Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฎิบัติการประจำปี 2562

แผนปฎิบัติการประจำปี 2562

Published by กลุ่ม นโยบายและแผน, 2023-06-21 06:50:05

Description: แผนปฎิบัติการประจำปี 2562

Search

Read the Text Version

กลมุ นโยบายและแผน งานนโยบายและแผนงาน แผนปฏบิ ตั ิราชการ ปงบประมาณ 2562

แผนปฏิบตั ิราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 สว นท่ี 1 ~2~

แผนปฏิบัตริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 สภาพทวั่ ไป พังงา เปนจังหวัดท่ีมีภูมิประเทศสวนใหญเปนปาเขา มีพ้ืนที่ 4,170.895 ตารางกิโลเมตร อยูหางจากกรุงเทพฯ ประมาณ 788 กิโลเมตร ช่ือของ จังหวัดพังงาน้ันเดิมนาจะเรียกวา “เมืองภูงา” ตามช่ือเขางา หรือเขาพังงา ซ่งึ อยูใ นตัวเมืองพังงาในปจจุบัน เมื่อต้ังเมืองขึ้นจึงเรียกกันวา “เมืองภูงา” เมือง ภงู านอี้ าจจะตง้ั ชื่อใหคลอ งจองเปน คกู ับเมืองภเู กต็ มาแตเ ดมิ ก็ได แตเหตุท่ี เมืองภงู ากลายเปนเมอื งพังงานน้ั สนั นษิ ฐานวานาจะมาจากเมืองภงู า เปน เมืองท่ีมีแรอุดมสมบูรณจึงมีฝรั่งมาติดตอซ้ือขายแรดีบุกกันมาก และฝรั่ง เหลา นค้ี งจะออกเสียงเมืองภูงาเปนเมือง “พังงา” เพราะแตเดิมฝร่ังเขียน เมืองภูงาวาPHUNGA หรือ PUNGA ซ่ึงอาจอานวา ภูงา หรือจะอานวา พั ง ง า ห รื อ พั ง ก า ก็ ไ ด “ไขมุกอันดามัน” เปนช่ือเรียกอีกอยางนึงของจังหวัดภูเก็ต(Phuket) ซ่ึงเปนแหลงทองเท่ียวท่ีมีชื่อเสียง ระดับโลก ถาใครเคยไปเท่ียวจะรูเลย วาเสนหของภูเก็ตที่ทําใหนักทองเที่ยวประทับใจ ไมไดมีเพียงแค วิวสวยๆ ของทะเลอันดามันเทาน้ัน ยังมีกิจกรรมการ ทองเที่ยวสนุกๆ ใหเลือก มากมาย รวมถึงบรรยากาศของเมือง ท อ ง เ ท่ี ย ว ที่ คึ ก คั ก แ ล ะ มี ชีวิตชีวาเหมาะเปนอยางย่ิงกับ การหลกี หนคี วามวุนวายใน ชีวิตประจําวัน ไปพักผอน เจอผูคนท่ีย้ิมแยมแจมใส เ ป น มิ ต ร ชิ ม อ า ห า ร พน้ื เมืองอรอยๆ และโรงแรมท่ีพัก ซ่ึ ง มี ใ ห เ ลื อ ก ห ล า ย ร า ค า และบรรยากาศ ส ภ า พ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ภู เ ก็ ต เ ป น เ ก า ะ ขนาดใหญ ตั้งอยูบนภาคใตฝงทะเลอันดา มัน มีพื้นท่ีประมาณ 543ตารางกิโลเมตร ซ่ึงถือเปนเกาะท่ีใหญท่ีสุดในประเทศไทย เชอ่ื มตอ กบั แผน ดนิ ใหญท ีจ่ งั หวัดพงั งา ผาน ทางสะพานสารสิน และทางหลวงหมายเลข 402 อยูหางจากกรุงเทพเกอื บๆ 900 กโิ ลเมตร มปี ระชากรประมาณ 3 แสนกวาคน และเน่ืองจากเปนท่ีตง้ั ของสนามบนิ นานาชาติ ทําใหภ เู กต็ เปน จุดตัง้ ตน ในการเดินทางไปตามแหลงทอ งเท่ียวและเกาะแกงตาง ในจังหวัดรอบๆ อยางเกาะพีพี อุทยานแหงชาติหมูเกาะสิมิลัน หรือหมูเกาะสุรินทร ซ่ึงอยูในจังหวัด พังงาและกระบ่ีแหลงทองเท่ียวที่มีช่ือเสียงของภูเก็ตมีมากมายหลายแหง โดยเฉพาะหาดทราย ที่อยู ทางดา นตะวนั ตกของเกาะ นบั ต้งั แตท างเหนอื ลงไปกจ็ ะเปนหาดไมขาว ~3~

แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 หาดในยาง หาดบางเทา หาดสุรินทร หาดกมลา หาดปาตอง หาดกะรนหาดกะตะ หาดในหาน และ ทส่ี ุดปลายเกาะคือแหลมพรหมเทพ “ระนอง” ภมู ปิ ระเทศประกอบดว ย ทวิ เขา หบุ เขาสลับซับซอน ทาง ทศิ ตะวันออกของจังหวัด พ้ืนท่ีลาดเอียงลงสูทะเลอันดามันทางทิศ ตะวันตก ภูเขาสูงสุด คือ ภูเขาพอตาโชงโดง สูง 1,700 ฟุต นอกจากน้ี ยังมีท่ีราบแคบ ๆ ระหวางแนวภูเขากับชายฝงทะเล กอใหเกิดลํานํ้าสายสั้น ๆ หลายสาย แมน้ําท่ีสําคัญ ไดแก แมน้ํา กระบุรี เปนแมน้ําสายสําคัญท่ีก้ันพรมแดนไทย – พมา ตนน้ําเกิด จากเขานํ้าตุนและเขาจอมแห ทางทิศเหนือ ไหลลงทะเลอันดามัน ยาวประมาณ 95 กโิ ลเมตรคลองลําเลียง ตนน้าํ เกิดจากเขาบางใหญ และเขาแดนทางทศิ เหนอื ไหลลงสแู มนํา้ กระบุรี ท่บี านนานอย ยาวประมาณ 30 กโิ ลเมตร คลองวัน ตนน้ําเกิดจากเขาหินลุ ทางทิศเหนือของจังหวัดไหลลงสูแมนํ้ากระบุรี ที่บานทับหลี ยาว ประมาณ 20 กิโลเมตรคลองกระบุรี ตนนาํ้ เกิดจากเขาผักแวน เขตชุมพร – ระนอง แมน้ํากระบุรี ผาน อาํ เภอกระบุรี ยาวประมาณ 20 กโิ ลเมตรคลองละอุน ตน นํา้ เกิดจากเทอื กเขาหว ยเสยี ด และเขาหินดาน ทางทศิ ตะวนั ออกไหลลงสแู มนํา้ กระบุรีท่ีบา นเขาฝาชี ยาวทั้งหมดประมาณ 35 กิโลเมตร คลองหาดสม แปน ตนนํ้าเกิดจากเทือกเขาจอมแหลม และเขานมสาวไหลลงสูทะเลอันดามัน ท่ีบานเกาะกลาง ยาว ท้งั หมดประมาณ 19 กิโลเมตรคลองกะเปอร ตนน้ําเกดิ จากเขายายหมอน ไหลลงสูทะเลอันดามันท่ีบาน บางลําพู ยาวทงั้ หมดประมาณ 32 กโิ ลเมตรคลองกาํ พวน ตนนํา้ เกิดจากเขาพระหมี ไหลลงสทู ะเลอนั ดา มันทบี่ า นกาํ พวน ยาวทั้งหมดประมาณ 19 กโิ ลเมตร ระนองเปนจังหวัดภาคใตตอนบน ดานทิศตะวันตกติดกับทะเลอันดามัน และ ประเทศพมา โดยมีระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ผานทางหลวงแผนดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม ) ประมาณ 568 กโิ ลเมตร มเี น้ือท่ีประมาณ 3,298.045 ตารางกโิ ลเมตร ( 2,061,278 ไร ) เปนจังหวดั ที่มีพ้ืนที่มาก เปน อนั ดับที่ 60 ของประเทศไทยเปนพ้ืนท่ีราบ 14% และภูเขา 86% มเี กาะใหญนอ ยในทะเล อันดามัน จํานวน 62 เกาะ และมีอาณาเขตตดิ ตอกบั จงั หวดั ใกลเคียง ดังนี้ ทิศเหนอื : ตดิ ตอ กับ อําเภอทา แซะ จงั หวดั ชุมพร ทิศตะวนั ออก : ตดิ ตอ กบั อาํ เภอเมือง,อาํ เภอสวี,อาํ เภอพะโตะ จังหวดั ชมุ พร และอําเภอ ไชยา ,อาํ เภอทา ฉาง , อาํ เภอบา นตาขุน และกงิ่ อําเภอวิภาวดี จังหวดั ทิศใต ทิศตะวันตก สรุ าษฎรธ านี : ตดิ ตอ กบั อําเภอคุระบรุ ี จังหวดั พงั งา และอําเภอคีรีรัฐนคิ ม จังหวดั สรุ าษฎรธานี : ติดตอ กบั ติดตอกบั ประเทศพมา และทะเลอนั ดามัน ~4~

แผนปฏิบัตริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 อํานาจหนา ที่ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 เปนหนวยงานทางการศึกษาภายใตการ กาํ กับดแู ลของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มภี ารกิจเก่ียวกับการ จัดและการสงเสรมิ การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน โดยมอี าํ นาจหนา ท่ีตามกฎกระทรวงแบงสว นราชการสํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 ดงั นี้ ก. ดําเนนิ การใหเปน ไปตามอํานาจหนาทขี่ องคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (คําสงั่ คสช.ท่ี 10/2559 ลงวันท่ี 21 มีนาคม 2559) ข. มีอํานาจหนา ท่ีเก่ยี วกบั การศึกษาทก่ี าํ หนดไวในกฎหมายน้ี (พรบ.ระเบยี บบรหิ ารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ) และกฎหมายอ่ืนและ ค. มีอํานาจหนาท่ี ดงั นี้ 1) จัดทํานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นทกี่ ารศึกษาใหสอดคลองกับ นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและความ ตอ งการของทองถิ่น 2) วิเคราะหการจดั ตง้ั งบประมาณเงินอดุ หนุนท่ัวไปของสถานศกึ ษา และหนว ยงานในเขตพืน้ ท่ี การศกึ ษา และแจง จัดสรรงบประมาณที่ไดร บั ใหหนวยงานขางตนรับทราบและกาํ กบั ตรวจสอบ ตดิ ตามการใชจา ยงบประมาณของหนวยงานดังกลาว 3) ประสาน สง เสริม สนบั สนุน และพัฒนาหลกั สตู รรวมกบั สถานศึกษาในเขตพื้นท่กี ารศึกษา 4) กาํ กบั ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน และในเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา ~5~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 5) ศึกษา วิเคราะห วจิ ัย และรวบรวมขอ มูลสารสนเทศดา นการศึกษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 6) ประสานการระดมทรพั ยากรดา นตาง ๆ รวมทง้ั ทรพั ยากรบคุ คล เพื่อสงเสรมิ สนับสนุน การ จดั และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 7) จัดระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา 8) ประสาน สงเสรมิ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาองคก รปกครองสว นทองถ่ิน รวมท้ังบุคคล องคก รชุมชน องคกรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอ่ืนที่จัดรปู แบบ ทห่ี ลากหลายในเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา 9) ดําเนนิ การและประสาน สงเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพ้ืนที่ การศกึ ษา 10) ประสาน สงเสริมการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทํางานดานการศึกษา 11) ประสานการปฏบิ ตั ิราชการทัว่ ไปกบั องคกร หนวยงานภาครัฐ เอกชน และองคกรปกครอง สว นทองถิน่ ในเขตพ้นื ที่การศึกษา 12) ปฏิบตั ิหนาท่อี ่ืนเกี่ยวกบั กจิ การภายในเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาทม่ี ิไดร ะบใุ หเ ปน หนา ท่ีของผูใด โดยเฉพาะ หรือปฏิบัติงานอน่ื ตามทม่ี อบหมาย ~6~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจําปง บประมาณ 2562 โครงสรา งการบรหิ ารภายในสํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 14 ~7~

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 ขอ มูลพนื้ ฐาน  โรงเรียนในสังกดั จาํ นวน 27 โรงเรยี น แบง ตามขนาดโรงเรยี น ดังน้ี - ขนาดเล็ก(นกั เรยี น 1 – 499 คน) จํานวน 11 โรงเรียน - ขนาดกลาง (นักเรยี น 500 – 1,499 คน) จาํ นวน 8 โรงเรยี น - ขนาดใหญ (นกั เรยี น 1,500 – 2,499 คน) จาํ นวน 6 โรงเรียน - ขนาดใหญพิเศษ (นักเรียน 2,500 คนขน้ึ ไป) จาํ นวน 2 โรงเรยี น  หองเรียน จํานวน 821 หองเรยี น  นกั เรยี น จํานวน 26,818 คน -ระดบั มัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 15,578 คน -ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จํานวน 11,200 คน - ระดบั ปวช. จํานวน40 คน  นักเรียนพิการเรยี นรวมกบั เดก็ ปกติ * จาํ นวน 309 คน  นกั เรียนดอ ยโอกาสเรยี นรว มกบั เดก็ ปกติ * จาํ นวน 3,405 คน  ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จาํ นวน 1,578 คน - ผบู รหิ าร จํานวน83 คน - ครผู ูส อน จาํ นวน1,466 คน - ศกึ ษานเิ ทศก จาํ นวน4 คน - บุคลากรทางการศกึ ษา จํานวน25 คน  พนักงานราชการ จาํ นวน 65 คน  ลกู จางประจาํ จาํ นวน 40 คน  ครูอตั ราจาง จํานวน 44 คน  กลุม/หนว ย สํานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา จาํ นวน 6 กลุม / 1 หนว ยตรวจสอบภายใน ขอมลู ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2561 ~8~

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจําปงบประมาณ 2562 ผลการดาํ เนนิ งาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14 ตระหนักถึงความจําเปนในการมุงพัฒนา นกั เรยี นทกุ คนในทกุ มิติอยางตอ เนือ่ ง เพื่อใหนักเรียนบรรลุถงึ ศกั ยภาพสูงสดุ ของตน มีความรูและทักษะ การอานเขียนและคดิ คํานวณที่เขมแข็งเปนพื้นฐานสําคัญในการเรียนรูและการดํารงชีวิตในอนาคต ซ่ึง สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 มีผลการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ดังน้ี  ดา นคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา 1) รับมอบโลร างวลั ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) สาระภาษาไทย สูงกวาคาเฉลี่ยระดับประเทศ ปการศึกษา 2560ในวันภาษาไทยแหงชาติ ป 2561 จํานวน 2 รางวัล ไดแก 1.1 รางวัลผล O-NET ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 สงู กวาคา เฉลย่ี ระดับประเทศอันดับ ที่ 4 1.2 รางวัลผล O-NET ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 6 สูงกวาคา เฉล่ยี ระดบั ประเทศอนั ดับ ที่ 4 2) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET)ระดบั ชาติ ดงั ตอไปนี้ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)ในปการศึกษา 2560 ของ นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 และมัธยมศึกษาปที่ 6 ในวิชาหลัก 5 วิชา ไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร องั กฤษ สงั คมศกึ ษา ศาสนาวัฒนธรรม (สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมเฉพาะชั้น ม. 6) มีระดบั คะแนนเฉลี่ยสูงกวาระดับ สพฐ.และระดบั ประเทศ รายละเอียดดังนี้ - วิชาภาษาไทย ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนทุกระดับช้ันคาเฉล่ีย สูงกวาระดับ สพฐ. และ ระดบั ประเทศ โดยชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 มีคาเฉล่ียรวม รอ ยละ 59.22 สวนนกั เรียนมธั ยมศึกษาปท่ี 6 มี คะแนนเฉลย่ี รอยละ 53.44 - วิชาคณิตศาสตร ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทุกระดับชั้นคาเฉลี่ย สูงกวาระดับ สพฐ. และ ระดบั ประเทศ โดยชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 3 มีคาเฉลย่ี รวม รอยละ 31.76 สว นนกั เรยี นมัธยมศึกษาปท่ี 6 มี คะแนนเฉลีย่ รอยละ 27.19 - วิชาวิทยาศาสตร ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนทุกระดับชั้นคาเฉลี่ย สูงกวาระดับ สพฐ. และ ระดบั ประเทศ โดยชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3 มคี าเฉล่ยี รวม รอ ยละ 35.15 สว นนกั เรยี นมัธยมศกึ ษาปท่ี 6 มี คะแนนเฉลย่ี รอยละ 30.70 ~9~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 - วิชาภาษาองั กฤษ ผลสมั ฤทธข์ิ องนักเรียนทุกระดบั ช้นั คาเฉล่ยี สงู กวาระดบั สพฐ. และระดับประเทศ โดย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 มีคาเฉล่ียรวม รอยละ 33.76 สวนนักเรียนมัธยมศึกษาปท ี่ 6 มคี ะแนน เฉลี่ย รอ ยละ 32.09 - วิชาสังคมศึกษา ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทุกระดับชั้นคาเฉลี่ย สูงกวาระดับ สพฐ. และ ระดบั ประเทศ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 มคี ะแนนเฉลีย่ รอยละ 38.26 2.1 ตารางแสดงคะแนนเฉล่ยี O-NET ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ปก ารศึกษา 2560 เปรยี บเทยี บระดบั เขต ระดบั สพฐ. และระดับประเทศ กลุม สาระการเรยี นรู/วิชา ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดับ สพฐ. ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 59.22 48.77 48.29 ภาษาองั กฤษ 33.76 30.14 30.45 คณิตศาสตร 31.76 26.55 26.30 วทิ ยาศาสตร 35.15 32.47 32.28 จากตารางท่ี 2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเฉล่ยี ในระดับมะยมศกึ ษาปที่ 3 ผลการสอบ O - NET ปก ารศึกษา 2560 ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 14 สงู กวา คาเฉลย่ี ระดบั ประเทศทงั้ 4 กลมุ สาระ การเรียนรู ดังแผนภาพขา งลา ง (รอยละ) ~ 10 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปง บประมาณ 2562 2.2 ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี O - NET ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ปการศึกษา 2559 – 2560 กลุม สาระการเรียนร/ู วชิ า ป 2559 ป 2560 ผลตา ง ภาษาไทย 50.38 52.99 2.61 ภาษาองั กฤษ 36.10 33.76 -2.34 คณิตศาสตร 34.38 31.76 -2.62 วิทยาศาสตร 37.77 35.15 -2.62 จากตารางที่ 2.2 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเฉลีย่ ในระดบั มัธยมศึกษาปท่ี 3 ผลการสอบ O - NET ปก ารศึกษา 2559 และ 2560 ระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 14 สูงกวา คา เฉล่ียปก ารศึกษา 2560 ในกลมุ สาระภาษาไทยดงั แผนภาพขางลาง (รอยละ) ~ 11 ~

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจําปง บประมาณ 2562 2.3 ตารางแสดงคะแนนเฉลย่ี O - NET ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 6 ปการศึกษา 2560 เปรียบเทียบระดับ เขต ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ กลมุ สาระการเรยี นร/ู วิชา ระดบั เขตพ้ืนที่ ระดับ สพฐ. ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 53.44 50.07 49.35 สงั คมศึกษา 36.37 34.96 34.70 ภาษาอังกฤษ 32.09 27.91 28.31 คณิตศาสตร 27.19 24.64 24.53 วทิ ยาศาสตร 30.70 29.48 29.37 จากตารางท่ี 2.3 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเฉลี่ยในระดับมะยมศึกษาปที่ 6 ผลการสอบ O – NET ปก ารศกึ ษา 2560 ระดบั เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 14 สูงกวา คาเฉลย่ี ระดบั ประเทศทงั้ 5 กลุมสาระการเรยี นรู ดงั แผนภาพขา งลาง รอ ยละ ~ 12 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 2.4 ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี O – NET ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 6 ระดบั เขตพนื้ ท่ี การศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2559 – 2560 กลุมสาระการเรยี นร/ู วิชา ป 2559 ป 2560 ผลตา ง ภาษาไทย 56.36 53.44 2.92 38.26 36.37 -1.89 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 30.92 32.09 1.17 ภาษาอังกฤษ 27.49 27.19 -0.3 คณติ ศาสตร 32.63 30.70 -1.93 วิทยาศาสตร จากตารางท่ี 2.4 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเฉลีย่ ในระดับมัยมศึกษาปท ่ี 6 ผลการสอบ O - NET ปก ารศกึ ษา 2559 และ 2560 ระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 14 สงู กวา คา เฉลยี่ ปก ารศกึ ษา 2559 ในกลมุ สาระภาษาองั กฤษ ดังแผนภาพขา งลา ง (รอยละ) ~ 13 ~

แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562  ดานโอกาสทางการศึกษา 1) ตารางแสดงขอ มูลนกั เรียน จาํ แนกตามสัญชาติ ปการศกึ ษา 2561 ตารางแสดงขอ มลู นักเรยี นจําแนกตามสัญชาติ ปการศึกษา 2561 สญั ชาติ รวม ม.ตน รวม ม.ปลาย รวมท้งั หมด รอยละ ไทย 15,423 11,184 26,607 99.21 กมั พชู า 10 4 14 0.05 เกาหลีใต 3 10 13 0.05 2 0 2 0.01 จนี 0 3 3 0.01 ญป่ี ุน 0 3 3 0.01 เนปาล 115 28 143 0.53 พมา 2 2 4 0.01 ฟล ิปปน 2 1 3 0.01 อนิ เดีย 1 1 2 0.01 ลาว 11 3 14 0.05 ไมปรากฏสญั ชาติ 9 1 10 0.04 อืน่ ๆ 100 นกั เรียนทั้งหมด 15,578 11,240 26,818 จากตารางแสดงจาํ นวนสัญชาตินกั เรยี น แยกตามสัญชาติ ปการศึกษา 2561 พบวา นกั เรียนในสงั กัดมี สัญชาติไทยมากท่ีสุด จํานวน 26,607 คน คดิ เปนรอยละ 99.21 % ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด รองลงมาคือ สัญชาติพมา จํานวน 115 คน คิดเปนรอยละ 0.53% และสัญชาติกัมพูชา จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 0.05% ตามลาํ ดับ ~ 14 ~

แผนปฏิบตั ิราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 2) จํานวนนักเรยี นท่จี บการศกึ ษาชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ปก ารศกึ ษา 2560 จาํ นวนนกั เรียนท่ีจบการศกึ ษามัธยมศึกษาปที่ 3 ปก ารศกึ ษา 2560 รายการ จาํ นวน (คน) รอ ยละ นักเรียนจบทัง้ หมด 4,892 100 ศกึ ษาตอ ม.4 โรงเรียนเดมิ 2,975 68.56 ศึกษาตอ ม.4 โรงเรียนอื่น ในจงั หวดั เดิม 315 7.26 ศกึ ษาตอ ม.4 โรงเรียนอื่น ในตา งจงั หวดั 115 2.65 ศึกษาตอ ม.4 โรงเรยี นอืน่ ใน กทม. 53 1.22 สถาบันอาชวี ศกึ ษาของรฐั บาล 522 12.03 สถาบนั อาชวี ศกึ ษาของเอกชน 20 0.46 ศึกษาตอสถาบนั อ่ืนๆ 331 7.63 ไมศกึ ษาตอ ทาํ งานอื่นๆ 6 0.14 ไมศ ึกษาตอ ทํางานภาคอตุ สาหกรรม 1 0.02 ไมศึกษาตอ ทํางานภาคอตุ สาหกรรม 1 0.02 ไมศ กึ ษาตอ ทํางานคา ขาย ธุรกิจ 1 0.02 จากตารางแสดงจํานวนนักเรียนท่ีจบการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560 พบวา นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3 สวนใหญจบการศกึ ษาแลวศึกษาตอ โรงเรียนเดมิ คิดเปนรอ ยละ 68.56 รองลงมา ศกึ ษาโรงเรียนอาชีวศกึ ษาของรฐั บาล คดิ เปนรอยละ 12.03 ~ 15 ~

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 3) จํานวนนกั เรยี นทจ่ี บการศึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 6 ปการศกึ ษา 2560 จาํ นวนนักเรยี นท่จี บการศึกษามัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศกึ ษา 2560 รายการ จาํ นวน (คน) รอ ยละ นกั เรยี นจบทงั้ หมด 3,300 100 มหาวทิ ยาลยั ของรฐั 2,244 68 มหาวิทยาลัยเปด ของรฐั 459 13.91 มหาวิทยาลัยของเอกชน 67 2.03 สถาบันอาชวี ศกึ ษาของรัฐบาล 42 1.27 สถาบันอาชีวศกึ ษาของเอกชน 2 0.06 สถาบันพยาบาล 5 0.15 2 0.06 สถาบนั ทหาร 456 13.82 สถาบันอนื่ ๆ 6 0.18 คาขาย ธุรกิจ 1 0.03 งานบรกิ าร 16 0.48 รบั จา งท่วั ไป จากตารางแสดงจํานวนนักเรียนท่ีจบการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2560 พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 6 สวนใหญจบการศึกษาแลวศึกษาตอในมหาวิทยาลัยของรัฐ คิดเปนรอยละ 68 รองลงมาศึกษาตอมหาวิทยาลัยเปดของรัฐ คิดเปนรอยละ 13.91 และศึกษาตอสถาบันอื่น ๆ คิดเปนรอยละ 13.82 ตามลําดับ ~ 16 ~

แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 สวนที่ 2 ทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน นโยบายรัฐบาลดานการศกึ ษา ตามคําแถลงนโยบายของคระรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จนั ทรโอชา นายกรัฐมนตรี แถลงตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ วันศุกรท่ี 14 กันยายน 2557มีเนื้อหาโดยสรุปวา การเขาบริหาร ราชการแผนดินในคร้ังน้ี แมจะเปนการใชอํานาจและทําหนาท่ีตามกฎหมายดังที่รัฐบาลกอน ๆ เคบ ปฎิบตั ิมา แตก็มีเงื่อนไขและเงอ่ื นเวลาบางประการ อันทําใหรัฐบาลน้ีแตกตางจากรฐั บาลอ่ืน ๆ อยูบาง ในดานเงื่อนไข รัฐบาลนี้เขามาสืบทอดงานและสานตอภารกิจจากการที่คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ไดเคยกําหนดแนวทางการแกปญหาของประเทศไวก อนแลวเปน 3 ระยะ ต้ังแตเมื่อเขาควบคุม อํานาจการปกครองประเทศ เม่ือวันท่ี 22 พฤษภาคม 2557โดยระยะแรก ไดมุงเนนระงับยับย้ังความ แตกแยก ยตุ กิ ารใชก ําลังและอาวุธสงครามกอ ความรุนแรง แกไ ขผลกระทบจากการที่รัฐบาลและรฐั สภา กอนหนาน้ัอยุในสภาพที่ไมอาจปฏิบัติหนาท่ีไดตามปกตินานกวา 6 เดือนตลอดจนไดเรงแกไขปญหา ความเดือดรอนเฉพาะหนา ของประชาชน และมุงนาํ ความสงบสุข ความสงบ กลับคนื สูประเทศ จากน้ันเพียง 2 เดือน ก็เขา สู ระยะที่สอง ดว ยการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบบั ชั่วคราว การจัดตัง้ สภานติ ิบัญญัตแิ หง ชาติ (สนช.) การเสนอรา ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และการจัดต้ังคณะรฐั มนตรีชุดน้ี หลังจากนั้น คสช. จะลดบทบาทและภารกิจเปน ที่ปรึกษา และทาํ งานรว มกบั คณะรัฐมนตรีในการพิจารณาหรือแกไขปญหาเก่ียวกับความสงบเรียบรอยหรือความ มั่นคงของชาติ สวนที่จะตามมาในเร็ววันคือ การจัดต้ังสภาปฏิรูปแหงชาติ และคณะธรรมธิการยกราง รฐั ธรรมนญู เพอื่ ออกแบบวางรากฐานทางการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคมอนั มนั่ คงใหแกป ระเทศ กอ นที่จะสงผา นไปสู ระยะท่ีสาม คอื การกาศใชร ฐั ธรรมนญู ฉบับถาวร และการจดั การ เลือกตั้งทั่วไป เง่ือนไขดังกลาวถือเปนพันธกิจที่รัฐบาลจะยังคงยึดมั่นและดําเนินการตอไปโดยที่มาตรา 19 ของรฐั ธรรมนูญฉบบั ปจจบุ ัน ไดกาํ หนด หนา ทีข่ องรัฐบาลไว 3 ประการเปนคร้ังแรก คอื 1) บริหารราชการแผนดิน 2) การดาํ เนินการใหมีการปฏิรูปในดานตาง ๆ 3) การสงเสริมความสามัคคี และความสมานฉันทของประชาชนในชาติ รัฐบาลจึงขอกําหนดนโยบายใหสอดคลองกับหนาท่ีทั้ง 3 ประการดงั กลาวดว ยในดานการบริหารราชการแผน ดนิ รัฐบาลมีนโยบาย 11 ดา น โดยไดนาํ ยุทธศาสตร การพฒั นาประเทศ วาดว ยการเขาใจ เขา ถึง และพัฒนา ตามแนวพระราชดาํ ริของพระบาทสมเดจ็ ~ 17 ~

แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 พระเจาอยูหัว มาเปนหลักสําคัญ ใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งทรงเนนความพอดีพอสมควรแก ฐานะ ความมเี หตุผล และการมีภูมิคุมกันมาเปนแนวคดิ ใชแ ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ ท่ี 11 แนวทางของ คสช. และความตองการของประชาชน เปนแนวทางในการกําหนดนโยบาย ซ่ึง นโยบายทุกดานตองการสรางความเขมแข็งแกองคก รการปกครองทุกระดับ ตั้งแตท้ัองถ่ินถึงประเทศ ตองการเสนอยุทธศาสตรการพัฒนาท่ียั่งยืนและตองการใหประชาชนเกิดความชัดเจน รูลวงหนาวา ประเทศจะกาวทางไหน เพ่ือเตรียมตวั ไดถกู ตอง  นโยบายรฐั บาล 11 ดา น คือ 1) การปกปองเชดิ ชสู ภาบันพระมหากษตั รยิ  2) การรกั ษาความมน่ั คงของประเทศ 3) การลดความเหล่อื มลาํ้ ของสงั คมและการสรา งโอกาสการเขา ถงึ บริการของรฐั 4) การศกึ ษาและเรยี นรู การทะนุบํารุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม 5) การยกระดบั คุณภาพการบริการดานสาธารณสขุ และสขุ ภาพของประชาชน 6) การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ 7) การสงเสรมิ บทบาทและใชโ อกาสในประชาคมอาเซียน 8) การพัฒนาและสง เสรมิ การใชป ระโยชนจ ากวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี การวจิ ัยและ พฒั นา และนวัตกรรม 9) การรกั ษาความ่นั คงของฐานทรพั ยากรและการสรา งสมดลุ ระหวางการอนุรักษก ับ การใชป ระโยชนอยา งยง่ั ยนื 10) การสง เสริมการบรหิ ารราชการแผนดนิ ทม่ี ีธรรมาภิบาลและการปองกันปราบปราม การทุจรติ และประพฤติมชิ อบในภาครฐั 11) ปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม นโยบายการศกึ ษาและเรยี นรู การทะนุบํารุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม รฐั บาลจะนาํ การศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ความภาคภมู ิใจในประวัตศิ าสตร และ ความเปน ไทย มาใชส รา งสงั คมใหเ ขม แขง็ อยา งมีคุณภาพและคุณธรรมควบคกู นั ดงั น้ี 1. จดั ใหม กี ารปฏริ ูปการศกึ ษาและการเรยี นรู โดยใหค วามสาํ คญั ท้งั การศกึ ษาในระบบ และการศกึ ษาทางเลือกไปพรอ มกนั เพือ่ สรา งคณุ ภาพของคนไทยใหสมารถเรยี นรู พัฒนาตนไดเต็มตาม ศักยภาพ ประกอบอาชพี และดํารงชีวติ ไดโดยมีความใฝร แู ละทักษะท่เี หมาะสม เปนคนดมี ีคณุ ธรรม ~ 18 ~

แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 สรางเสริมคุณภาพการเรียนรู โดยเนนการเรียนรูเพื่อสรางสัมมาชีพในพืนที่ ลดความเหลื่อมล้ํา และ พฒั นากาํ ลังคนใหเ ปน ท่ตี องการเหมาะสมกบั พืน้ ที่ทง้ั ในดานการเกษตร อุตสาหกรรม และธรุ กจิ บริการ 2. ในระยะเฉพาะหนา จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษาใหสอดคลอง กับความจําเปนของผูเรียนและลักษณะพื้นท่ีของสถานศึกษา และปรับปรง และบูรณาการระบบการ กูยืมเงินเพ่ือการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือเพ่ิมโอกาสแกผูยากจนหรือดอยโอกาส จัดระบบการ สนับสนุนใหเยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอก โรงเรยี น โดยจะพิจารณาจดั ใหม คี ปู องการศึกษาเปนแนวทางหน่งึ 3. ใหองคกรภาคประชน ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และประชาชนทั่วไป มี โอกาสรวมจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและท่ัวถึง และรวมใสการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู กระจาย อํานาจการบริหารจัดการศึกษาสูสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถ่ินตาม ศักยภาพและความพรอม โดยใหสถานศึกษาสามารหถเปนนิติบุคคลและบริหารจัดการไดอยางอิสระ และคลองตัวขน้ึ 4. พัฒนาคนทุกชวงวยั โดยสง เสริมการเรยี นรตู ลอดชีวติ เพอ่ื ใหส ามารถมคี วามรแู ละทักษะใหม ทส่ี ามารถประกอบอาชพี ไดห ลากหลายตามแนวโนม การจา งงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรูและ หลักสูตรใหเชือ่ มโยงกับภูมสิ ังคม โดยบูรณาการความรแู ละคณุ ธรรมเขา ดว ยกันเพื่อใหเอ้ือตอการพัฒนา ผูเรียนทั้งในดานความรู ทักษะ การใฝเ รียนรู การแกปญหา การรับฟงความเห็นผูอ่ืน การมีคุณธรรม จริยธรรม และความเปน พลเมอื งดี โดยเนน ความรวมมอื ระหวา งผูเ ก่ยี วขอ งท้ังในและนอกโรงเรียน 5. สงเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพื่อสรางแรงงานที่มีทักษะ โดยเฉพาะในทองถิ่นท่ีมีความตองการแรงงาน และพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาใหเช่ือมโยงกับ มาตรฐานวชิ าชีพ 6. พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเปนครู เนน ครูผูส อนใหม ีวฒุ ิตรงตามวิชาที่สอน นําเทคโนโลยสี ารสนเทศและเครื่องมือท่ีเหมาะสมมาใชในการเรยี น การสอน เพื่อเปนเครื่องมือชวยครูหรือเพ่ือการเรียนรูดวยตนเอง เชน การเรียนทางไกล การเรยี นโดย ระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส เปน ตน รวมท้งั ปรับระบบการประเมนิ สมรรถนะทีส่ ะทอนประสิทธิภาพการจัดการ เรียนการสอนและการพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นเปนสําคญั 7. ทะนบุ ํารุงและอุปถัมภพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ สนับสนุนใหองคก รทางศาสนามี บทบาทสําคัญในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชวี ิต สรางสนั ติสุขและความ ปรองดองสมานฉนั ทในสังคมไทยอยา งยงั่ ยืน และมสี ว นรวมในการพัฒนาสงั คมตามความตองการ 8. อนุรักษ ฟนฟู และเผยแพรมรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถิ่น ภูมิปญญาทองถ่ิน รวมทั้งความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมไทย เพอื่ การเรยี นรู สรง ความภาคภูมใิ จในประวตั ศิ าสตร ~ 19 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 และความเปนไทยนําไปสูการสรางความสัมพันธอันดีในระดับประชาชน ระดับชาติ ระดบั ภูมิภาค และ ระดบั นานาชาติ ตลอดจนเพ่ิมมลู คา ทางเศรษฐกจิ ใหแกป ระเทศ 9. สนับสนุนการเรียนรูภาษาตางประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานและวัฒนธรรม สากล และการสรางสรรคงานศิลปะและวัฒนธรรมท่ีเปนสากล เพ่ือเตรียมเขาสูเสาหลักวัฒนธรรมของ ประชาคมอาเซยี นและเพอื่ การเปนสว นหนง่ึ ของประชาคมโลก 10. ปลูปฝงคานิยมและจิตสํานึกท่ีดี รวมท้ังสนับสนุนการผลิตส่ือคุณภาพ เพื่อเปดพื้นที่ สาธารณะใหเยาวชนและประชาชนไดมีโอกาสแสดงออกอยางสรา งสรรค ท้งั น้ี เมอ่ื การแถลงนโยบายสิน้ สดุ ลงแลว รฐั บาลจะมอบหมายใหทุกสว นราชการจัดทํา แผนปฏิบัติราชการดังกลา ว โดยจํากัดกรอบเวลา 1 ป ตามปงบประมาณ และระยะเวลาของรัฐบาล โดยมีสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักงานปลัดสํานัก นายกรัฐมนตรี สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเปนผูติดตามและรายงานผลการดําเนินการตอ คณะรัฐมนตรแี ละ สนช. ตอ ไป ยทุ ธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดว ยการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”นาํ ไปสกู ารพัมนาใหคนไทยมคี วามสขุ และตอบสนอง ตอ การบรรลุซ่งึ ผลประโยชนแ หงชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สรางรายไดระดับสูง เปนประเทศ พัฒนาแลว และสรางความสุขของคนไทย สังคมมีความม่นั คง เสมอภาคและเปนธรรม ประเทศสามารถ แขงขนั ไดใ นระบบเศรษฐกิจ กรอบแนวทางทสี่ ําคัญของยทุ ธศาสตรช าติระยะ 20 ป 1. ยทุ ธศาสตรดา นความม่ันคงประกอบดว ย 5 ประเด็น ไดแ ก 1) การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 2) การปอ งกนั และแกไขปญ หาทมี ผี ลกระทบตอ ความม่ันคง 3) การพฒั นาศักยภาพของประเทศใหพรอมเผชิญภัยคุกคามท่กี ระทบตอความมัน่ คง ของชาติ 4) การบูรณาการความรวมมอื ดานความม่ันคงกับอาเซยี นและนานาชาติ 5) การพัฒนากลไกลการบรหิ ารจัดการความมนั่ คงแบบองคร วม 2. ยุทธศาสตรดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน 1) การเกษตรสรางมูลคา 2) อุตสาหกรรมและบริการแหง อนาคต ~ 20 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 3) สรา งความหลากหลายดา นการทองเทย่ี ว 4) โครงสรา งพื้นฐาน เช่ือมไทย เช่ือมโลก 3. ยุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย 1) การปรับเปลยี่ นคา นยิ มและวัฒนธรรม 2) การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงชวี ิต 3) ปฎิรูปกระบวนการเรยี นรทู ่ีตอบสนองตอ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 4) การตระหนักถึงพหุปญญาของมนษุ ยทห่ี ลากหลาย 5) การเสรมิ สรา งใหค นไทยมีสุขภาวะท่ีดี ครอบคลุมท้ังดา นกาย ใจ สตปิ ญญา และสังคม 6) การสรา งสภาพแวดลอ มทีเ่ อื้อตอ การพัฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย 7) การเสริมสรา งศกั ยภาพการกฬี าในการสรา งคุณคาทางสงั คมและพฒั นาประเทศ 4. ยุทธศาสตรดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 1) การลดความเหลื่อมล้ํา สรา งความเปน ธรรมในทุกมิติ 2) การกระจายศูนยก ลางความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ สงั คมและเทคโนโลยี 3) การเสริมสรา งพลงั ทางสงั คม 4) การเพิ่มขีดความสามารถของชมุ ชนทอ งถิน่ ในการพัฒนา การพงึ่ ตนเองและการจัดการ ตนเอง 5. ยทุ ธศาสตรดานการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปนมิตรกบั สิง่ แวดลอม 1) สรา งการเติบโตอยางยัง่ ยนื บนสังคมเศรษฐกจิ สีเขยี ว 2) สรา งการเตบิ โตอยา งย่งั ยืนบนสงั คมเศรษฐกิจภาคทะเล 3) สรา งการเตบิ โตอยางยง่ั ยนื บนสังคมทเี่ ปน มิตรตอ สภาพภมู ิอากาศ 4) พฒั นาพ้ืนทเี่ มือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ มุง เนน ความเปนเมอื งท่ี เตบิ โตอยางตอ เน่ือง 5) พฒั นาความมนั่ คงนาํ้ พลงั งาน และเกษตรทเี่ ปน มิตรตอ ส่งิ แวดลอม 6) ยกระดับกระบวนทัศนเพ่อื กาํ หนดอนาคตประเทศ 6. ยุทธศาสตรดานการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั 1) ภาครฐั ทีย่ ึดประชาชนเปน ศูนยกลาง ตอบสนองความตอ งการ และใหบรกิ ารอยางสะดวก รวดเร็ว โปรง ใส 2) ภาครัฐบรหิ ารงานแบบบูรณาการโดยมียทุ ธศาสตรช าติเปนเปา หมายและเช่อื มโยงการ พัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทกุ ภารกจิ และทุกพ้นื ที่ ~ 21 ~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 3) ภาครฐั มขี นาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกจิ สงเสริมใหป ระชาชนและทกุ ภาคสวนมีสวนรวม ในการพัฒนาประเทศ 4) ภาครัฐมคี วามทนั สมยั 5) บคุ ลากรภาครัฐเปนคนดแี ละเกง ยดึ หลกั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจิตสํานึก มคี วามสามารถสูง มงุ ม่ัน และเปน มืออาชีพ 6) ภาครฐั มีความโปรง ใส ปลอดทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ 7) กฎหมายมคี วามสอดคลอ งเหมาะสมกับบรบิ ทตาง ๆ และมีเทาทจ่ี ําเปน 8) กระบวนการยตุ ิธรรมเคารพสิทธมิ นษุ ยชนและปฏบิ ตั ิตอ ประชาชนโดยเสมอภาค แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) สว นที่ 3 วตั ถปุ ระสงคแ ละเปาหมายการพฒั นาในชวงแผนพฒั นา ฯ ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 เปนแผนพัฒนาประเทศในระยะ 5 ป (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึง่ แปลงยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) สูการปฏิบัติอยงเปน รูปธรรม ดังน้ี ทิศทางการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 จึงมงุ เตรยี มความพรอ มและวางรากฐาน ในการยกระดับประเทศไทยใหเปนประเทศท่ีพัฒนาแลว มีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ดวยการพัฒนา ตามปรัชฐาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกรอบวิสัยทัศนและเปาหมายอนาคตประเทศไทยป 2580 ซ่ึง กาํ หนดไวในยทุ ธศาสตรช าติระยะ 20 ป เปนกรอบที่แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 มุงตอบสนองวัตถุประสงค และเปาหมายการพัฒนาที่กําหนดภายใตระยะเวลา 5 ป ตอจากนี้ไปพิจารณาจากการประเมิน สภาพแวดลอ มการพัฒนาท้ังจากภายนอกและภายในประเทศท่ีบงช้ีถึงจุดแข็งและจุดออนของประเทศ และการสะทอนถึงโอกาสและความเส่ียงในการที่จะผลักดันขับเคล่ือนใหการพัฒนาในดานตาง ๆ บรรลุผลไดในระยเวลา 5 ปแรกของยุทธศาสตรระยะ 20 ป ท้ังนี้โดยไดคํานึงถึงการตอยอดใหเกิดผล สัมฤทธ์ิอยา งตอเนอ่ื งภายใตแ ผนพัฒนาฯ ฉบับตอๆ ไป ดังนั้น การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 จึงกาํ หนดวตั ถุประสงคแ ละเปาหมายรวมของการพัฒนาได ดังน้ี 1. วตั ถปุ ระสงค 1.1 เพอื่ วางรากฐานใหคนไทยเปน คนทส่ี มบูรณ มีคณุ ธรรมจริยธรรม มรี ะเบียบวินัยคา นยิ มทีด่ ี มี จติ สาธารณะและมีความสขุ โดยมีสขุ ภายะและสุขภาพท่ดี ี ครอบครวั อบอนุ ตลอดจนเปนคนเกง ทีม่ ที กั ษะความรูความสามารถและพัฒนาตนเองไดตอเนอ่ื งตลอดชวี ิต 1.2 เพอื่ ใหคนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ไดรับความเปนธรรมในการเขาถึงทรัพยากร และบริการทางสังคมทมี่ ีคุณภาพ ผูดอยโอกาสไดรับการพัฒนาศกั ยภาพ รวมท้ังชุมชนมีความ เขม แข็งพง่ึ พาตนเองได ~ 22 ~

แผนปฏิบัตริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 1.3 เพ่ือใหเศรษฐกิจเขมแข็ง แขงขันได มีเสถียรภาพ และมีความย่ังยืน สรางความเขมแข็งของ ฐานการผลิตและบริหารเดิมและขยายฐานใหมดดยการใชนวัตกรรมท่ีเขมขนมากข้ึน สราง ความเขมแขง็ ของเศรษฐกิจฐานราก และสรง ความมั่นคงทางพลงั งาน อาหาร และน้าํ 1.4 เพอ่ื รกั ษาและฟน ฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละคุณภาพส่งิ แวดลอมใหสามารถสนบั สนุนการเติบโต ท่ีเปนมิตรกับสง่ิ แวดลอมและการมคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดขี องประชาชน 1.5 เพ่อื ใหการบรหิ ารราชการแผน ดินมปี ระสทิ ธิภาพ โปรงใส ทันสมัย และมีการทํางานเชงิ บูรณา การของภาคกี ารพัฒนา 1.6 เพือ่ ใหมีการกระจายความเจรญิ ไปสูภมู ิภาคโดยการพฒั นาภาคและเมอื งเพื่อรองรบั การพัฒนา ยกระดบั ฐานการผลติ และบริการเดิมและขยายฐานการผลติ และบริการใหม 1.7 เพ่ือผลักดันใหประเทศไทยมคี วามเช่ือมโนง (Connectivity) กับประเทศตา ง ๆ ท้งั ในระดบั อนุภูมภิ าค ภูมิภาค และนานาชาตไิ ดอ ยางสมบูรณแ ละมีประสิทธภิ าพ รวมทงั้ ใหประเทศไทยมี บทบาทนาํ และสรงสรรคในดา นการคา การบริการ และการลงทนุ ภายใตก รอบความรว มมือ ตา ง ๆ ทัง้ ในระดบั อนภุ ูมิภาค ภมู ิภาค และโลก 2. เปาหมายรวม เพอื่ ใหเปน ไปตามวัตถปุ ระสงคดังกลาว ไดก ําหนดเปา หมายรวมการพฒั นาของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12 ประกอบดวย 2.1 คนไทยมีคุณลักษณะเปนคนไทยท่ีสมบูรณ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐาน ท่ีดีของสังคม มีความเปนพลเมืองตื่นรู มีความสามารถในการปรับตัวไดอยางรูเทาทัน สถานการณ มีความนบั ผดิ ชอบและทําประโยชนตอสวนรม มีสุขภาพภายและใจท่ีดี มีความ เจริญงอกงามทางจิตวญิ ญาณ มีวิถชึ ีวิตทพี่ อเพยี ง และมคี วามเปนไทย 2.2 ความเหล่ือมล้ําทางดานรายไดและความยากจนลดลง เศรษฐกิจบานรากมีความเขมแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสการเขาถึงทรัพยกร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมี คุณภาพอยางทั่วถึง และเปนธรรม กลุมที่มีรายไดตํ่าสุดรอยละ 40 มีรายไดเพ่ิมขึ้นอยางนอย รอยละ 15 2.3 ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็งและแขงขันได โครงสรางเศรษฐกิจปรับสเู ศรษฐกิจฐานบริการ และดิจทิ ัล มผี ูประกอบการรุนใหมแ ละเปน สังคมผปู ระกอบการ ผูประกอบการขนาดกลางและ ขนาดเลก็ ท่เี ขมแขง็ สามารถใชน วัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการสรา งสรรคค ณุ คา สินคา และ บริการมีระบบการผลติ และใหบริการจากฐานรายไดเดมิ ที่มีมูลคา เพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนใน การผลิตและบริการ มีระบบการผลิตและใหบริการจากฐานรายไดเดิมทีทมีมูลคาเพ่ิมสูงข้ึน และมีการลงทนุ ในการผลิตและบรกิ ารฐานความรูช ัน้ สงู ใหม ๆ ท่ีเปน มิตรกับสง่ิ แวดลอมและ ~ 23 ~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 ชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตการใหบริการสภู ูมิภาคเพ่ือลดความเหล่ือมล้ํา โดยเศรษฐกจิ ไทยมีเสถียรภาพและมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 5 ตอป และมีปจจัยสนับสนุน อาทิ ระบบโลจิสตกิ ส พลังงาน และการลงทุนวิจัยและพัฒนาท่ีเอ้ือตอการขยายตัวของภาคการผลิต และบริการ 2.4 ทนุ ทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดลอมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีความมั่นคงทางอาหาร พลงั งาน และนาํ้ โดยเพมิ่ พื้นทป่ี าไมใหไดรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพอื่ รกั ษาความสมดุลของระบบนิเวศ ลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคพลังงานและขนสงไม นอยกวารอยละ 7 ภายในป 2563 เทียบกับการปลอยในกรณีปกติ มีปริมาณหรือสัดสวนของ ขยะมูลฝอยทไ่ี ดรับการจัดการอยา งถูกหลกั สุขาภิบาลเพิ่มขึ้น และรกั ษาคุณภาพนํ้าและคณุ ภาพ อากาศในพืน้ ท่วี กิ ฤติใหอ ยใู นเกณฑม าตรฐาน 2.5 มคี วามมัน่ คงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สรางภาพลักษณด ี และเพม่ิ ความ เชื่อมั่นของนานาชาติติ่ประเทศไทย ความขัดแยงทางอุดมการณและความคิดในสังคมลดลง ปญหาอาชญากรรมลดลงปริมาณความสูญเสียจากภัยโจรสลัดและการลักลอบขนสงสินคาและ มนุษยลดลง มีความพรอมท่ีปกปองประชาชนจากการกอการรายและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ประเทศไทยมีสวนรวมในการกําหนดบรรทัดฐานระหวางประเทศ เกิดความเช่ือมโยงการขนสง โลจิสติกส หวงโซมูลคา เปนหุนสวนกการพัฒนาท่ีสําคัญในอนุภูมภิ าค ภูมิภาค และโลก และ อัตราการเติบโตของมูลคาการลงทุนและการสงออกของไทยในอนุภูมิภาค ภูมิภาคและอาเซยี น สงู ขนึ้ 2.6 มีระบบบริหารจัดากรภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปรงใส ตรวจสอบได กระจายอํานาจ และมีสว นรวมจากประชาชน บทบาทภาครัฐในการใหบริการซึ่งภาคเอกชนดําเนินการแทนได ดีกวา ลดลง เพิ่มการใชระบบดิจิทัลในการใหบริการ ปยหาคอรรับช่ันลดลง และการบริหาร จดั การขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ มีอิสระมากขนึ้ โดบอนั ดบั ประสทิ ธิภาพภาครัฐท่ีจัดทําโดย สถาบนั การจดั การนานาชาตแิ ละอนั ดบั ความยากงายในการดําเนินธุรกิจในประเทศดีขึ้น การใช จา ยภาครฐั และระบบงบประมาณมีประสธิ ภิ าพสูง ฐานภาษีกวางขึ้น และดัชนีการรบั รกู ารทุจริต ดขี ้นึ รวมถึงมีบุคลากรภาครัฐทีม่ คี วามรูค วามสามารถและปรับตัวไดท ันกับยคุ ดจิ ิทัลเพ่ิมขน้ึ ~ 24 ~

แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 นโยบายและจดุ เนนการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปง บประมาณ พ.ศ.2562 นโยบายและจุดเนนการจัดการศึกษา ตามกรอบการปฏิรูปการศึกษา การนอมนําพระราช กระแสของสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 10 ดา นการศึกษา ท่ีจะตอ งมุงสรา งพ้ืนฐานใหเด็ก เยาวชน และผูเรยี นมที ัศนคติที่ถูกตองในเรื่องสถาบันหลักของชาติ สรางพื้นฐานชวี ิต (อปุ นสิ ยั ) ท่ีเขมแข็ง สราง ความรู ทักษะเพื่อใหมีอาชพี มีงานทํา และไดนําเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ดานการเสรมิ สรางศักยภาพและทรัพยากรมนุษย ที่มุงใหคนไทยเปนคนดี คนเกง มีคุณภาพ พรอมสําหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี 21 และยึดเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 ท่ีกําหนดหลกั การในสว นท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กเล็ก (ปฐมวัย) ท่ีสําคัญไดยึด วัตถุประสงคข องการปฏริ ูปการศกึ ษา ภายใตแ ผนปฏริ ูปประเทศดานการศกึ ษา ในประเด็นสาํ คญั คอื 1) ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา 2) ลดความเหล่ือมล้ําทางการศกึ ษา 3) มงุ ความเปนเลศิ และสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ 4) ปรับปรงุ ระบบการศึกษาใหมีประสทิ ธิภาพ  หลกั การ 1. ประชาชนทกุ กลุมทกุ วยั ไดร ับการศกึ ษาในระบบตา ง ๆ และการเรียนรตู ลอดชีวิต 2. เดก็ เยาวชน ผูเรยี น มที ศั นคตทิ ถี่ ูกตอง มีพื้นฐานชีวิตทเี่ ขมแข็ง (สุขภาพ และอุปนิสยั ) 3. จดั การศกึ ษาใหส อดคลอ งกบั ทศิ ทางการพฒั นาประเทศและการเปลีย่ นแปลงของสังคมโลก จดุ เนนการจดั การศกึ ษาระดบั กอนอนุบาล ระดบั อนุบาล ระดับประถมศกึ ษา/มัธยมศกึ ษา ระดบั อาชวี ศกึ ษา และระดบั อุดมศึกษา ดงั นี้ 1. ระดบั กอนอนุบาล เนนประสานหนว ยงานอืน่ ในการเตรียมความพรอ มผูเ รยี นในดา นสุขภาพ และโภชนาการ 2. ระดบั อนบุ าล เนน ความรว มมือ รฐั ทองถ่ิน เอกชน พอแมและผปู กครอง ในการจัดศึกษา ระดับอนุบาล โดยมจี ดุ เนน - พัฒนาผเู รียนใหมีความพรอ มทางดานรา งกาย จิตใจ สตปิ ญญา อารมณ และสงั คม - จัดประสบการณการเรียนรู เนน การเรยี นปนเลน เรยี นรอู ยางมคี วามสุข และสรา ง กิจกรรมเสริม 3. ระดับประถมศกึ ษา/มัธยมศึกษา ครแู ละผเู รยี นสรา งกระบวนการเรยี นรรู ว มกนั และจดั การ เรยี นรแู บบองครวม จดั แหลงเรยี นรเู พ่ือพัฒนาผูเรยี นใหมีคณุ ภาพ โดยมีจุดเนน - เรยี นภาษาไทย เนนเพือ่ การสอื่ สาร และใชเ ปนเครอื่ งมือเพื่อเรยี นวชิ าอน่ื - เรยี นภาษาองั กฤษ เนน เพ่อื การส่ือสาร ~ 25 ~

แผนปฏิบัตริ าชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 - เรียนรูดวยวิธีการ Active Learning เนนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรูจาก สถานการณจริง สถานการณจําลอง กิจกรรมการเรียนรูจากปญหาและการลงมือ ปฏิบัติ สามารถเรยี นรไู ดท กุ ทท่ี ุกเวลา และเรียนรอู ยา งมีความสขุ - เรียนรู Digital และใช Digital เปนเครือ่ งมือการเรียนรู - สง เสริมการเรยี นวทิ ยาศาสตรเ พื่อสรา งนวัตกรรม - จัดการเรยี นรทู ห่ี ลากหลาย ท่ีเช่ือมโยงสอู าชีพและการมงี านทาํ - พัฒนาครูตามความตองการของครแู ละสถานศึกษา (คปู องครู) - จัดใหม ีโครงการ 1 ตาํ บล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ 4. ระดบั อาชวี ศึกษา จดั การศึกษาเพื่อการมงี านทาํ ใหส อดคลอ งกับนโยบายรัฐบาล และความ ตอ งการของสงั คม ทั้งภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม บรกิ าร และเปน ผปู ระกอบการเอง โดยมี จดุ เนน - จัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี พฒั นาผูเ รยี นใหมีทักษะและความเชี่ยวชาญในอาชพี เฉพาะ ดา นเรียนรูจากสถานการณจริงและสถานการณจ ําลอง และเรยี นรูจ ากกจิ กรรม - เรยี นภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร และใชเพื่อการประกอบอาชีพ - เรยี นรู Digital และใช Digital เปน เคร่อื งมือการเรยี นรู - จัดตงั้ ศนู ยป ระสานงานการผลติ และพัฒนากาํ ลังคนอาชวี ศกึ ษาในภูมภิ าค 5. ระดับอดุ มศกึ ษา เนนการวิจัยและคนหาแนวทางการพัฒนา การสรา งนวัตกรรมเพ่ือใหเกดิ องค ความรใู หมแ ละมีการเชื่อมโยงองคความรูทห่ี ลากหลายท้ังภายในประเทศและตา งประเทศ เพื่อ พฒั นาขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ โดยมีจดุ เนน - เรยี นภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร และมที ักษะภาษาในระดบั สูง ใชเ ปน เครื่องมือในการเรยี นรู เพื่อสรา งองคค วามรู และเปนเคร่อื งมอื ในการเชื่อมโยงความรทู งั้ ในและตา งประเทศ - เรยี นรู Digital และใช Digital เปน เคร่อื งมือการเรยี นรู - ผูเรยี นมศี กั ยภาพและมอี งคความรทู ี่หลากหลายทง้ั ในและตางประเทศ สามารถสรา ง นวัตกรรมเพือ่ เพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ และทันตอ การเปลี่ยนแปลง ของสงั คมโลก  การขับเคลือ่ นนโยบายและจุดเนนไปสูการปฏิบัติ เพื่อเกิดผลสัมฤทธิใ์ นภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถตอบสนองเปาหมาย เจตนารมณ และวัตถปุ ระสงค ดงั นี้ 1. ใชกระบวนการพฒั นาคณุ ธรรม บรู ณาการในทุกกระบวนการเรยี นรู 2. สอดแทรกเร่อื งความโปรง ใส ยุตธิ รรม และปองกนั การทจุ รติ ใหมีในทุกมติ ิ ทั้งการเรียนการสอน การ นเิ ทศ และการบรหิ าร ~ 26 ~

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจําปง บประมาณ 2562 3. ใหอ งคกรหลักนําไปกาํ หนดนโยบายขององคกรสูการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน และขับเคล่อื นสูก ารปฏบิ ัติของ องคก ร 4. เนน การสรา งโอกาสทางการศกึ ษาใหกับทุกกลุมบคุ คล ทุกระดับ ทุกประเภท สกู ารลดความเหลือ่ ม ลา้ํ ในการรบั การศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพในทุกหนว ยงาน 5. ใหศึกษาธกิ ารจังหวัด นาํ เสนอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวดั จดั ทําแผนและขับเคล่ือนสูก าร ปฏิบัติในการจัดการศกึ ษาในแตละจงั หวัดใหเปน รูปธรรม 6. ใชเทคโนโลยีเชื่อมโยงขอ มูล (Big Data) สาํ หรับเปน เครื่องมือในการเรยี นรู และเครือ่ งมอื ในการ บรหิ าร 7. ใหหนว ยงานทางการศึกษา จัดใหมีการพัฒนาหลกั สตู รใหมีความเชอื่ มโยง ทัง้ ระดับการศกึ ษา ขน้ั พ้ืนฐาน อาชวี ศกึ ษา และอุดมศึกษา 8. ใหสํานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ เปน หนว ยงานประสานงาน ดูแลเด็กทม่ี ีความตองการจําเปน พิเศษในทุกระดับ เพือ่ ใหเ ด็กพเิ ศษไดร บั การพัฒนา สามารถเรียนรู และพง่ึ พาตนเองได 9. ใหสาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เปน หนว ยงานหลัก และ ประสานงานกบั หนวยงานท่เี ก่ียวของ ดแู ลเดก็ ทต่ี กหลนจากระบบการศึกษา และการศกึ ษาของ ผสู งู อายุ 10. ใหผ ูต รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และศึกษาธกิ ารภาค มีบทบาทและหนาทีต่ รวจราชการ ติดตาม ประเมนิ ผลทง้ั ในระดบั นโยบายและระดบั ปฏิบตั ิ นโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ก. บทนาํ รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ไดบญั ญัติไวในมาตรา 54 วา “รัฐตอ ง ดาํ เนนิ การใหเด็กทุกคนไดร ับการศึกษาเปนเวลาสบิ สองป ตั้งแตกอนวัยเรยี นจนจบการศึกษาภาคบังคบั อยางมคี ณุ ภาพโดยไมเ ก็บคาใชจ าย” และคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 28/2559 เรื่อง ใหจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ป โดยไมเก็บคาใชจายไดมีคําส่ังไวในขอ 3 วา “ใหสวนราชการที่ เก่ียวของกับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดําเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ป ใหมีมาตรฐานและ คุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย” สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดตระหนักถึงภารกิจที่ สําคัญในการพัฒนาประชากรของชาติใหเปน “คนไทยในอนาคตจะตองมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะท่ีดใี นทุกชว งวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคม และผูอื่น มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ี ถูกตอ ง มีทักษะทจ่ี ําเปน ในศตวรรษที่ 21 มที กั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรกั ษภ าษา ทองถ่นิ มนี ิสยั รักการเรยี นรูและการพัฒนาตนเองอยางตอ เนื่องตลอดชวี ิต สูการเปน คนไทย ที่มีทกั ษะ ~ 27 ~

แผนปฏบิ ัติราชการประจําปงบประมาณ 2562 สูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของ ตนเอง” นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยได ทําการศึกษา วิเคราะห นโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของรัฐบาลจากยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ซึ่งจะตอ งนาํ ไปสกู ารปฏิบัตเิ พอ่ื ใหประเทศไทยบรรลุวสิ ยั ทศั น “ประเทศไทย มีความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ไดกําหนดทิศทางของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ในระยะ 5ป ดานการศึกษาไว ดังน้ี 1) ใหมีการยกระดับ คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรใู หมคี ณุ ภาพ เทาเทียมและท่ัวถึง 2) การพัฒนาศักยภาพคนในทุกชวง วัยใหสนบั สนุนการเจริญเติบโตของประเทศ และ 3) การพัฒนาผลิตภาพแรงงาน เปนการสรางความ รวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนากําลังคนและแรงงาน แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 ซ่งึ แนวคดิ การจัดการศึกษา โดยยึดหลักสําคญั ในการจัดการศึกษา ประกอบดวย หลักการ จัดการศึกษาเพอ่ื ปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเทาเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economyและหลักการ มสี วนรว มของทกุ ภาคสวนของ สังคม (All for Education) อีกท้ังยึดตามเปาหมายโลกเพื่อการพัฒนาท่ี ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs, 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) เชน คุณภาพของคนทุกชวงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรของประเทศ ความเหล่ือมลํ้าของการ กระจายรายได และวิกฤติดานสง่ิ แวดลอม โดยนํายุทธศาสตรชาติ (National Strategy) มาเปนกรอบ ความคิดสําคัญในการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ และการปฏิรูปการศึกษาตามแนวทางของ คณะกรรมการอิสระเพ่ือปฏิรูปการศึกษาสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงไดกําหนด นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่อื เปนการเตรยี ม ความพรอมท่ีจะเขาสูยุคของการเปล่ียนแปลงการจัดการศึกษาของประเทศคร้ังสําคัญท่ีจะพัฒนา ประชากรในวัยเรียนทุกคนและทุกกลุมเปาหมาย ซึง่ หมายรวมถึง กลุมผูเรียนท่ีมีความตองการจําเปน พเิ ศษ กลุมชาตพิ ันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพ้ืนที่หางไกลทุรกันดารใหมีความพรอ มทั้งกาย ใจ สติปญญา มีสุขภาวะท่ีดใี นทุกชว งวัย มีจิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอสังคมและผูอื่น มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินยั รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีหลักคิดท่ีถูกตอง มีทักษะทีจ่ ําเปน ในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรักษภาษาทองถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยและพลโลกที่มี ทกั ษะการคดิ ขนั้ สูง เปน นวตั กร นักคิด ผปู ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม โดยมสี ัมมาชีพตามความถนัดของ ตนเอง โดยไดกําหนดนโยบาย วิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ เปาประสงค และแนวทางในการดําเนินการ ดังน้ี ~ 28 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 ข. วสิ ัยทศั น สรา งคุณภาพทุนมนุษย สสู ังคมอนาคตท่ยี งั ยืน ค. พนั ธกิจ 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข 2. พัฒนาศักยภาพผูเรียนเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันโดยพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหม ีความรู ทกั ษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ คณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21 3. สง เสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนมอื อาชีพสรางโอกาส ความเสมอภาคลด ความเหลื่อมล้ํา ใหผ เู รียนทุกคนไดร ับบรกิ ารทางการศึกษาอยา งท่ัวถงึ และเทา เทียม 4. สงเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และเปา หมายโลกเพอื่ การพฒั นาทีย่ งั่ ยืน (SDGs) 5. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัด การศกึ ษา ง. เปาหมาย 1. ผูเรยี น เปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดรเิ ร่มิ และสรา งสรรคน วตั กรรม มคี วามรู มที ักษะและ คุณลักษณะของผูเรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการ พ่ึงพาตนเอง และปรับตวั ตอ เปนพลเมืองและพลโลกทีด่ ี 2. ผเู รียนที่มีความตอ งการจําเปนพิเศษ กลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลมุ ท่ีอยูใ น พื้นที่หางไกลทุรกันดารไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง เทาเทียม และมีคุณภาพ พรอมกาวสูสากล ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ครู เปน ผเู รยี นรู มจี ิตวิญญาณความเปน ครู มีความแมนยําทางวชิ าการและมที ักษะการ จดั การเรยี นรูที่หลากหลายตอบสนองผเู รยี นเปน รายบคุ คลเปนผูสรางสรรคน วัตกรรม และทักษะ ในการใชเ ทคโนโลยี 4. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา มคี วามเปน เลศิ สวนบคุ คล คิดเชิงกลยทุ ธและนวัตกรรม มีภาวะผนู าํ ทางวิชาการ มีสาํ นึกความรบั ผดิ ชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบรวมมือ 5. สถานศกึ ษา มีความเปน อิสระในการบริหารงานและจดั การเรียนรู รว มมือกับชมุ ชน ภาคเอกชน และผเู กย่ี วของในการจดั การศกึ ษาระดับพนื้ ที่ จัดสภาพแวดลอมในโรงเรยี นเพ่อื การ เรียนรูในทุกมิติ เปน โรงเรยี นนวัตกรรม ~ 29 ~

แผนปฏิบัตริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 6. สาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา มีการบริหารงานเชงิ บูรณาการ เปน สาํ นกั งานแหงนวัตกรรม ยุคใหม ใชขอมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กํากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลอยา งเปน ระบบ 7. สาํ นักงานสว นกลาง ปรับเปล่ยี นวัฒนธรรมการทาํ งาน โดย กระจายอํานาจการบรหิ ารงาน และการจดั การศึกษาใหสถานศกึ ษา บรหิ ารเชงิ บรู ณาการ มีระบบขอมลู สารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ กํากับ ติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลอยางเปนระบบ ใชวิจัยและนวัตกรรมในการ ขบั เคลื่อนคณุ ภาพ จ. นโยบาย สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน  นโยบายที่ 1 จดั การศึกษาเพอื่ ความมัน่ คง  นโยบายท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผูเรยี น  นโยบายท่ี 3 พัฒนาผูบรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา  นโยบายที่ 4 สรา งโอกาสในการเขาถงึ บริการการศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลือ่ มลาํ้ ทางการศกึ ษา  นโยบายท่ี 5 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การ ฉ. กลยุทธเชงิ นโยบาย  นโยบายที่ 1 จดั การศึกษาเพื่อความม่ันคง 1. บทนาํ การจดั การศกึ ษาเพอื่ ความมั่นคง จะเนน การจัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผเู รยี นในเขตพ้ืนท่ี พเิ ศษเฉพาะ ทม่ี ีความยากลําบากในการบริหารจัดการ เชน การจัดศึกษาของสถานศึกษาในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และการจัดการศึกษาเพือ่ เสริมสรางคุณภาพของประชากรวัย เรียนกลุมชาตพิ ันธุ กลุมท่ีดอยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพ้ืนที่หางไกลทุรกันดาร เชน พน้ื ท่ีสูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เพ่อื สรา งความมงั่ คงของประเทศในระยะยาว 2. เปาประสงค 1. ผูเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และเขตพื้นที่พิเศษเฉพาะไดรับ การบรกิ ารการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานที่มคี ณุ ภาพเหมาะสมกับสงั คมพหวุ ัฒนธรรม 2. เสริมสรางคุณภาพประชากรวัยเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมท่ีดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นท่ี หางไกลสงู ในถน่ิ ทุรกันดาร อาทิ พื้นทสี่ งู ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เพ่ือสรา งความ มง่ั คงของประเทศในระยะยาว ~ 30 ~

แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 3. ประเด็นกลยทุ ธ 3.1 พฒั นาการศึกษาของสถานศกึ ษาในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต 3.1.1 ตวั ช้ีวัด (1) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรูของผเู รยี นสูงขึ้น (2) รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต จัดการเรียนรูใหแกผูเรียนโดยการบูรณาการหลักสูตรใหสอดคลองกับสังคม วัฒนธรรม และภาษาของทองถนิ่ (3) ผูเรยี นในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใตไดร ับบริการการศึกษา ขนั้ พื้นฐานท่ีมคี ุณภาพ 3.1.2 แนวทางการดําเนินการ ดําเนินการตามยุทธศาสตรก ารศกึ ษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต (พ.ศ. 2560 - 2579) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร ไดแ ก (1) การศกึ ษาเพือ่ เสริมสรา งความม่นั คง (2) การผลิตและพัฒนากําลังคนใหม ีสมรรถนะในการแขงขนั (3) การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชวงวยั และการสรางสงั คมแหงการเรียนรู (4) การสรา งโอกาสความเสมอภาคและเทาเทยี มกนั ทางการศกึ ษา (5) การศกึ ษาเพือ่ เสริมสรา งคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอ ม (6) การพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา ทง้ั นด้ี าํ เนนิ การในลักษณะบูรณาการรวมกันของหนวยงานกระทรวงศกึ ษาธิการ และหนว ยงาน ที่เก่ียวของในพน้ื ท่ีจังหวดั ชายแดนภาคใต 3.2 สง เสริมและสนบั สนนุ ใหผ ูเ รียนในเขตพืน้ ทเ่ี ฉพาะ กลุมชาติพันธุ กลุม ทด่ี อ ยโอกาส และกลุมทีอ่ ยูในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร เชน พืน้ ท่ีสูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง ไดรบั การ บริการดานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ทม่ี คี ณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตองการ 3.2.1 ตัวชี้วดั (1) จํานวนผูเรียนบานไกลไดรับโอกาสทางการศึกษาจากการไดเขาพัก ในโรงเรียนท่ีมีหอพักนอน หรือการสนับสนุนการเดินทางจากบานถึงโรงเรียน อยางปลอดภยั (2) จาํ นวนโรงเรยี นไดร ับการสนับสนุนงบประมาณเพ่อื ใชในการประกอบอาหาร การพฒั นาทกั ษะชวี ิต และการพัฒนาสภาพหอพกั นอนใหมีคณุ ภาพท่ดี ี อยาง เหมาะสม ~ 31 ~

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 (3) จาํ นวนผเู รยี นไดรับการพัฒนาคณุ ภาพทงั้ ดานทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และ ทกั ษะอาชีพ ทเี่ หมาะสมกับบริบท (4) จาํ นวนผบู รหิ าร ครู ในสถานศึกษา/หองเรียนสาขา และท่ีดูแลหอพักนอน ทีม่ ี นักเรียนกลมุ ชาติพันธุ กลมุ ทด่ี อยโอกาส กลมุ ท่ีอยใู นพนื้ ท่หี างไกลทุรกันดาร ไดร บั การพัฒนาและสวัสดิการทเ่ี หมาะสมกบั บริบท (5) จาํ นวนผูเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมทดี่ อยโอกาส และกลุมทอ่ี ยูในพื้นที่หางไกล ทรุ กันดาร ไดรบั การสง เสรมิ การเรยี นรูท ม่ี ีคณุ ภาพ และเกิดจติ สํานกึ รกั ในสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย (6) การบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนที่มีผูเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพ้ืนท่ีหางไกลทุรกันดาร ไดรับการปรับปรุงและมีรูปแบบที่มี ประสิทธภิ าพ (7) ผเู รยี นกลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมที่อยูใ นพ้ืนท่ีหางไกลทุรกันดาร มี ผลสัมฤทธส์ิ ูงข้ึน 3.2.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) สนบั สนุนงบประมาณในการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในพ้ืนทสี่ ูงในถ่ิน ทุรกันดาร ชายแดน ชายฝง ทะเล และเกาะแกง ตามความจําเปน และ เหมาะสม กับบรบิ ท (2) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่ีดูแลหอพัก นอนตามความจาํ เปน และเหมาะสมกับบริบท (3) จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมใหโรงเรียนในกลุมโรงเรียนพ้ืนท่ีสูงในถ่ินทุรกันดาร ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง ใหจัดการเรียนรูที่มีคุณภาพ และเกิด จิตสํานกึ รักในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  (4) สรา งเวทีการแลกเปลยี่ นเรยี นรใู นประเดน็ “การพัฒนาการจัดการศกึ ษาท่ีเหมาะสมกบั สภาพบริบทของพื้นทสี่ ูงใน ถนิ่ ทุรกนั ดาร ชายแดน ชายฝงทะเลและ เกาะแกง ควรทาํ อยางไร” ผา นชองทาง จดั เวทีเสวนา การแสดงนิทรรศการ การตดิ ตอ สอ่ื สารผา น ชอ งทางออนไลน ตา ง ๆ เชน การสรา ง WebsiteFacebook และLine เปนตน ~ 32 ~

แผนปฏิบัติราชการประจําปง บประมาณ 2562 (5) พัฒนารปู แบบและวิธกี ารจดั การเรียนรู ส่อื การเรยี นรู และการวัดและประเมินผล ที่เหมาะสมสําหรับการพัฒนาศักยภาพสูงสุด ผูเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมท่ีดอย โอกาส และกลมุ ทีอ่ ยูในพืน้ ท่ีหา งไกลทรุ กนั ดาร (6) พฒั นาครใู หม ีทักษะการสอนภาษาไทยสาํ หรับเดก็ ที่ใชภาษาไทยเปนภาษาที่ 2 (7) สงเสรมิ การจดั การเรียนรูโ ดยใชช มุ ชนเปนฐาน ในการพัฒนาทกั ษะวิชาการ ทกั ษะชีวติ ทกั ษะอาชีพ และภาษาท่ี 3 ทีส่ อดคลองและเหมาะสมกบั สังคมพหุ วฒั นธรรม ~ 33 ~

แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562  นโยบายท่ี 2 พฒั นาคณุ ภาพผเู รียน 1. บทนาํ การพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น มงุ เนนพัฒนาประชากรวยั เรยี นทุกคนและทกุ กลมุ เปาหมาย ซ่ึงหมายรวมถึง กลุมผูเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษ กลุม ชาติพันธุ กลมุ ผูดอยโอกาส และกลุมที่ อยูใ นพื้นท่ีหางไกลทุรกันดารในทุกมิติ โดยมีเปาหมาย เพ่ือใหผูเรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีทัศนคติท่ีถูกตองตอ บา นเมอื ง เปน พลเมอื งดขี องชาติและเปนพลโลกที่ดี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 มีความเปนเลิศทางวิชาการ มีทักษะวิชาชีพ และมีทักษะชีวิตท่ีเหมาะสมสอดคลองกบั สังคมปจจุบัน โดย การพัฒนาระบบการเรียนรูทีต่ อบสนองตอ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 2. เปาประสงค 1. ผูเรียนทุกคนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข มีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง มีหลักคิดที่ถูกตอง และเปน พลเมอื งดขี องชาติ และการพลเมืองโลกทีด่ ี (Global Citizen) 2. ผูเรียนทุกคนมีคณุ ธรรม จริยธรรม มคี า นิยมที่พึงประสงค มีจิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอ สังคมและผอู น่ื มธั ยัสถ อดออม โอบออมอารี มวี นิ ยั รกั ษาศลี ธรรม 3. ผเู รียนทกุ คนไดร ับการพัฒนาและสรา งเสรมิ ศกั ยภาพในแตล ะชวงวยั อยางมีคณุ ภาพมี ทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 มีความเปนเลิศทางดานวิชาการ มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต และ มที กั ษะอาชีพตามความตอ งการและความถนดั 4. ผเู รียนทม่ี คี วามตองการจําเปน พิเศษ มีพฒั นาการตามศักยภาพของแตล ะบุคคล ท้งั ในดานที่ มพี ัฒนาการปกตแิ ละดานที่มีความบกพรอ งหรอื ความแตกตางทางการเรยี นรู หรือความสามารถพิเศษ ตามที่ ระบุไวในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คลหรือแผนการใหบริการชว ยเหลอื เฉพาะครอบครัว ซง่ึ จัดทําขึ้นบน พื้นฐานความตองการจาํ เปนเฉพาะของผเู รยี น 5. ผูเรยี นที่มีความตอ งการจําเปนพิเศษ มคี วามพรอ มสามารถเขา สูบริการชว งเชื่อมตอ (Transitional Services) หรอื การสง ตอ (Referral) เขา สูการศกึ ษาในระดับเดยี วกนั และที่สงู ขึ้น หรอื การ อาชพี หรือการดําเนนิ ชวี ิตในสงั คมไดต ามศกั ยภาพของแตละบคุ คล 6. ผูเรียนทกุ คนมที ักษะชีวติ มสี ุขภาวะทเ่ี หมาะสมตามวัย มีความเขม แข็ง อดทน และ สามารถพึง่ ตนเองไดในสงั คมอนาคตทซ่ี บั ซอนและการปองกนั ตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม สามารถปองกันตนเองจากปญหายาเสพตดิ ได ~ 34 ~

แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ 2562 3. ประเดน็ กลยุทธ 3.1 ปรบั ปรุง และพฒั นาหลักสูตรทกุ ระดับการศึกษา ใหเออื้ ตอ การพฒั นาสมรรถนะ ผเู รียนเปนรายบุคคล มีทักษะที่จาํ เปน ในศตวรรษท่ี 21 นําไปสกู ารจัดการศึกษาเพอื่ การมงี านทาํ (Career Education) 3.1.1 ตวั ช้ีวัด (1) รอ ยละของสถานศกึ ษาพัฒนาหลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน ใหสอดคลองกบั ทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21 โดยเนนการพัฒนาสมรรถนะผเู รียนเปน รายบุคคล เพอื่ สงเสรมิ ใหผ เู รยี นมีหลักคิดท่ีถูกตอ ง รกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข เปน พลเมืองดีของชาติ และพลเมอื งโลกท่ดี ี มคี วามเปนเลิศทางดา น วิชาการ มีทกั ษะชวี ิตและทักษะอาชพี ตามความตอ งการ และมีทกั ษะในการ ปองกนั ตนเองจากภยั คุกคามรปู แบบใหม (2) รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับความ ตอ งการของผูเรยี นและพ้นื ที่ 3.1.2แนวทางการดําเนินการ (1) พัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ใหสอดคลองกับทักษะการเรียนรใู น ศตวรรษท่ี 21 โดยเนนการพัฒนาสมรรถนะผูเรียนเปนรายบุคคล เพื่อสงเสริมให ผูเ รยี นมหี ลักคดิ ทีถ่ กู ตอ ง รักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และเปนพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกทีดี มีความเปนเลิศทางดานวิชาการ มีทักษะชีวิตและทักษะ อาชพี ตามความตองการได และมีทักษะชวี ิตในการปองกันตนเองจากภัยคกุ คาม รูปแบบใหม (2) ปรบั ปรงุ หลักสูตรปฐมวัยเพื่อใหเด็กไดร บั การพฒั นา ท้ัง 4 ดา น สอดคลองกบั ทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 (3) สง เสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศกึ ษาพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาและปรับเปล่ยี นการ จัดการเรยี นรูใหตอบสนองตอความตอ งการของผเู รียนและบรบิ ทของพน้ื ท่ี (4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษา จัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลหรือ แผนการใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัว ซ่ึงจัดทําขึ้นบนพื้นฐานความตองการ จาํ เปนเฉพาะของผเู รยี นทม่ี คี วามตอ งการจําเปนพิเศษ หรือความสามารถพเิ ศษ ~ 35 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปง บประมาณ 2562 3.2 พฒั นาผเู รยี นทกุ คนใหมคี วามรกั ในสถาบันหลักของชาติ และยดึ ม่ันการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข มที ัศนคตทิ ีด่ ตี อ บา นเมือง มีหลกั คดิ ที่ถกู ตอง เปน พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกทดี่ ี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3.2.1 ตวั ชวี้ ัด (1) รอยละของผูเรียนท่ีมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมขุ (2) รอ ยละของผูเรียนที่มพี ฤติกรรมท่แี สดงออกถงึ การมีทศั นคติทด่ี ีตอ บา นเมอื ง มี หลักคิดทถ่ี ูกตอ ง เปนพลเมืองดขี องชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม (3) รอยละของสถานศกึ ษาท่ีปรบั ปรุงหลกั สูตร จัดบรรยากาศส่ิงแวดลอ ม และจดั กจิ กรรมการเรียนรูใหผเู รยี นแสดงออกถึงความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปนประมุข มที ศั นคติ ทีด่ ีตอบา นเมอื ง มหี ลักคดิ ที่ถูกตอง เปนพลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม (4) รอยละของสถานศึกษาที่นอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาของในหลวง รัชกาลที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผูเรียนใหมี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคตามที่กําหนดไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ 3.2.2 แนวทางการดาํ เนนิ การ (1) สง เสรมิ และสนบั สนุนใหส ถานศกึ ษาปรบั ปรงุ หลักสูตรปรบั ปรงุ หลักสูตร จัด บรรยากาศสง่ิ แวดลอม และจดั กิจกรรมการเรยี นรูใหผูเรียนแสดงออกถึงความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ มีทัศนคติท่ีดตี อ บา นเมือง มีหลกั คิดทถ่ี กู ตอง เปนพลเมอื งดขี องชาติ และพลเมืองโลกท่ดี ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม (2) สง เสรมิ สนบั สนุนให สถานศกึ ษานอมนาํ พระบรมราโชบายดา นการศึกษาของใน หลวงรชั กาลที่ 10 และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการจัด กจิ กรรมการเรียนรูเพื่อพฒั นาผูเ รยี นมีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคตาม ท่กี าํ หนด 3.3 พัฒนาคุณภาพของผเู รียน ใหมที ักษะการเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21 มีความเปนเลิศ ดา นวชิ าการ นาํ ไปสกู ารสรา งขดี ความสามารถในการแขงขัน 3.2.3 ตวั ช้ีวดั (1) ดานผูเ รยี น ~ 36 ~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 1) รอยละของผูเรียนระดับปฐมวัย ไดรับการพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สงั คม และสติปญ ญา และมีความพรอ มที่จะเขา รบั การศึกษาในระดบั ทส่ี ูงขนึ้ 2) รอ ยละของผูเรยี นระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานไดรบั การพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดาน 3) รอยละของผเู รยี นท่อี า นออกเขียนได คิดเลขเปน และมีนสิ ยั รักการอาน 4) รอยละของผูเรียนท่ีมที ักษะการคดิ วเิ คราะห 5) รอยละของผูเรียนท่ีผานการประเมินสมรรถนะที่จําเปนดานการรูเร่ืองการอาน (Reading Literacy) 6) รอยละของผูเรียนที่ผานการประเมินสมรรถนะที่จําเปนดานการรูเร่ือง คณติ ศาสตร (Mathematical Literacy) 7) รอยละของผูเรียนที่ผานการประเมินสมรรถนะท่ีจําเปนดานการรูเร่ือง วทิ ยาศาสตร (Scientific Literacy) 8) รอยละของผูเรียนท่ีมีทักษะสื่อสารอังกฤษ และส่ือสารภาษาท่ี 3 ไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ 9) รอยละของผูเรียนที่มีทักษะดาน Digital Literacy ในการเรียนรูไดอยางมี ประสิทธภิ าพ 10) รอยละของผูเรียนที่มีความรู และทักษะในการปองกันตนเองจากภัยคุกคาม รปู แบบใหม 11) รอ ยละของผูเรยี นที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) มากกวา รอ ยละ 50 ในแตละวิชาเพม่ิ ข้ึนจากปการศึกษาท่ผี า นมา 12) รอยละ 60 ของผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนมสี มรรถนะการเรยี นรูเร่อื งการ อา นตง้ั แตร ะดบั ขน้ั พ้ืนฐานขึน้ ไป (ระดบั 2) ตามแนวทางการประเมิน PISA 13) รอยละ 80 ของผูเรียนทั้งหมดไดรับการประเมินทกั ษะการคดิ แกปญหาตามแนว ทางการประเมิน PISA (2) ดา นสถานศึกษา 1) รอ ยละของสถานศึกษาจัดการเรียนรูที่ใหผ ูเ รยี นไดเรยี นรผู านกิจกรรม การปฏิบัติ จริง (Active Learning) 2) รอยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนรูใหผูเรียนในลักษณะของ STEM ศึกษา ~ 37 ~

แผนปฏิบตั ิราชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 3) รอยละของสถานศึกษาที่การจัดการเรียนรูตามกระบวนการ 5 ข้ันตอน หรือ บันได 5 ขั้น (IS: Independent Study) 4) รอยละของสถานศึกษาทจี่ ดั การเรยี นรู และบรรยากาศส่ิงแวดลอ มท่ีสงเสรมิ สนับสนุนใหผ เู รยี นไดเ รยี นรแู ละฝกทกั ษะดา นภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 ได อยางมีประสิทธภิ าพ 3.2.4 แนวทางการดําเนนิ การ (1) พัฒนาผูเรียนระดับปฐมวัยมีความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม สติปญ ญา เพือ่ ทจ่ี ะเขา รบั การพฒั นาการเรยี นรใู นระดบั ทสี่ ูงข้นึ (2) สงเสริม สนบั สนุนใหสถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมท้งั ในและนอกหองเรยี นใหเอ้ือ ตอ การพัฒนาการเรียนรูของเดก็ ปฐมวัย (3) สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหสถานศึกษาจัดการเรยี นรูร ะดับปฐมวยั ในรปู แบบท่หี ลากหลาย (4) สงเสริมการสรางความรูความเขาใจแกพอแมผูปกครองเกี่ยวกับการเล้ียงดูเด็ก ปฐมวัยทถ่ี กู ตอ งตามหลกั จติ วทิ ยาพัฒนาการ (5) จัดใหมีโรงเรียนตนแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย ใหสามารถพัฒนาเด็กกอน ประถมใหมีพฒั นาการความพรอ ม เพ่อื เตรยี มตัวไปสกู ารเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21 (6) พฒั นาผูเรยี นสูความเปน เลศิ ทางวิชาการ โดยเนนการพฒั นาสมรรถนะที่จาํ เปน 3 ดาน 1) การรเู รือ่ งการอาน (Reading Literacy) 2) การรูเ ร่อื งคณติ ศาสตร (Mathematical Literacy) 3) การรเู รื่องวทิ ยาศาสตร (Scientific Literacy) (7) พัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะดานดิจิทัล (Digital Competence) และสมรรถนะ ดา นการสอื่ สารภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3 (8) มีความรู และทักษะในการปอ งกันตนเองจากภัยคกุ คามรปู แบบใหม (9) สงเสริม สนับสนนุ ใหสถานศึกษาจัดการเรียนรูท่ีใหผ ูเรียนไดเรียนรูผานกิจกรรม การปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning) (10) สงเสริม สนับสนุนสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนรูใหผูเรียนในลักษณะของ STEM ศกึ ษา (11) สงเสรมิ สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดการเรียนรูตามกระบวนการ 5 ข้ันตอน หรือ บันได 5 ข้ัน (IS: Independent Study) (12) สงเสรมิ ใหส ถานศึกษาจัดการเรยี นรอู ยางเปน ระบบมุงเนน การใชฐานความรแู ละ ระบบความคดิ ในลักษณะสหวิทยาการ เชน ~ 38 ~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 1) ความรทู างวิทยาศาสตรและการตง้ั คําถาม 2) ความเขาใจและความสามารถในการใชเทคโนโลยี 3) ความรูทางวิศวกรรม และการคดิ เพอ่ื หาทางแกปญหา 4) ความรแู ละทกั ษะในดานศลิ ปะ 5) ความรูดานคณิตศาสตร และระบบคิดของเหตุผลและการหาความสัมพันธ (13) สงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาประเมินสมรรถนะตามแนวทางการประเมิน PISA ดวยระบบการสอบ แบบ Online ใหกับผูเรียนทุกคนต้ังแตระดับชั้น ประถมศกึ ษาตอนปลาย จนถึงมัธยมศกึ ษาตอนตน (14) สงเสริมสรางความรูความเขาใจในทางการประเมินทักษะการคิดแกปญหาตาม แนวทางการประเมนิ PISA ใหแ กศ ึกษานเิ ทศกและครผู สู อน (15) ใหบ รกิ ารเครือ่ งมอื การวัดและประเมินอิงสมรรถนะตามแนวทางการประเมินผล ผเู รียนรว มกบั นานาชาติ (PISA) ดว ยระบบ Online Testing (16) สง เสรมิ ใหส ถานศึกษาจดั หลกั สตู รและแผนการเรยี นนาํ ไปสคู วามเปนเลศิ ในแต ละดาน (17) สงเสริมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ดานศิลปะดนตรีและกีฬาโดยจัดเปน หอ งเรยี นเฉพาะดา น (18) พัฒนาศกั ยภาพของผเู รยี นตามความถนดั และเปนนวัตกร ผสู รา งนวัตกรรม 3.4 พัฒนาผูเรยี นใหมที กั ษะอาชพี และทกั ษะชีวิต มสี ขุ ภาวะท่ดี สี ามารถดาํ รงชีวติ อยูใ น สงั คมไดอยางมีความสขุ 3.4.1 ตัวช้ีวัด (1) รอยละของผเู รียน มี ID plan และ Portfolio เพ่อื การศึกษาตอ และการประกอบ อาชพี (2) รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรู และบรรยากาศสิ่งแวดลอมที่เอ้ือตอการ พัฒนาทักษะอาชีพตามความถนดั (3) รอ ยละของผเู รียนทีม่ สี ขุ ภาวะท่ีดีทุกชว งวัย (4) รอยละของสถานศึกษาทม่ี รี ะบบปองกนั และแกไขปญหาในสถานศกึ ษา 3.4.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) สรา งกลไกของระบบแนะแนวทางการศกึ ษาเพื่อสงเสรมิ กระบวนการเรยี นรอู งิ สมรรถนะและเตรียมความพรอ มสูก ารประกอบสัมมาอาชีพ (2) พฒั นารายวิชาทส่ี งเสริมการศกึ ษาตอและการประกอบอาชพี ~ 39 ~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 (3) สง เสริมใหสถานศึกษาจดั หลักสูตรทักษะอาชีพควบคูกับวชิ าสามัญ เชน ทวิศกึ ษา หลักสูตรระยะสน้ั (4) สงเสริมสนับสนนุ ใหส ถานศกึ ษาจัดการเรียนรแู กผูเรยี นตามความสนใจในทักษะ อาชีพท่ีตนเองถนดั เพือ่ เตรียมความพรอมกอนเขาสตู ลาดแรงงานและการพัฒนา ประเทศ (5) สง เสรมิ ใหนักเรยี นทุกคนไดร ับประทานอาหารตามหลกั โภชนาการ และเปน ไป ตามเกณฑม าตรฐานของอนามัย (6) สง เสริมการเรยี นรูแ ละพัฒนาดานอารมณและสงั คม (Social and Emotional Learning : SEL) ในทุกชวงวัย (7) สถานศกึ ษามีระบบการปองกนั และแกไ ขปญหาในสถานศกึ ษา 3.5 การจดั การศกึ ษาเพ่อื การบรรลุเปาหมายโลกเพอื่ การพฒั นาอยา งยั่งยืน (SDGs) เพอื่ สรางเสรมิ คุณภาพชีวิตท่ีเปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.5.1 ตวั ชวี้ ดั (1) รอยละของผูเรียนที่มีพฤติกรรมแสดงออกถึงการดําเนินชีวิตที่เปนมิตรกับ ส่งิ แวดลอ ม และการประยุกตใ ชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (2) รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดสภาพแวดลอมที่สอดคลองกับมาตรฐาน ส่งิ แวดลอ ม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาทยี่ ่ังยืน (Environmental Education Sustainable Development: EESD) (3) ทกุ สถานศึกษาจดั การศกึ ษาเพ่ือใหบรรลุเปาหมายโลก เพอื่ การพฒั นาอยางย่งั ยืน (Global Goals for Sustainable Development) 3.5.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) สง เสริม สนบั สนุนใหส ถานศึกษาจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผเู รียนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (2) สง เสรมิ สนบั สนุนใหสถานศกึ ษาการจัดการศึกษาเปา หมายโลกเพอื่ การพัฒนาอยา งยั่งยนื (Global Goals for Sustainable Development) (3) สง เสริม สนบั สนนุ ใหสถานศึกษาและหนว ยงานทุกสงั กัดจดั สิ่งแวดลอ ม สังคม และเศรษฐกจิ ใหส อดคลอ งกับหลกั Zero waste และมาตรฐานสิ่งแวดลอ มเพื่อ การพฒั นาท่ีย่งั ยนื (Environmental EducationSustainableDevelopment: EESD) (4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอม และการ ประยุกตใ ชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอยางตอ เนื่อง ~ 40 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 3.6 พัฒนาคณุ ภาพผูเรียนทีม่ คี วามตองการจาํ เปนพเิ ศษ 3.6.1 ตวั ช้ีวดั (1) รอยละของผูเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษ มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานของแตละระดับ (2) รอยละของผูเรียนท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ ไดรับการพัฒนาดานทักษะ อาชีพ ทักษะการดํารงชวี ิต มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตสาธารณะ (3) รอยละของผูเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษ ไดรับการสงเสริมใหมี ความสามารถพเิ ศษดา นตางๆ อาทิ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี เปน ตน 3.6.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) ใหบริการชว ยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention: EI) ท่ีศูนยการศึกษา พเิ ศษ หนวยบรกิ ารและทบี่ านอยางมีประสทิ ธิภาพ (2) สงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนที่มีความตองการ จาํ เปน พิเศษ ดวยระบบและรปู แบบท่ีหลากหลาย (3) สงเสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาในโรงเรยี นเรยี นรวมและศูนยการเรียนเฉพาะ ความพิการ (4) ปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (5) สง เสรมิ สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาทักษะการอาน การเขยี น การสื่อสาร การ คิดคาํ นวณ การคดิ วิเคราะห และการคดิ อยางมีวิจารณญาณ (6) สงเสริม สนับสนุน การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทักษะการ ดํารงชวี ิต ปลูกฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม จิตสาธารณะและการดํารงชีวติ ที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (7) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาํ ริฯ (8) สงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนมีทัศนคติที่ถูกตองตอการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (9) สงเสริม สนับสนุน การใชส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารอยางถูกตอง เหมาะสม และสรางสรรค (10) สงเสริม สนับสนุน เทคโนโลยี ส่ิงอํานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความ ชวยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ~ 41 ~

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 (11) สงเสรมิ และพัฒนาผเู รียนท่ีมีความตอ งการจําเปนพิเศษ ท่มี ีความสามารถพิเศษ ในดา นวชิ าการ ดนตรี กีฬา ศลิ ปะ และอ่ืนๆ เพ่ือยกระดับสูความเปนเลิศพรอม กา วสูสากล (12) สงเสริม สนบั สนุนการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการจัดการเรียน การสอน (13) จดั ใหม ีระบบการนิเทศ กาํ กับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการ (14) จัดใหม ีกลมุ งานระบบประกนั คุณภาพในสํานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ เพอื่ สง เสริม สนับสนุนใหส ถานศกึ ษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เขมแข็ง (15) สงเสริม สนับสนุนใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดทํา รวบรวม ผลิต พัฒนา และเผยแพร ส่ือ นวตั กรรม งานวิจยั ทางการศกึ ษา (16) สํารวจสภาพอาคารสถานที่ และสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา จัดทําผังบริเวณ จัดทาํ แบบรูปและรายการสง่ิ กอสราง (17) สงเสริม สนับสนุนใหมีแนวทางปฏิบัติ และมาตรการรักษาความปลอดภัยของ สถานศึกษาอยา งมปี ระสิทธิภาพ (18) สงเสริม สนับสนุนใหเครือขายสงเสริมประสิทธิภาพและกลุมสถานศึกษา ขับเคลอ่ื นการจัดการศกึ ษาใหมปี ระสิทธิภาพ (19) สงเสริม สนับสนุน การดําเนินงานของคณะอนุกรรรมการสงเสริมการจัด การศึกษาสําหรบั คนพิการจงั หวัด (20) สงเสริม สนับสนุนสถานศึกษารวมมอื กับผูปกครอง ชุมชน และองคกรปกครอง ในพ้ืนท่ี พัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนและระบบแนะแนวใหมี ประสทิ ธภิ าพ (21) สงเสริม สนับสนุนการจัดสภาพแวดลอมและแหลงเรียนรูใหเอื้อตอการจัด การศกึ ษา 3.7 สงเสรมิ สนบั สนุนใหสถานศึกษานาํ Digital Technology มาใชใ นการจัดการเรียนรูใหแ ก ผเู รยี นเปนรายบคุ คลตามสมรรถนะ ความตองการ และความถนดั สรา งสังคมฐานความรู (Knowledge - Based Society) เพ่ือการเรยี นรอู ยา งตอเนอื่ งตลอดชีวติ 3.7.1 ตวั ชี้วดั (1) รอยละของผูเ รยี นทเ่ี รียนรผู า น Digital Platform (2) รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรูเพ่ือใหพัฒนาตนเองผาน Digital Platform ~ 42 ~

แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 3.7.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) พัฒนาระบบคลังขอมูล องคความรู เพื่อใหบริการ Digital Textbook ตาม เน้ือหาหลักสูตรที่กับหนด สื่อ วิดีโอ และองคความรูประเภทตาง ๆ และ ใหบ ริการแกผ เู รยี นใหก ารพฒั นาตนเองอยางตอเนือ่ งตลอดชวี ติ (2) พฒั นา DigitalPlatform เพื่อตอบสนองตอการพัฒนาการเรยี นรูของผูเรียนเปน รายบุคคล (3) สถานศกึ ษาสนับสนนุ สง เสรมิ ใหผ ูเ รียนเรยี นรูดวยตนเองผาน Digital Platform  นโยบายท่ี 3 พัฒนาผบู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 1. บทนํา การปรบั เปลี่ยนระบบการผลิตและพฒั นาผบู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุก ประเภท ตั้งแตการจูงใจ คัดสรร ผูมีความสามารถสูงใหเขามาเปนครูคุณภาพ มีระบบการพัฒนา ศักยภาพและสมรรถนะอยางตอเน่ืองครอบคลุมทั้งเงินเดือน เสนทางสายอาชีพ ปรับเปล่ียนบทบาทครู ใหเปนครยู คุ ใหมที่มีคณุ ภาพ และประสทิ ธิภาพตรงตามความตอ งการ เปน มืออาชีพ มีทักษะวิชาชพี ขั้น สูง โดยปรบั บทบาทจาก “ครสู อน” เปน “โคช” หรือ “ผูอํานวยการการเรียนร”ู สรา งเครอื ขายพัฒนา ครูใหมีการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางกัน รวมถึงการพัฒนาครูท่ีมีความเชี่ยวชาญดานการสอนมาเปน ผูสรางครรู ุน ใหมอ ยา งเปนระบบ และวัดผลงานจากการพฒั นาผเู รียนโดยตรง นอกจากนี้มีการออกแบบ วางแผนการผลิตและพัฒนาครูอยางเปนระบบ ตั้งแตการกําหนดมาตรฐานวิชาชีพขั้นสูง เงินเดือน คาตอบแทนและสวัสดิการตาง ๆ ใหสามารถจูงใจบุคคลที่เกง ดี มีความรู มาเปนครู มีการวางแผน อัตรากาํ ลงั ระยะยาว (20 ป) รว มมอื กับสถาบันการศกึ ษาในการผลิตครู และมกี ารวางแผนการพัฒนาครู อยางตอเน่ือง โดยนํา Digital Platform มาเปนเคร่ืองมือท้ังการพัฒนา อบรมครู และการจัดทํา ฐานขอมูลกาํ ลงั คน เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลประวัติครู ประวัติการพฒั นา ฝกอบรม นําไปสูการวิเคราะห วางแผนกาํ ลังคนไดอยางตอเน่ือง 2. เปา ประสงค ผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท เปนบุคลากรท่ีมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เปนมืออาชีพ และมีทักษะวชิ าชีพขนั้ สงู 3. ประเด็นกลยทุ ธ 3.1 สรา งเครือขา ยความรว มมือกับสถาบนั ทางการศึกษาท่ผี ลติ ครู ในการผลติ และพัฒนาครูให ตรงกับสาขาวชิ า และสอดคลอ งกับการพฒั นาในศตวรรษที่ 21 3.1.1 ตวั ชวี้ ดั ~ 43 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 (1) สถานศกึ ษามแี ผนความตองการครรู ะยะ 20 ป (2) สถานศกึ ษามกี รอบสมรรถนะครทู ี่สอดคลองกับการพัฒนาในศตวรรษท่ี 21 และ สอดคลอ งกบั บริบทของพ้ืนที่ (3) สถานศึกษาทุกแหงมีจํานวนครูอยางเหมาะสม และพอเพียงตอการพัฒนา คณุ ภาพของผูเ รยี น 3.1.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) ประสานความรวมมือกับสถาบันการศึกษาในการวิเคราะหความขาดแคลน และ ความตองการครู (2) ประสานความรว มมอื กบั สถาบันการศกึ ษาในการกาํ หนดสมรรถนะครูให สอดคลอ งกบั การพฒั นาในศตวรรษที่ 21 (3) ประสานความรว มมอื ในการวางแผนในการผลติ ครทู งั้ ระบบ (4) สถาบันการศกึ ษาผลติ ครตู ามความตองการและความขาดแคลนครู ระยะ 20 ป (5) ประสานความรว มมอื ตดิ ตาม ประเมนิ ผล การผลิตครู 3.2 พฒั นาผบู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภท ใหม สี มรรถนะตามมาตรฐาน วชิ าชีพ มศี กั ยภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3.2.1 ตัวชวี้ ดั (1) ผูบรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท มศี ักยภาพในการปฏิบัตงิ าน ครบตามความจําเปน ในการจดั การเรยี นรูอยางมปี ระสิทธิภาพ (2) ผูบรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาสามารถพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา การ จัดการเรียนรู และการวัดประเมินผลอยางมีคุณภาพในรูปแบบท่ีหลากหลาย ตามศกั ยภาพของผเู รียนแตละบคุ คล 3.2.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) ศึกษาวิเคราะห ความตองการจําเปนในการพฒั นาตนเอง (Need Assessment) ของ ผูบ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือวางแผนการพัฒนาอยางเปนระบบ และครบวงจร (2) กําหนดกรอบและวิเคราะหหลักสูตรเพื่อพัฒนาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการ ศึกษา ใหเ ชอื่ มโยงกบั ความกา วหนาในวิชาชพี (Career Path) (3) ประสานกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือหนวยงานอ่ืน ๆ จัดทํา หลกั สูตรทีม่ คี ณุ ภาพใหสอดคลองกับกรอบหลักสูตรท่กี าํ หนด (4) สนับสนุนใหผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเขารับการพัฒนา ตามหลักสูตรทีก่ ําหนดท่ีเช่อื มโยงความกา วหนา ในวชิ าชีพ (Career Path) ~ 44 ~

แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 (5) สงเสริมและพัฒนาบุคลากรในรูปแบบชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) (6) ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค รู ใ ห อ อ ก แ บ บ ก า ร เ รีย น รู ก า ร จั ด ก า ร เ รีย น รู ใหสอดคลองกับการวัดประเมินผลท่ีเนน ทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking) ผา นกจิ กรรมการปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning) (7) สงเสริมและพัฒนาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ใหมี ความรูทักษะดาน Digital Literacy, Digital Pedagogy ทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ทกั ษะสื่อสารภาษาท่ี 3 (8) สงเสริมพัฒนาและยกระดับความรูภาษาอังกฤษของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดยใช ระดบั การพฒั นาทางดา นภาษา (CEFR) ตามเกณฑทีก่ าํ หนด (9) สงเสริมและพฒั นาครใู หมีความรแู ละทกั ษะในการจดั การเรียนรูสําหรับผเู รียนท่มี ี ความแตกตาง (Differentiated Instruction) (10) สงเสริมและพัฒนาครูใหมีความรูและทักษะในการสรางเคร่ืองมือการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรดู านทักษะการคดิ ขัน้ สูง (Higher Order Thinking) (11) สงเสริมและพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ใหมีความรู ความสามารถจัดการเรยี นรเู ปน รายบุคคล และการสอนแบบคละชัน้ (12) สง เสรมิ และพฒั นาครูในการจัดการเรยี นรูสําหรับผูเรียนท่มี ีความตองการจําเปน พิเศษ ตามศักยภาพของผูเรียนแตละบุคคล และตามสภาพและประเภทของ ความพกิ าร (13) สงเสริมสนับสนุนใหครูพัฒนาตนเองผานระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training (14) ปรับเปล่ยี นกระบวนการวิธกี ารประเมนิ ครู โดยเนนการประเมินสมรรถนะในการ จัดการเรยี นการสอนโดยผลสัมฤทธ์ิของผเู รยี นเปน หลกั และประเมนิ จรรยาบรรณของครู ทกุ ๆ 5 ป (ประเมนิ 360 องศา) 3.3 นํา Digital Technology มาใชใ นการพัฒนาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ทุกประเภทท้ังระบบ 3.3.1 ตวั ชวี้ ดั (1) สถานศึกษา และหนวยงานในสังกัดทุกแหงมีระบบฐานขอมูลผูบริหาร ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษา เพอ่ื วางแผนการผลติ และพัฒนาครูทงั้ ระบบ (2) รอยละของบคุ ลากรในสงั กัดทพ่ี ัฒนาตนเองผา นระบบ Digital Technology (3) รอ ยละของ Digital Content เกีย่ วกับองคความรูในสาขาท่ีขาดแคลน ~ 45 ~

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 3.3.2 แนวทางการดําเนินการ (1) พัฒนา Digital Platform เพ่ือใชในการพฒั นาผูบ ริหาร ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาทกุ ประเภทท้งั ระบบ (2) พฒั นา Digital Platform ระบบบรหิ ารจดั การผูบริหาร ครู และบคุ ลากรทางการ ศกึ ษาทุกประเภททง้ั ระบบ (3) พฒั นา Digital Content ในองคความรูการจัดการศึกษาในสาขาท่ีขาดแคลน เชน การพัฒนาทักษะการคิดข้ันสูง การจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนท่ีมีความ ตองการจําเปนพิเศษ และผูเ รยี นทมี่ ีความแตกตาง เปน ตน (4) สงเสริม สนับสนุน ใหผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทพัฒนา ตนเองอยางตอเน่ืองผานระบบ DigitalTechnology  นโยบายท่ี 4 สรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหล่ือมลา้ํ ทางการศกึ ษา 1. บทนํา การสรางโอกาสทางการศึกษา เพื่อใหประชากรในวัยเรียนทุกคน และทุก กลุมเปาหมาย ซึ่งหมายรวมถึง กลุมผูเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษ กลุมชาติพันธุ กลุม ผูดอ ยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพื้นท่ีหางไกลทุรกันดาร ไดเขา ถึงการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ และมี มาตรฐาน โดย 1) เนน การสรา งความรว มมือกับองคก รปกครองสวนทองถ่ิน ภาคเอกชน และหนวยงาน ท่ีเก่ียวของระดับพื้นที่ เพือ่ วางแผนการจัดการศึกษาท้ังระบบต้ังแตการสาํ มะโนประชากรวัยเรียน การ รบั เดก็ เขา เรยี น การตรวจสอบติดตามการเขาเรียน การติดตามเด็กนักเรียนออกกลางคัน ตลอดจนการ พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับพ้ืนท่ี และการระดมทุนเพ่ือพัฒนาการศึกษา 2) ปรับปรุง พัฒนา สถานศึกษาทกุ แหงใหม ีมาตรฐานในดา นตาง ๆ สอดคลองกับบริบทเชิงพ้ืนที่ เชน มาตรฐานดานโครงสราง พื้นฐานและส่ิงอาํ นวยความสะดวก ไดแก อาคารเรียน อาคารประกอบ หอประชุม สนามกีฬา หอ งเรยี น หอง พิเศษ วัสดุ ครภุ ณั ฑ เปนตน มาตรฐานดา นครูและบุคลากรทางการศึกษา มาตรฐานดา นการบริหารจัดการ มาตรฐานดานระบบงบประมาณ มาตรฐานดานความปลอดภัย และมาตรฐานดาน Digital Technology เปน ตน 3) สรางความเขมแข็งในการบริหารจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนท่ีมีความตองการ จําเปนพิเศษ4) ปรับเปลี่ยนกระบวนการงบประมาณตั้งแตการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนตรงไปยัง ผู เ รี ย น แ ล ะ ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ด ย ต ร ง แ ล ะ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม เ พี ย ง พ อ แ ล ะ 4) นํา Digital Technology มาเปนเคร่ืองมือในการลดความเหล่ือมลาํ้ และสรางโอกาสในการเขา ถึงการ บริการการเรียนรทู ี่มีประสิทธิภาพ ~ 46 ~

แผนปฏบิ ัติราชการประจําปงบประมาณ 2562 2. เปา ประสงค สรางโอกาสใหประชากรวัยเรียนทุกคนเขาถึงการบริการการเรียนรูที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน เสมอกนั และลดความเหล่ือมล้าํ ดานการศึกษา 3. ประเด็นกลยทุ ธ 3.1 รว มมอื กับองคก รปกครองระดบั ทอ งถิ่น ภาคเอกชน หนว ยงานท่เี ก่ียวขอ งในการจัด การศกึ ษาใหสอดคลองกับบริบทของพื้นท่ี 3.1.1 ตัวชีว้ ัด (1) รอยละของเดก็ วัยเรียนท่ีเขา รบั การศกึ ษาในแตล ะระดบั การศกึ ษา (2) รอ ยละของนักเรียนออกกลางคัน (3) รอยละของสถานศึกษาที่มีระบบการดูแลชว ยเหลือและคุมครองนักเรียนและการ แนะแนวท่ีมปี ระสิทธภิ าพ (4) รอ ยละของสถานศึกษาทมี่ ีระบบฐานขอมลู ประชากรวยั เรยี นและสามารถนํามาใช ในการวางแผนจัดการเรยี นรใู หแกผ ูเ รยี นไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ 3.1.2 แนวทางการดําเนนิ การ (1) สถานศึกษารวมกับองคกรปกครองระดับพืน้ ท่ี ภาคเอกชน และหนว ยงานท่ี เกยี่ วของ วางแผนการจัดการศึกษาใหส อดคลองเหมาะสมกบั บริบทของพ้ืนท่ี (2) สถานศึกษารว มกับองคก รปกครองระดบั พื้นท่ี จดั ทาํ สํามะโนประชากรวัยเรียน (0 - 6 ป) (3) สถานศึกษารวมมือกับองคก รปกครอง ชุมชน เอกชน และหนวยงานที่เก่ียวของ ระดับพื้นท่ี จดั ทําแผนการนักเรียนทุกระดบั (4) สถานศกึ ษารว มกบั องคก รปกครองระดับพืน้ ที่ ตดิ ตาม ตรวจสอบ เดก็ วัยเรียนได เขา ถึงการบริการการเรยี นรไู ดอยางท่ัวถงึ ครบถวน (5) สถานศกึ ษาจัดทําฐานขอมูลประชากรวัยเรียน เพื่อเก็บรวบรวม เช่ือมโยงขอมูล ศึกษา วิเคราะห เพ่อื วางแผนการจดั บริการการเรยี นรูใ หแกผเู รยี น 3.2 ยกระดบั สถานศกึ ษาในสงั กดั ทกุ ระดับ และทกุ ประเภท ใหมีมาตรฐานตามบรบิ ท ของพน้ื ท่ี เพอ่ื ใหพ ัฒนาผูเรียน มคี ณุ ภาพ มีมาตรฐานเสมอกนั 3.2.1 ตัวชว้ี ดั (1) สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษามกี รอบมาตรฐานสถานศึกษา (2) รอยละของสถานศกึ ษาทผ่ี า นการประเมนิ มาตรฐานสถานศกึ ษาตามที่กําหนด 3.2.2 แนวทางการดําเนินการ ~ 47 ~

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ปง บประมาณ 2562 (1) จดั ทํามาตรฐานสถานศึกษาโดยพจิ ารณาจากปจจยั หรือองคประกอบขน้ั พ้ืนฐาน เพือ่ สรางโอกาสใหผ ูเรียนเขา ถงึ บริการการเรยี นรูทจี่ ะพฒั นาคุณภาพผเู รียนใหม ี มาตรฐานเสมอกัน ตามบริบทเชิงพนื้ ที่ เชน 1) ปจ จยั ดานโครงสรางพนื้ ฐานและสงิ่ อํานวยความสะดวก เชน อาคารเรยี นอาคาร ประกอบ หอประชมุ สนามกฬี า หองเรยี น หอ งพิเศษ วัสดุ ครภุ ณั ฑ เปน ตน 2) ดานครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 3) ดา นการบรหิ ารจดั การ 4) ดา นงบประมาณ 5) ดา นความปลอดภัย และ 6) ดา น Digital Technology (2) สง เสรมิ สนบั สนนุ ปรบั ปรงุ พัฒนาสถานศึกษาใหมีมาตรฐานตามทีก่ าํ หนด 3.3 สรางความเขม แขง็ ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาสาํ หรบั ผเู รียนทีม่ คี วามตอ งการจาํ เปนพเิ ศษ 3.3.1 ตวั ชี้วัด (1) มีขอ มูลสารสนเทศของการจดั การศกึ ษาพิเศษ ทเ่ี ชอื่ มโยงกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ทุกระดบั (2) สํานักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษมียุทธศาสตร แผนการดําเนินงาน และ แผนปฏิบัติการท่ีตอบสนองสําหรับผูเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษ ตาม ศกั ยภาพของผูเ รยี นแตล ะบคุ คล และตามสภาพและประเภทของความพกิ าร (3) ทกุ สถานศึกษาในสงั กดั มคี วามพรอ มท้ังระบบ เพือ่ สามารถการจดั การศึกษาแบบเรยี น รวม 3.3.2 แนวทางการดาํ เนนิ การ (1) จัดทาํ ระบบขอ มลู สารสนเทศของการจัดการศึกษาพิเศษ ที่เชอื่ มโยงกับหนวยงานท่ี เกยี่ วขอ งทุกระดับ และนาํ มาใชอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ (2) สงเสริม สนับสนุน สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษจัดทํากลยุทธศาสตร แผนการ ดําเนินงาน และแผนปฏิบัติเชิงรุก เนนการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการทาํ งานแบบมีสวนรวม (3) สงเสริม สนับสนุนระบบการจัดการศึกษาพิเศษ ท่ีผูเรียนสามารถเขาสูบริการชวง เช่ือมตอ (Transitional Services) หรือการสงตอ (Referral) เขาสกู ารศกึ ษา ~ 48 ~

แผนปฏิบตั ริ าชการประจําปงบประมาณ 2562 ในระดับเดียวกันและที่สูงขึ้น หรือการอาชีพ หรือการดําเนินชีวิตในสังคมไดตาม ศักยภาพของแตละบคุ คล (4) สง เสริม สนบั สนุน ใหทกุ สถานศกึ ษาในสังกัดมีความพรอ มท้ังระบบ เพ่ือสามารถการ จัดการศึกษาแบบเรยี นรวม (5) จัดใหมีศึกษานิเทศกผูรับผิดชอบการจัดการศึกษาพิเศษ ในการติดตาม ชวยเหลือ และสนบั สนนุ ใหส ถานศึกษาดําเนนิ การจดั การศกึ ษาพิเศษไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ 3.4 จัดสรรงบประมาณสนับสนนุ ผเู รียน และสถานศึกษาอยา งเหมาะสม เพยี งพอ 3.4.1 ตวั ช้วี ดั (1) มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณใหกับผูเรียน และสถานศึกษา โดยตรงอยา งเหมาะสม (2) ผูเรียนทุกคน และสถานศึกษาไดร ับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการเรียนรอู ยาง เหมาะสมและเพียงพอตอ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (3) จํานวนโครงการ/ กิจกรรมทไ่ี ดรบั ความรว มมอื จากกองทนุ ความเสมอภาคทาง การศกึ ษา 3.4.2 แนวทางการดาํ เนนิ งาน (1) ศึกษา วเิ คราะห วิธกี ารจดั สรรงบประมาณใหก บั ผเู รียน และสถานศึกษา ท้ังดา น ความเหมาะสม เพียงพอ (2) จดั สรรงบประมาณใหผ ูเรยี น และสถานศกึ ษาโดยตรง (3) ประสานความรวมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือลดความ เหลื่อมลํ้าทางการศึกษา เพื่อสนับสนุนงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการจัดการ เรยี นรูใหแ กผเู รียน 3.5 สง เสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษาหนวยงานทุกระดับนํา Digital Technology มาใชเปน เคร่อื งมอื ในการพฒั นาคุณภาพของผูเรียน 3.5.1 ตัวชีว้ ดั (1) สถานศึกษาทุกแหงมีระบบโครงขายส่ือสารโทรคมนาคมที่สามารถเช่ือมตอกับ โครงขายอินเทอรเ นต็ ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ และปลอดภยั (2) สถานศึกษามี Digital Device เพ่ือใชเปนเคร่ืองมือในการเรียนรูของผูเรียน และ เปน เคร่อื งมือในการจดั การเรียนรไู ดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ 3.5.2 แนวทางการดาํ เนินงาน ~ 49 ~

แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ปงบประมาณ 2562 (1) สงเสรมิ สนบั สนนุ ใหส ถานศึกษามีโครงขายสื่อสารโทรคมนาคมที่มปี ระสิทธิภาพ และปลอดภยั (2) สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษามีระบบคอมพิวเตอร และอุปกรณที่ใชเปน เคร่อื งมอื ในพฒั นาทกั ษะดาน DigitalLiteracy แกผ ูเรยี น (3) สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษาปรับปรุงพัฒนาหองเรียนใหเปนหองเรียน Digital (4) สงเสริม สนับสนุน Digital Device สําหรับผูเรยี นทกุ ระดับอยางเหมาะสม เพ่ือ เปนเคร่ืองมอื ในการพัฒนาการเรยี นรูของตนเองอยางตอเนอื่ งตลอดชีวติ (5) สง เสรมิ สนับสนนุ Digital Device และพัฒนา Digital Pedagogy สําหรับครูอยาง เหมาะสม เพื่อเปนเครื่องมือในการจัดกระบวนการเรยี นรูเพอ่ื พฒั นาผเู รียนได อยางมีประสิทธภิ าพ (6) โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information Technology: DLIT) (7) โครงการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม  นโยบายท่ี 5 เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การ 1. บทนาํ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 จะเนนการ พฒั นาหนวยงานในสงั กดั ใหเ ปนหนวยงานที่มีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ สามารถใหบริการได อยางมคี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ แยกแยะบทบาทหนว ยงานแตละระดับอยางชัดเจน เชน ระดับปฏิบัติ ระดับท่ีทําหนาที่ในการกํากับติดตาม เปนหนวยงานที่มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล และ โปรงใส เปนองคกรที่ปราศจากการทุจริตคอรัปชั่น ปรับวัฒนธรรมการทํางานใหมุงผลสัมฤทธ์ิและ ผลประโยชนสวนรวม มีความทันสมัย และพรอมท่ีจะปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู ตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางย่ิงการนํานวัตกรรม เทคโนโลยีขอมูลขนาดใหญ ระบบการทํางานท่ีเปน Digital เขามาประยุกตใชอยางคุมคา และปฏิบัตงิ านเทียบไดกับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปด กวาง เช่ือมโยงถึงกันและเปดโอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมเพ่ือตอบสนองความตองการของ ประชาชนไดอยางสะดวก รวดเรว็ โดยมีประเด็นกลยุทธ ดังนี้ 1) เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการบริหารจัด การศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และ สถานศกึ ษา 2) สรา งเครอื ขายความรวมมือและสง เสรมิ ใหทกุ ภาคสวนของสังคมเขา มามีสวนรวมบริหาร จัดการศกึ ษา 3) ยกระดบั การบรหิ ารงานของสถานศกึ ษาใหม ีอสิ ระ นําไปสูการกระจายอํานาจ 4 ดาน ~ 50 ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook