คู่มือปฐมพยาบาล สำ� หรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
ชือ่ หนังสอื คมู่ อื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์ พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1 13 ตลุ าคม 2560 3,000 เล่ม บรรณาธิการทีป่ รึกษา พลอากาศตรเี อกอุ เอยี่ มอรณุ พันเอกเอนกพงษ์ หิรัญญลาวลั ย์ บรรณาธิการ แพทย์หญิงนฤมล สวรรค์ปญั ญาเลิศ ผู้ชว่ ยบรรณาธกิ าร นางเพียงพิมพ์ ตนั ติลีปกิ ร นายยทุ ธนา สมานมิตร จัดพมิ พโ์ ดย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พมิ พท์ ี่ บรษิ ัท โอ-วทิ ย์ (ประเทศไทย) จำ� กัด
คำ� นำ� การปฐมพยาบาลเป็นกิจกรรมที่คาดหวังให้จิตอาสาเฉพาะกิจ ด้านการแพทย์ มีความรู้ในเรื่องการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและสามารถ ช่วยเหลือผู้ป่วยเพ่ือหลีกเล่ียงและลดผลความรุนแรงจากภาวะฉุกเฉิน ท้ังนี้ การปฐมพยาบาลเปน็ แนวทางท่งี า่ ยและสามารถป้องกนั ได้ คู่มือปฐมพยาบาลน้ีได้รวบรวมความรู้และข้อแนะน�ำในการ ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ ส�ำหรบั ใชป้ ระโยชน์ในการดูแลรักษาผู้ปว่ ยท่ีเจบ็ ปว่ ย ฉับพลัน ผู้จัดท�ำหวังว่าคู่มือนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถน�ำไปใช้ได้ ตามสมควร หากมขี อ้ คิดเห็นขอน้อมรบั ด้วยความขอบคณุ นายสมศกั ด ิ์ อรรฆศลิ ป์ อธบิ ดีกรมการแพทย์ 3ค่มู อื ปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
สารบัญ หน้า 7 7 การปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น 8 หลักการปฐมพยาบาล 9 การช่วยเหลือเม่ือพบผปู้ ว่ ย 10 การชว่ ยเหลอื เมื่อพบผ้ปู ว่ ยไม่หายใจและไมม่ ชี พี จร 11 การเปน็ ลม 12 การเป็นลมจากการเสียเหง่ือ 13 การเป็นลมจากความรอ้ น 14 ส่งิ แปลกปลอมผงฝ่นุ เข้าตา 15 เลือดก�ำเดาไหล 16 หกลม้ แผลถลอก 17 ขอ้ เคล็ด ขอ้ เทา้ แพลง 18 ตะคริว แนวทางการดแู ลจิตใจประชาชน 5ค่มู อื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
6 คมู่ ือปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจดา้ นการแพทย์
การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น การให้การช่วยเหลือเบ้ืองต้นเม่ือพบอุบัติเหตุแก่ผู้บาดเจ็บก่อนน�ำส่ง โรงพยาบาล เพื่อปอ้ งกันไม่ให้เกดิ การบาดเจ็บเพ่มิ ขน้ึ พกิ าร หรือเสียชีวติ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือใหผ้ บู้ าดเจบ็ มชี ีวติ รอด 2. เพอ่ื ไม่ให้ผู้บาดเจบ็ ได้รบั อนั ตรายเพิม่ ข้นึ 3. เพอื่ ให้ผบู้ าดเจบ็ ฟน้ื กลับคนื สสู่ ภาพเดมิ โดยเรว็ หลกั การปฐมพยาบาล 1. อยา่ ตนื่ เตน้ ตกใจ 2. สงั เกตอาการผู้บาดเจ็บ 3. ใหก้ ารปฐมพยาบาลตามล�ำดบั ความสำ� คญั 4. แจง้ หน่วยแพทย์หลกั ทีอ่ ยู่ใกลเ้ คยี ง 5. นำ� ส่งโรงพยาบาล 7คมู่ ือปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกิจดา้ นการแพทย์
การช่วยเหลือเมอื่ พบผ้ปู ่วย 1. เรยี กผู้ปว่ ย 2. ขอความชว่ ยเหลือ 3. พลิกตัวผูป้ ว่ ย 4. ตรวจการหายใจ 5. ผูป้ ว่ ยหายใจเองได้ให้นอนทา่ ท่ปี ลอดภยั คือนอนตะแคงก่งึ คว่ำ� 6. นำ� สง่ โรงพยาบาล 8 คู่มอื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
การช่วยเหลือเมื่อพบผ้ปู ่วยไม่หายใจและไมม่ ชี ีพจร 1. เปดิ ทางเดินหายใจกดหน้าผากยกคาง 2. ถ้ามีส่ิงแปลกปลอมในปากใหล้ ว้ งออก 3. ให้จิตอาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์ แจ้งหน่วยแพทย์หลกั ในพนื้ ท่ี ทีอ่ ยูใ่ กลเ้ คียง และ/หรอื แจง้ หมายเลข 1669 9คมู่ ือปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจดา้ นการแพทย์
การเป็นลม หมายถึง การหมดความรู้สึกในช่วงส้ันๆ เนื่องจากเลือดไปเล้ียง สมองไม่เพยี งพอ อาการ ออ่ นเพลยี วิงเวยี นศรี ษะ หน้าซีด ตัวเยน็ ชีพจรเบา การปฐมพยาบาล 1. จัดใหน้ อนราบ ยกเทา้ สูงกวา่ ล�ำตวั เลก็ นอ้ ย 2. คลายเสอ้ื ผ้าให้หลวม 3. ให้อย่ใู นท่อี ากาศถา่ ยเทได้สะดวก 10 คู่มือปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
การเป็นลมจากการเสยี เหง่อื หมายถึง เป็นลมจากการเสียเหง่ือ เป็นภาวการณ์สูญเสียน�้ำและ เกลือแร่ ในร่างกายทางเหงื่อหลังจากการท�ำงานหนักหรือออกก�ำลังกาย อยา่ งหกั โหมในวนั ท่ีอากาศรอ้ นจดั อาการ ปวดศีรษะ ผิวหนังเย็นซีดและชื้นอาจเป็นตะคริว มีเหง่ือ ออกมาก การปฐมพยาบาล 1. ใหผ้ ู้ปว่ ยนอนราบ พกั ในท่ีรม่ และเยน็ หรอื ท่มี อี ากาศถา่ ยเทได้ดี 2. ให้ดื่มนำ้� มากๆ (ค่อยๆ จิบ) หรอื ใหด้ ม่ื นำ�้ ผสมเกลอื แร่ 3. ถ้าอาการไมด่ ีขึ้นควรรบี น�ำส่งโรงพยาบาล 11คู่มือปฐมพยาบาลส�ำหรบั ประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
การเปน็ ลมจากความร้อน สาเหตุ เกิดจากร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกได้ เน่ืองจากอยู่กลางแจ้งหรือในท่ีร้อนจัดท�ำให้กลไกขับเหง่ือของร่างกาย ไมท่ �ำงาน การปฐมพยาบาล 1. ให้ผู้ป่วยนอนราบในทรี่ ่มและเยน็ 2. เช็ดตัวผูป้ ว่ ยด้วยน้�ำเยน็ เพือ่ ใหค้ วามรอ้ นลดลงใหเ้ ร็วท่ีสดุ 3. ถ้าอาการไม่ดีขนึ้ ควรรบี น�ำส่งโรงพยาบาล 12 คมู่ อื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
สิ่งแปลกปลอมผงฝุ่นเข้าตา การปฐมพยาบาล 1. เปดิ ลกู ตาเพอ่ื หาส่งิ แปลกปลอม 2. ให้ล้างตาด้วยนำ�้ สะอาด 3. ถ้าฝุ่น ผง ติดท่ีตาขาว ใช้ปลายผ้าสะอาดหรือปลายไม้พันส�ำลี เขีย่ เศษผงออก 4. ถา้ ฝนุ่ ผง ติดแนน่ หรอื ติดตาดำ� ให้ปิดตาด้วยผา้ สะอาด 5. รีบนำ� ส่งโรงพยาบาล ขอ้ หา้ ม 1. หา้ มขยีต้ า เพราะจะท�ำให้ตาระคายเคอื งเพ่ิมมากขึ้น 2. ห้ามใชข้ องมคี มหรอื ไม้เขย่ี เศษผงทเ่ี ขา้ ตา 13ค่มู ือปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
เลือดกำ� เดาไหล สาเหตุ มาจากการกระทบกระแทก การเป็นหวัด การสั่งน�้ำมูก การตดิ เชอื้ ในชอ่ งจมูก หรอื ความหนาวเยน็ ของอากาศ การปฐมพยาบาล 1. ใหผ้ ปู้ ว่ ยนัง่ น่ิงๆ เอนตวั ไปขา้ งหน้าเล็กนอ้ ย 2. ใช้มือบีบปลายจมูก และให้หายใจทางปากโดยบีบปลายจมูกไว้ 10 นาที ให้คลายมอื ออกถา้ เลอื ดยงั ไหลต่อให้บีบตอ่ อกี 10 นาที ถ้าเลอื ด ไมห่ ยดุ ใน 20 นาที ใหร้ ีบนำ� สง่ โรงพยาบาล 3. ถา้ มเี ลือดออกมาก ใหผ้ ปู้ ่วยบว้ นเลอื ดหรือน�ำ้ ลายลงในอา่ ง หรือ ภาชนะท่รี องรับ 4. เมอื่ เลือดหยุดแลว้ ใช้ผา้ สะอาดเชด็ บรเิ วณจมกู และปาก ขอ้ ห้าม 1. หา้ มส่ังน้�ำมกู หรอื ล้วงแคะ ขยจ้ี มกู เพราะจะทำ� ใหอ้ าการแย่ลง 14 คูม่ อื ปฐมพยาบาลส�ำหรบั ประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
หกล้มแผลถลอก เม่อื หกลม้ อาจมแี ผลถลอกได้ เชน่ ทบ่ี ริเวณหวั เข่า ขอ้ ศอก เปน็ ต้น แผลลกั ษณะนจี้ ะมผี ิวหนงั ลอกหลุด มีเลือดออกเล็กน้อย อาจมีสิ่งสกปรกท่ี แผล ถ้าปลอ่ ยท้ิงไว้อาจเกดิ การตดิ เชอื้ มีหนองได้ การปฐมพยาบาล 1. ล้างแผลด้วยน้�ำสะอาดและสบู่ เพ่ือให้ส่ิงสกปรก เศษดิน หรือ กรวดออกใหห้ มด 2. ใชผ้ า้ สะอาดกดแผลห้ามเลือดให้หยดุ ไหล 3. ใสย่ าสำ� หรับแผลสด 4. ปิดแผลดว้ ยพลาสเตอร์ หรือผ้าสะอาด 15คู่มอื ปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
ข้อเทา้ เคล็ด ขอ้ เทา้ แพลง ข้อเท้าเคล็ด ข้อเท้าแพลง เกิดจากการเคล่ือนไหวผิดท่า ท�ำให้เกิด การหมุน พลิก บิด ของข้อเท้า เช่น เดินพลาด ตกหลุม เหยียบก้อนหิน ถกู กระแทก หรือของหล่นทับ มกั มอี าการ ปวด บวม เจบ็ เคล่อื นไหวไม่ถนัด ในผสู้ ูงอายุสว่ นมากจะมีกระดกู บรเิ วณข้อเทา้ หกั ร่วมด้วย การปฐมพยาบาล 1. ให้ข้อเทา้ ท่ไี ด้รบั บาดเจบ็ อยูน่ ิง่ ๆ ห้ามเดิน 2. ยกเทา้ ให้สงู เลก็ น้อยเพื่อหา้ มเลอื ดและลดบวม 3. ประคบดว้ ยความเย็นทนั ทีนานอย่างนอ้ ย 20 นาที ห้ามประคบ ด้วยความรอ้ นใน 24 ชวั่ โมงแรก 4. ยึดขอ้ เทา้ ใหน้ ิ่งด้วยผา้ ยืด ถ้าสวมรองเทา้ ผ้าใบ หรือรองเท้าทผี่ ูก ดว้ ยเชอื กให้คลายเชอื กผกู รองเท้าแต่ไม่ตอ้ งถอดรองเทา้ 5. ถา้ ให้การปฐมพยาบาลแลว้ อาการไมด่ ีขน้ึ ใหร้ บี น�ำสง่ โรงพยาบาล ขอ้ ควรระวงั ถ้ามีอาการปวด และบวมมากข้ึน เดินไม่ได้ แสดงว่ามีกระดูกหัก รว่ มด้วยใหป้ ฐมพยาบาลเหมอื นข้อเท้าหัก แลว้ รีบน�ำส่งโรงพยาบาล 16 คูม่ อื ปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
ตะคริว หมายถึง อาการเกร็งของกล้ามเน้ือมัดใดมัดหนึ่งของร่างกาย เช่น ท้อง แขน ขา และน่อง เป็นต้น สาเหตุ มักเกิดจากการสูญเสียน�้ำและเกลือแร่เป็นจ�ำนวนมาก เช่น หลังออกก�ำลังกายเป็นเวลานาน เสียเหงื่อมาก นอกจากนี้ยังพบว่า การที่กล้ามเนื้อมีการเคล่ือนไหวน้อย หรือขาดการเตรียมพร้อมก่อนเล่นกีฬา กเ็ ปน็ สาเหตใุ ห้เกดิ ตะคริวได้ อาการ ปวดเกร็งกลา้ มเน้อื และขยับไมไ่ ด้ การปฐมพยาบาล 1. หยุดการเคล่อื นไหว 2. ยืดกล้ามเนื้อมัดท่ีก�ำลังเกิดอาการเกร็งออก เพ่ือให้กล้ามเน้ือ ไดม้ กี ารคลายตวั และบบี นวด เพื่อให้เกดิ การไหลเวยี นดขี น้ึ 3. ให้ดืม่ น้�ำเกลอื แร่ 17คู่มือปฐมพยาบาลสำ� หรบั ประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
แนวทางการดแู ลจิตใจประชาชน จิตอาสาสามารถช่วยดูแลจิตใจประชาชนที่มาร่วมพระราชพิธีฯ ไดด้ ว้ ยการปฐมพยาบาลทางใจตามแนวทาง 3 ส. ดังตอ่ ไปนี้ 1. สอดสอ่ ง มองหา สอดสอ่ งมองหาคนท่ีแสดงอารมณ์สญู เสยี เชน่ คนร้องไห้ เสียใจ อย่างมาก รวมทั้งสังเกตปฏิกิริยาทางจิตใจท่ีเกิดขึ้นกับคนน้ัน และถามถึง ความต้องการความช่วยเหลอื เร่งดว่ น 2. ใสใ่ จ รบั ฟัง เมื่อเจอคนท่ีแสดงอารมณ์สูญเสียดังกล่าวให้เข้าไปทักทายพูดคุย พรอ้ มทัง้ รบั ฟังสิ่งทเ่ี ขาระบายด้วยความสนใจ ไมเ่ รง่ รีบ จอ้ งมองสบตาและ สัมผัสอย่างอ่อนโยน เพื่อแสดงความเข้าใจ เห็นใจ และใช้ภาษากาย เช่น การสัมผัสเพ่ือย้�ำว่าเราก�ำลังสนใจฟังอยู่เพื่อช่วยให้คนที่มีอารมณ์โศกเศร้า ได้ระบาย คลี่คลายความทกุ ขใ์ นใจออกมา 3. ส่งต่อ พูดคุยถามความต้องการ ความกังวลใจ และสนับสนุน ความต้องการเบ้ืองต้นเท่าท่ีสามารถท�ำได้ หากพบผู้ท่ีมีอารมณ์เศร้ารุนแรง ให้ประสานส่งเจ้าหนา้ ทดี่ ้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 18 คู่มอื ปฐมพยาบาลส�ำหรบั ประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจดา้ นการแพทย์
อาการที่ตอ้ งเฝ้าระวัง บรรยากาศในระหว่างพระราชพิธีฯ นั้น จะมีการบรรเลงดนตรีที่ เศร้าโศก มีฝูงชนแออัด อากาศร้อน ซึ่งภาวะดังกล่าวอาจท�ำให้ประชาชน เกิดความตึงเครียด และอาจส่งผลให้มีอารมณ์โมโหง่าย หายใจถ่ีกว่าปกติ เปน็ ลม นอกจากการดแู ลจติ ใจเบอ้ื งต้นตามแนวทาง 3 ส. แล้วน้ัน จติ อาสา ควรสังเกตอาการทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั เพอ่ื ให้การช่วยเหลอื ดงั นี้ 1. มีอาการทางกายจากความเครียดทางจิตใจและควบคุมตนเองไม่ได้ เชน่ หายใจเรว็ กว่าปกติ หรอื บน่ วา่ เหนือ่ ย มือเกร็งจีบ ชกั ฯลฯ ให้ช่วยเหลือ เบือ้ งต้น ดงั นี้ 1) ประเมินชพี จรวา่ ผิดปกตหิ รือไม่ 2) สอบถามประวตั กิ ารมโี รคประจ�ำตัว หากพบข้อ 1 หรอื 2 ผิดปกติให้รีบแจง้ เจ้าหนา้ ทด่ี ้านการแพทย์ และสาธารณสุข หาก 2 ข้อข้างต้นไม่พบความผิดปกติ ให้นึกถึงภาวะหายใจเร็ว ด�ำเนินการทำ� ให้หายใจช้าลง ดงั น้ี 1) แยกตัวออกมาจากฝงู ชน พามานัง่ ให้สบาย หายใจเข้าออกชา้ ๆ 2) ใช้กรวยกระดาษครอบจมูกหายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ พร้อมชวน พดู คุยใหผ้ อ่ นคลาย ประมาณ 3-5 นาที ถา้ อาการไม่ดีข้นึ ใหแ้ จง้ เจา้ หนา้ ท่ที างการแพทย์และสาธารณสขุ 19คมู่ อื ปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
2. มีอาการโศกเศร้าเนื่องจากความกดดันจิตใจ เช่น โศกเศร้า ร้องไห้จนคุมอารมณไ์ ม่อยู่ บางคนอาจมีกรดี รอ้ ง ชัก เป็นลม ไม่รู้สกึ ตวั และ มีการแพร่กระจายของอาการเหล่านี้ไปสู่คนอื่นๆ อย่างรวดเร็ว หากพบ กลุ่มคนที่แสดงอาการโศกเศร้าหมู่ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ/ทหาร ให้ช่วยกันฝูงชนออกจากผู้มีอาการ พูดคุยให้ผ่อนคลาย ให้สอนการหายใจ เข้าออก ช้าๆ ลึกๆ แล้วจึงแจ้งเจ้าหน้าท่ีทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ เข้าช่วยเหลอื 3. สังเกตผู้มีพฤติกรรม/อารมณ์ไม่ปกติ ได้แก่ ท่าทางไม่เป็นมิตร แต่งตัวด้วยเสื้อผ้าสกปรก ตัวมีกล่ินเหล้า อารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ โกรธง่าย พดู จาคกุ คามผอู้ ่นื พกอาวธุ หากได้รับแจ้งจากฝูงชนหรือพบผู้มีอาการดังกล่าวให้รีบแจ้ง เจ้าหนา้ ที่ต�ำรวจ/ทหาร 20 คมู่ ือปฐมพยาบาลส�ำหรับประชาชน ฉบับจติ อาสาเฉพาะกจิ ด้านการแพทย์
เทคนคิ การพดู คุยสอ่ื สารกบั ประชาชน ท่ีจะช่วยลดภาวะเครียดหรอื เศร้า สง่ิ ทีค่ วรท�ำ (DO) • น้�ำเสียงเป็นมิตร อบอนุ่ จริงใจ • เนน้ การฟังอยา่ งตั้งใจและมคี วามอดทน • ยอมรบั อารมณเ์ ศรา้ ของผมู้ าร่วมงาน • ให้ความช่วยเหลอื อยา่ งเหมาะสมตรงความต้องการ 21คมู่ อื ปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
สิง่ ท่ีไม่ควรท�ำ (DON’T) • ใชค้ �ำพดู ทไ่ี มเ่ หมาะสม เช่น พดู ห้วน พูดโอ้อวด ซกั ถามมากเกนิ ไป หรอื สอ่ื สารทางลบ • มีอารมณร์ ว่ มไปกบั ประชาชนดว้ ย เชน่ รอ้ งไห้ • ใหค้ �ำสัญญาต่างๆ ท่ไี ม่แน่ใจว่าจะทำ� ใหไ้ ด้ • การตัดสินว่าผู้รับการช่วยเหลือมีปัญหาทางจิต เพราะเขา เปน็ คนธรรมดาที่อยูใ่ นเหตุการณ์ทีไ่ ม่ธรรมดาก็ได้ • เขา้ จัดการกับผ้มู พี ฤตกิ รรม/อารมณไ์ มป่ กติ ด้วยตนเอง 22 คูม่ ือปฐมพยาบาลสำ� หรับประชาชน ฉบบั จติ อาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์
เอกสารอา้ งองิ 1. วรรณี ชัชชวาลทิพากร, อรวรรณ เจริญผล, บรรณาธิการ. ชีวิต จะปลอดภัยถ้าใสใ่ จปฐมพยาบาล. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พต์ ีรณสาร; 2547 2. กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ 23คมู่ ือปฐมพยาบาลส�ำหรบั ประชาชน ฉบบั จิตอาสาเฉพาะกจิ ดา้ นการแพทย์
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: