วันเข้าพรรษา ความหมายของวนั เขา้ พรรษา การเขา้ พรรษา เป็นพุทธบญั ญตั ิ ซงึ่ พระภกิ ษทุ กุ รูปจะต้องปฏบิ ัตติ าม หมายถงึ การอธิษฐานอยู่ประจาที่ ไม่เที่ยวจาริกไปยังสถานท่ีต่าง ๆ เว้นแต่มีกิจกรรมจาเป็นจริง ๆ ช่วงจาพรรษาจะอยู่ในช่วงฤดูฝน คือ แรม ๑ ค่า เดอื น ๘ ถงึ ข้นึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๑ ของทุกปี ดังนั้น วันเขา้ พรรษา หมายถึง วันที่พระภิกษุในพระพุทธศาสนา อธษิ ฐานอยปู่ ระจาในวัดหรือเสนาสนะทค่ี ุ้มแดดคุ้มฝนได้แห่งหน่ึง ไม่ได้ไปค้างแรมในทอ่ี ่ืน ตลอด ๓ เดือนในฤดูฝน ความสาคญั ของวนั เข้าพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสาคญั ท่ีทาใหเ้ กิดกจิ กรรมเกยี่ วเนือ่ ง ดังตอ่ ไปนี้ ๑. พระภิกษุจะได้มีโอกาสศึกษาเล่าเรียนพระพุทธพจน์ ศึกษา พระธรรมวินัยและประพฤติ ปฏบิ ตั ิธรรมอยกู่ บั พระเถระทเี่ ปน็ อปุ ชั ฌาย์ อาจารยไ์ ดอ้ ยา่ งเต็มท่ี ๒. พุทธศาสนิกชนจะได้มีโอกาสบาเพ็ญบุญกุศลได้อย่างเต็มท่ี เช่น ทาบุญตักบาตร รักษาศีล สวดมนต์ ฟังธรรม เจริญภาวนา ตลอดพรรษา ๓. วันเข้าพรรษากอ่ ใหเ้ กดิ ประเพณีสาคัญ ๒ ประเพณี คอื ประเพณีการถวายผ้าอาบน้าฝนและประเพณี แห่เทยี นพรรษา ประเพณกี ารถวายผ้าอาบนาฝน ความเป็นมาของประเพณกี ารถวายผา้ อาบนาฝน มีเรื่องเล่าว่าในสมัยพุทธกาล ครั้งหนึ่งนางวิสาขามหาอุบาสิกาใช้ให้นางทาสี (หญิงรับใช้) ไปพระวิหารเชตวัน เพ่ือนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารท่ีบ้าน ในวันน้ันฝนตกหนัก เมื่อนางทาสีไปถึงวัดเห็นพระภิกษุ เปลือยกายอาบน้าอยู่เกิดเข้าใจผิดว่าเป็นพวกชีเปลือย จึงกลับมาบอกนางวิสาขาว่าในวัดไม่มีพระภิกษุเลย มีแต่พวกชีเปลือยกาลังอาบน้าฝนอยู่ นางรู้ได้ทันทีว่านั่นไม่ใช่ชีเปลือยอย่างท่ีหญิงรับใช้เข้าใจแต่เป็นพระภิกษุ ท่ีเปลือยกายอาบนา้ ฝนอยู่ ดงั น้ันหลงั จากพระพทุ ธเจา้ และพระสาวกฉันภตั ตาหารแลว้ นางวสิ าขาจงึ เขา้ ไปกราบทูล
-๒- พระพุทธเจ้าเพื่อขอถวายผ้าอาบน้าฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณี นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาจึงมีการถวายผ้าอาบน้าฝน เป็นประจาจนเกิดเปน็ ประเพณีทช่ี าวพทุ ธปฏบิ ัติสืบต่อมาจนถึงทุกวันนี้ อานสิ งสข์ องการถวายผ้าอาบนาฝน ผทู้ ท่ี าบญุ ถวายผา้ อาบนา้ ฝนจะไดร้ บั อานสิ งสเ์ หมือนการถวายผ้าชนิดอ่ืน ๆ ตามนัยที่พระอรรถกถาจารย์ กลา่ วไว้ คอื ทาใหเ้ ป็นผูม้ ผี ิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไมม่ โี รคภัยไข้เจบ็ มีความสะอาดผ่องใสท้งั กายและใจ ประเพณีแห่เทียนพรรษา ความเปน็ มาของประเพณีแหเ่ ทยี นพรรษา ประเพณีแห่เทยี นพรรษา เกิดข้นึ จากความจาเป็นท่ีว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เหมือนในปัจจุบัน เม่ือพระภิกษุจาพรรษารวมกันมาก ๆ และต้องปฏิบัติกิจวัตร เช่น การทาวัตรสวดมนต์ตอนเช้ามืดและตอนพลบค่า การศึกษาพระปริยัติธรรม กิจกรรมเหล่าน้ีล้วนต้องการแสงสว่าง โดยเฉพาะแสงสว่างจากเทียนที่พระสงฆ์ จดุ เพ่อื บูชาพระรัตนตรยั ถึงแม้ในปัจจบุ นั สภาพสังคมได้เปล่ียนแปลงไป แต่ประเพณีแห่เทียนพรรษายังคงมีอยู่ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือถวายเป็นพทุ ธบชู า
-๓- อานิสงสข์ องการถวายเทียนพรรษา ผูท้ ท่ี าบุญถวายเทียนพรรษาจะได้รบั อานิสงสต์ ามนยั พระอรรถกถาจารย์ กล่าวไว้ คือ ไม่มีโรคภยั ไขเ้ จ็บ มีความสะอาดผ่องใสท้ังกายใจ มีความสง่างาม มดี วงตาแจม่ ใส และก่อนการนาเทยี นไปถวายท่ีวดั ก็จะจดั ให้มีการหล่อเทียนใหเ้ สรจ็ เรียบร้อยกอ่ นแลว้ จงึ จัดขบวนแห่เทยี น เรียกวา่ “ประเพณีแห่เทียนพรรษา” พธิ ีหลอ่ เทียนพรรษา การแห่เทยี นพรรษา
-๔- พิธีถวายเทยี นพรรษา แนวทางท่ีพึงปฏิบัติ ๑. การแตง่ กายด้วยชุดสีขาวปฏบิ ัติธรรมถวายเปน็ พุทธบูชาตลอดพรรษา ๒. การรกั ษาศลี ๕ ตลอดพรรษา ๓. การเขา้ วดั สวดมนต์ เจรญิ ภาวนา ปฏบิ ตั ิธรรมในวนั ธรรมสวนะ ตลอดพรรษา ถวายเปน็ พทุ ธบูชา ๔. การหลอ่ เทยี น และถวายเทียนพรรษาท่ีวัดใกลบ้ ้าน ๑. http://www.dhammathai.org ๒. th.wikipedia.org ๓. http://www.learntripitaka.com ๔. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม : เอกสารประชาสัมพันธ์งานสัปดาห์ส่งเสริม พระพทุ ธศาสนา เนอื่ งในเทศกาลอาสาฬหบูชาและเข้าพรรษา ประจาปี ๒๕๖๑ , โรงพิมพ์อักษรไทย, กรุงเทพฯ
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: