรรเลงโปงลาง ทีม่ า : Isan Lam Ploen Channel
19 กลองหาง ที่มา : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ กลองหาง เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านของภาคอีสาน ขึงหนังหน้าเดียว หุ่นกลองทาจาก ไม้เนื้ออ่อนที่มีน้าหนักเบา เช่น ไม้ขนุน นามาขุดกรวงภายในโดยปลายด้านหนึ่งจะบานออก คล้ายดอกลาโพงเรียกว่า “ตีนกลอง” ตอนกลางเรียวคอด ด้านบนป่องออกเป็นกล่องเสียง ขึงหนงั ขึน้ หนา้ ด้วยสายเร่งที่ทาจากเชือกชนิดต่าง ๆ เช่น หวาย หนงั ไนล่อน กลองหางนิยมบรรเลงร่วมกับกลองตุ้ม โดยมีกลองตุ้ม 1 ใบ กลองหาง 4 ใบ รวมเป็น ชุดกลองอสี าน ที่มา : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ การบรรเลงกลองหาง ทีม่ า : ออย สะดือไง
20 กลองตุม้ ทีม่ า : เพจร้านขอนแก่นมรดกอสี าน กลองตุ้ม เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านของภาคอีสาน หุ่นกลองทาจากไม้นามาขุดกลวง เป็นทรงกลม ขึงหนังหน้าเดียวด้วยหนังโค กระบือ มีสายรัดเร่งเสียงโยงติดกับตัวหุ่น ใช้บรรเลงร่วมกับกลองหางรวมเปน็ ชดุ กลองอสี าน ทาหนา้ ทีบ่ รรเลงจงั หวะหนักหรือจังหวะตก ของบทเพลง ที่มา : เพจร้านขอนแก่นมรดกอสี าน การบรรเลงกลองตุ้ม ทีม่ า : ออย สะดือไง
21 พณิ อีสาน ที่มา : เสรัฐ มาเกิด พิณอีสาน เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน มี 3 สาย บรรเลงเดี่ยวและบรรเลงผสม กับแคน โปงลาง ไห โหวด กลองฯ เรียกว่า \" วงดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน \" นอกจากน้ันยังใช้ บรรเลงประกอบการเล่นหมอลาในชุดลาเพลินอกี ด้วย การบรรเลงพณิ อสี าน ที่มา : Vee Pho Studio
22 แคน ที่มา : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ แคน เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน ใช้ไม้ไผ่ขนาดต่าง ๆ ประกอบกัน เข้าเป็นตัวแคน เป็นเคร่ืองเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไป ตามลาไม้ ทีเ่ ป็นลูกแคน การเป่าต้องดูดลมเข้าและเป่าลมออก มีหลายขนาด เชน่ แคน 7 แคน 9 เปน็ ต้น การเป่าแคน ทีม่ า : M MICAH RECOD OFFICER
23 โหวด ทีม่ า : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ โหวด เปน็ เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน ทาจากไม้ไผ่ปล้องเล็ก ๆ ประมาณ 7-12 ชิ้น ตัดให้ได้ขนาดลดหลั่นกันไป โดยให้ปลายด้านบนเปิดเป็นตาแหน่งการวางริมฝีปากเพื่อเป่าลม ปลายด้านล่างใช้ขี้สูตร (ขี้ผึงตาหรือชันนะรง) ปิดให้สนิท ด้านบนของโหวดทาเป็นทรงกลมมน เพื่อรองรับริมฝีปากด้านล่างของผู้เป่าซึ่ง ผู้เป่าต้องหมุนให้เกิดมุมที่เหมาะสมเม่ือออกแรง พอประมาณก็จะเกิดเสียง การเป่าโหวด ที่มา : บ้านเพลงอินทนิล
24 เครือ่ งดนตรพี ืน้ บา้ นภาคกลาง กลองยาว ทีม่ า : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ กลองยาว เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านภาคกลาง หุ่นกลองทาด้วยไม้ ขึงหนังหน้าเดียว ลาตัวเรียวแล้วบานออกคล้ายดอกลาโพง ใช้ตีด้วยฝ่ามือ นิยมตกแต่งให้สวยงามด้วยผ้าสี ปล่อยเชิงเป็นระบายห้อย มีสายสะพายสาหรับคล้องสะพายบ่า กลองยาวได้แบบอย่าง มาจากพม่า นิยมเล่นในงานพิธีขบวนแห่ กลองชนิดนี้เรียกชื่อตามเสียงที่ตีได้อีกชื่อหนึ่งว่า \"กลองเถิดเทิง\" การบรรเลงกลองยาว ทีม่ า : PK ดนตรีไทย ครูขวญั & ครปู อ
25 เครือ่ งดนตรพี นื้ บา้ นภาคใต้ กลองตกุ๊ ทีม่ า : โพนเมอื งลุง ค่ายโพนป่ายางหเู ย็น. รับทากลองตะโพน. กลองมโนราห์ และจาหนา่ ย กลองตุ๊ก เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ นิยมทาด้วยไม้ขนุน หนังที่หุ้มหน้ากลอง ใช้หนังวัวหรือหนังควาย ตัวกลองจะมีหมุดตอกยึดหนัง มีขาตั้ง 2 ขา ใช้บรรเลงประกอบการ แสดงมโนราห์ ทบั ที่มา : วัฒนธรรมภาคใต้ ทับ เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ ทาด้วยไม้ขนุน ไม้ลัก ใช้หนังเรียดเป็นสายโยง เร่งเสียง ตีดว้ ยมือขา้ งหนึง่ ส่วนมอื อีกข้างหนึ่งคอยปิดเปิดปลายหางที่เป็นปากลาโพง ใช้สาหรับ บรรเลงประกอบการแสดงหนงั ตะลุง มโนราห์
26 ฆ้องคู่ ที่มา : โลกดนตรี ฆ้องคู่ เป็นเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ ใช้บรรเลงกากับจังหวะ ชุดหนึ่งจะมี 2 ลูก ลกู ใหญ่ใหเ้ สียงตา่ ลกู เลก็ ให้เสียงสงู ไม้ตีทาจากไม้เน้ือแขง็ หัวไม้พันด้วยผา้ บนุ วม การบรรเลงกลองตุ๊ก ทบั ฆ้องคู่ ที่มา : Pairote Loylip
27 แบบฝกึ หดั ที่ 1 ชื่อ - สกุล........................................................................ชน้ั ................เลขที่................ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกชือ่ เครื่องดนตรพี ืน้ บ้านได้ถกู ต้อง 2. จัดประเภทของเคร่ืองดนตรพี ืน้ บ้านได้ถกู ต้อง คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านลงในช่องที่ตรงกับภูมิภาคของเคร่ืองดนตรี นั้น ดังตอ่ ไปนี้ ( 10 คะแนน ) 1. 9. 5. 3. 7. 10. 2. 6. 4. 8. ภาคเหนือ ภาคอสี าน ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ภาคกลาง ภาคใต้ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ สรปุ การประเมนิ คะแนนเตม็ 10 ได้...................... ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไปจงึ ผ่านเกณฑ์
28 วงดนตรพี ืน้ บา้ น
29 วงดนตรพี ื้นบา้ น วงดนตรพี ืน้ บ้าน เป็นวงที่ใช้เครอ่ื งดนตรปี ระจาภมู ภิ าคนั้น ๆ ซึ่งเกิดจากภูมิปัญญาของ คนในท้องถิ่นที่คิดค้นสร้างสรรค์ขึ้น เพื่อให้คนในท้องถิ่นเกิดความสนุกสนาน ผ่อนคลายและ สร้างความสามัคคีในท้องถิ่น ในแต่ละภาคจะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม ประเพณี วิถีการดาเนินชีวิตและภาษา แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลางและ ภาคใต้ ที่มา : abird ทีม่ า : กลุ่มงานด้านประกนั คุณภาพ ที่มา : SANOOK ที่มา : Tammanit Nikomrat
30 วงดนตรีพื้นบา้ นภาคเหนือ วงสะล้อ ซอ ซึง วงสะล้อ ซอ ซึง เป็นวงดนตรีที่นาเคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองสายของภาคเหนือ และเคร่ืองกากับจังหวะมาบรรเลงรวมกัน ไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน บางคร้ังมีการนาปี่จุมเข้ามา บรรเลงรว่ มด้วย และมีการขับร้องเพลงประกอบโดยใช้ทานองพืน้ บ้าน เครื่องดนตรีในวงสะล้อ ซอ ซึง ได้แก่ สะลอ้ ซึง กลองเต่งทงึ้ ฉิง่ ฉาบ ปี่จุม โอกาสที่ใชบ้ รรเลง ใช้บรรเลงในงานทัว่ ไป การบรรเลง วงสะล้อ ซอ ซึง ที่มา : เฮือนดนตรี สีเขียว
31 วงกลองสะบัดชยั วงกลองสะบัดชัย เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนาอย่างหนึ่ง พบเห็นในขบวน หรอื การแสดงในงานวฒั นธรรมต่าง ๆ เช่น งานขนั โตก งานต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง เปน็ ต้น เครือ่ งดนตรีในวงกลองสะบดั ชัย ได้แก่ กลองสะบัดชัย ฉาบใหญ่ โหม่ง โอกาสที่ใชบ้ รรเลง ใช้บรรเลงในงานแสดงตา่ ง ๆ การบรรเลง วงกลองสะบดั ชัย ที่มา : เสกสรร ป้ัน Youtube
32 วงดนตรีพืน้ บ้านภาคอสี าน วงโปงลาง วงโปงลาง เป็นวงที่มลี กั ษณะการแสดงของวงอยู่ 3 ประเภท คือ การบรรเลงลายเพลง พืน้ บ้านอสี าน การฟ้อนประกอบดนตรี และการรอ้ งราประกอบดนตรี เคร่ืองดนตรีในวงโปงลาง ได้แก่ โปงลาง แคน พิณ โหวด กลองหาง กลองตุ้ม ฉาบใหญ่ ฉิ่ง โอกาสทีใ่ ชบ้ รรเลง ใช้บรรเลงในงานท่ัวไป การบรรเลงวงโปงลาง ที่มา : ฮักแพงศิปล์ สตูดิโอ
33 วงดนตรีพืน้ บ้านภาคกลาง วงกลองยาว เครื่องดนตรีในวงกลองยาว ได้แก่ กลองยาว ฉิ่ง ฉาบ โหม่ง โอกาสทีใ่ ชบ้ รรเลง ใช้บรรเลงในงานท่วั ไป การบรรเลงวงกลองยาว ที่มา : Thai Dance Show by ไอยรัศมิ์
34 วงดนตรีประกอบการละเล่นลาตดั เครื่องดนตรีในวงดนตรีประกอบการละเล่นลาตัด ได้แก่ รามะนาลาตัด ฉิ่ง ฉาบ กรับ โอกาสทีใ่ ชบ้ รรเลง ใช้บรรเลงประกอบการละเล่นลาตดั การบรรเลงวงดนตรี ประกอบการแสดงลาตดั ทีม่ า : Chanya Jangsiriwattana
35 วงดนตรีพืน้ บ้านภาคใต้ วงดนตรีประกอบการแสดงมโนราห์ เครือ่ งดนตรีทีใ่ ชป้ ระกอบการแสดงมโนราห์ ได้แก่ กลองตุ๊ก ทับ ฆ้องคู่ ฉิ่ง ปี่นอก โอกาสทีใ่ ชบ้ รรเลง ใช้บรรเลงประกอบการแสดงมโนราห์ การบรรเลงวงดนตรี ประกอบการแสดงมโนราห์ ทีม่ า : OAR Channel
36 วงดนตรีประกอบการแสดงรองแง็ง เคร่ืองดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงรองแง็ง ได้แก่ ไวโลอิน แมนโดริน รามะนา แอคคอเดียน รามะนา ฆ้อง โอกาสทีใ่ ชบ้ รรเลง ใช้บรรเลงประกอบการแสดงรองแง็ง การบรรเลงวงดนตรี ประกอบการแสดงรองแง็ง ที่มา : Siammelodies
37 แบบฝกึ หดั ที่ 2 ชื่อ - สกุล........................................................................ชน้ั ................เลขที่................ ตอนท่ี 1 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกชอ่ื เครือ่ งดนตรพี ืน้ บ้านได้ถกู ต้อง 2. จัดประเภทของเคร่ืองดนตรพี ืน้ บ้านได้ถูกต้อง คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (6 คะแนน) 1. เครื่องดนตรีพ้ืนบ้านภาคเหนอื มีเครอ่ื งดนตรอี ะไรบ้าง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 2. เครื่องดนตรีพ้ืนบ้านภาคอีสาน มีเครอ่ื งดนตรอี ะไรบ้าง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 3. เครื่องดนตรพี ืน้ บ้านภาคกลาง มีเคร่อื งดนตรอี ะไรบ้าง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................
38 4. เครื่องดนตรพี ืน้ บ้านภาคใต้ มีเคร่อื งดนตรอี ะไรบ้าง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 5. วงดนตรีพ้ืนบ้าน มีความหมายว่าอย่างไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 6. นกั เรียนมีแนวทางในการอนรุ กั ษ์ดนตรพี ืน้ บ้านอย่างไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................
39 ตอนท่ี 2 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ จดั ประเภทของวงดนตรีพ้ืนบ้านได้ถกู ต้อง คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อวงดนตรีพื้นบ้านของแต่ละภาคลงในแผนภาพที่ครูกาหนดให้ ( 4 คะแนน ) วงดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ วงดนตรีพื้นบ้านภาคอสี าน
40 วงดนตรีพื้นบ้านภาคกลาง วงดนตรพี ืน้ บ้านภาคใต้ สรปุ การประเมนิ คะแนนเตม็ 10 ได้...................... ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไปจงึ ผ่านเกณฑ์
41 แบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่อง ดนตรพี ื้นบ้าน คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง ของกระดาษคาตอบที่กาหนดให้โดย เลือกข้อทีถ่ กู ต้องเพียงขอ้ เดียว (ข้อสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1. จากรปู เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงอยู่ในวงใด ก. วงโปงลาง ข. วงสะล้อ ซอ ซึง ค. วงกลองสะบดั ชัย ง. วงกลองยาว 2. ข้อใดเปน็ เครือ่ งดนตรีของวงโปงลางทั้งหมด ก. โปงลาง แคน สะล้อ ทับ ข. โปงลาง แคน โหวด กลองหาง ค. โปงลาง กลองสะบัดชัย ซึง ปี่จุม ง. โปงลาง รามะนาลาตัด ทับ กลองเต่งทงึ้
42 3. ปี่จุมเปน็ เครื่องดนตรีที่บรรเลงอยู่ในวงใด ก. วงโปงลาง ข. วงกลองยาว ค. วงปี่พาทย์ ง. วงสะล้อ ซอ ซึง 4. ฆ้องคเู่ ป็นเครือ่ งดนตรีพ้นื บ้านภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคใต้ ค. ภาคอีสาน ง. ภาคกลาง 5. จากรูปเป็นเครื่องดนตรีทีม่ ชี ื่อวา่ อะไร ก. กลองตมุ้ ข. กลองเต่งทึง้ ค. กลองสะบัดชัย ง. กลองหาง
43 6. กลองใดที่นยิ มตกแตง่ ตัวกลองให้สวยงามด้วยผา้ สี ก. กลองสะบัดชัย ข. กลองหาง ค. กลองยาว ง. กลองเต่งทึง้ 7. วงดนตรใี นข้อใดที่เปน็ วงดนตรพี ืน้ บ้านภาคกลาง ก. วงสะล้อ ซอ ซึง ข. วงกลองสะบัดชยั ค. วงดนตรีประกอบการละเล่นลาตัด ง. วงดนตรปี ระกอบการแสดงรองแงง็ 8. ซึงจดั เป็นเครื่องดนตรีพ้ืนบ้านภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคอีสาน ค. ภาคกลาง ง. ภาคใต้
44 9. ข้อใดเปน็ เครือ่ งดนตรพี ื้นบ้านภาคเหนือทั้งหมด ก. ปี่จุม กลองตุ๊ก ฆ้องคู่ แคน ข. ซึง สะล้อ แคน กลองยาว ค. กลองหาง กลองตุ้ม ทับ แคน ง. สะลอ้ กลองสะบัดชัย ซึง กลองเต่งทงึ้ 10. เครื่องดนตรีใดที่เปน็ เครื่องดนตรีประกอบการแสดงมโนราห์ ก. กลองตกุ๊ ข. กลองหาง ค. กลองสะบดั ชยั ง. กลองตมุ้
45 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน เรือ่ ง ชื่อ - สกลุ ...........................................................................ช้ัน................เลขที่................ คาชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบในแบบทดสอบ แล้วทาเครือ่ งหมาย ลงใน ในข้อ ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ขอ้ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม สรุปการประเมนิ ผล คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ แบบทดสอบก่อนเรียน 10 แบบทดสอบหลังเรยี น 10 สรปุ การประเมนิ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ จึงผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์
46 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. กลุ่มดา้ นประกันคุณภาพ. (2552) การประกวดวงโปงลาง งานเกษตรอีสานใต้ประจาปี 2552 “เกษตรกรไทย : สู้ภัยเศรษฐกิจ [ออนไลน์] http://www.agri.ubu.ac.th/album/view. php?GalleryID=0000588 สืบค้นเมือ่ 13 สิงหาคม 2562. จรี พนั ธ์ สมประสงค์. (2560). หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ม.1 เล่ม 2. กรงุ เทพมหานคร : แม็คเอ็ดดเู คชน่ั บ้านเพลงอินทนิล. (2563). บรรเลงโหวด สายสดุ สะแนน โดย {ว่าที่ ร.ต.ราเมศวร์ สเุ รรมั ย์ }. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch?v= oXevlwCxxaw สืบค้นเมื่อ 19 กรกฏาคม 2563. เพจโพนเมืองลงุ ค่ายโพนป่ายางหูเย็น รับทากลองตะโพน กลองมโนราห์และจาหน่าย. (2561). กลองโนรา. [ออนไลน์] www.facebook.com/โพนเมืองลงุ -ค่ายโพนป่ายางหเู ยน็ -รับทา กลองตะโพน-กลองมโนราห์-และจาหน่าย- 897260800339321/photos/a.901696283229106/1800638706668188 สืบค้น เมือ่ 8 สิงหาคม 2562. เพจร้านขอนแก่นมรดกอีสาน. (2562). กลองตมุ้ . [ออนไลน์] www.facebook.com/ moradokesan/photos/a.2265494146996690/2432755456937224?_rdc=1&_rdr สืบค้นเมอื่ 15 มีนาคม 2563. เพจร้านปรินญาภัครดนตรีไทย ขายสะล้อ ซอ ซึง เครื่องดนตรีไทย. (2563). ซึง. [ออนไลน์] https://web.facebook.com/playwhite555/photos/a.302586166608251/144696073 2170783 สืบค้นเมอื่ 20 มิถุนายน 2563. เพจเรียนนาฏศลิ ป์กับครูน้าตาล. (2560). พิณน้าเต้า. [ออนไลน์] www.facebook.com/ teachernumtarn/photos/1965776203666528 สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2562. เพจเรียนนาฏศลิ ป์กบั ครนู ้าตาล. (2560). พิณเปีย๊ ะ. [ออนไลน์] www.facebook.com/ teachernumtarn/photos/1965776203666528 สืบค้นเม่ือ 8 สิงหาคม 2562.
47 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) มรดกปญั ญาทางวันฒนธรรม. (2555). รองแง็ง. [ออนไลน์] http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/performing-arts/238-stage/372--m-s สืบค้นเมื่อ 22 สิงหาคม 2562. มดื ฝนโปรดักชนั่ MuedfonProduction. (2563). ตั้งเจียงใหม่ จะปุ ละม้าย (25นาที)//ปี่จมุ เดอะ ซีรสี ์. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch?v=d8t0E1vAD3I สืบค้นเม่อื 19 กรกฏาคม 2563. โลกดนตร.ี (ม.ป.ป.). ฆ้องค.ู่ [ออนไลน์] som3737np.wordpress.com/ฆ้องค/ู่ สืบค้นเมอ่ื 8 สิงหาคม 2562. วฒั นธรรมภาคใต้. (2559). ทบั . [ออนไลน์] https://sites.google.com/site/wathnthrrmphatti/home/kheruxng-dntri-phun-ban- phakh-ti สืบค้นเม่อื 8 สิงหาคม 2562. วิชา เชาว์ศลิ ป์. (2541). ลาตัด. [ออนไลน์] file:///C:/Users/ACER/Downloads/ct069%20(1).pdf สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2562. ศาสตร์แหง่ ครูหมอโนรา. เคร่อื งดนตรโี นรา. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์] http://krunora.blogspot.com/p/blog- page_5844.html สืบค้นเม่ือ 20 สิงหาคม 2562. สนัน่ ธรรมธิ. (2550) นาฎดุริยการลา้ นนา. เชียงใหม่ : สานกั ส่งเสริมศลิ ปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ สมุ นมาลย์ นม่ิ เนติพันธ์และคณะ. หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ม.1. (พิมพ์ครง้ั ที่ 5). กรุงเทพมหานคร : อักษรเจรญิ ทัศน์ เสกสรร ป้นั Youtube. (2558). กลองสะบดั ชยั . [ออนไลน์] https://www.youtube .com/watch?v=duZvX75_y_k สืบค้นเมอื่ 19 กรกฏาคม 2563. เสรฐั มาเกิด. (2558). พณิ อีสาน. [ออนไลน์] https://sites.google.com/site/muibangna/phin- xisan สืบค้นเมอ่ื 8 สิงหาคม 2562. อรวรรณ ขมวัฒนาและคณะ. (2562) หนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.1. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพฒั นาคุณภาพวิชาการ ออย สะดอื ไง. (2559). เดี่ยวกลอง วงโปงลางสาเกตนคร. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch?v=WypCZZU3t_8 สืบค้นเมอ่ื 19 กรกฏาคม 2563.
Search