กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์ ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั ยโสธร ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งยโสธร สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดยโสธร สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
สงกรานต์ คือ ประเพณีของประเทศไทย ลาว กมั พชู า พม่า ชนกลุ่มนอ้ ย ชาวไตแถบเวยี ดนาม และมนฑลยนู านของจีน รวมถึงศรีลงั กา และประเทศทาง ตะวนั ออกของประเทศอินเดีย สนั นิษฐานกนั วา่ ประเพณีสงกรานตน์ ้นั ไดร้ ับ วฒั นธรรมมาจากเทศกาลโฮลีในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใชก้ ารสาดสีแทน โดย จะจดั ใหม้ ีข้ึนในทุกวนั แรม 1 ค่า เดือน 4 ซ่ึงกค็ ือเดือนมีนาคม สงกรานต์ เป็นคาในภาษา สนั สกฤต ที่หมายถึง การเคล่ือนยา้ ย โดยเป็น การอุปมาถึงการเคลื่อนยา้ ยการประทบั ในจกั รราศี หรือการเคล่ือนเขา้ สู่ปี ใหม่ ตามความเช่ือของไทยและบางประเทศในแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประเพณี สงกรานตน์ ้นั มีสืบทอดกนั มาต้งั แต่โบราณคู่กบั ตรุษ จึงมกั เรียกรวมกนั วา่ ประเพณตี รุษสงกรานต์ หมายถึง การส่งทา้ ยปี เก่าตอ้ นรับปี ใหม่ เดิมทีวนั ที่ จดั สงกรานตน์ ้ีน้นั จะมีการคานวณทางดาราศาสตร์ แต่ในปัจจุบนั ไดม้ ีการ กาหนดวนั ที่แน่นอน คือ ต้งั แต่ 13 – 15 เมษายน แต่เดิม วนั ข้ึนปี ใหม่ไทย คือ วนั เร่ิมปี ปฏิทินของไทยจนถึง พ.ศ. 2431 และไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นวนั ท่ี 1 เมษายน เป็นวนั ข้ึนปี ใหม่จนถึง พ.ศ. 2483
ประวตั วิ นั สงกรานต์ เมื่อคร้ังก่อน พธิ ีสงกรานต์ เป็นพิธีกรรมท่ีเกิดข้ึนภายในครอบครัว หรือ ชุมชนบา้ นใกลเ้ รือนเคียง แต่ในปัจจุบนั ไดม้ ีการเปล่ียนแปลงใหพ้ ิธีสงกรานตน์ ้นั เป็นเทศกาลสงกรานต์ โดยไดข้ ยายออกไปสู่คมเป็นวงกวา้ งมากข้ึน และมี แนวโนม้ ที่จะเปลี่ยนทศั คติ ตลอดจนความเชื่อไป แต่เดิมในพธิ ีสงกรานตจ์ ะใช้ น้า เป็นสญั ลกั ษณ์ท่ีเป็นองคป์ ระกอบหลกั ของพธิ ี แกก้ นั กบั ความหมายของฤดูร้อน ช่วงเวลาท่ีพระอาทิตยเ์ คลื่อนเขา้ สู่ราศีเมษ ในวนั น้ีจะใชน้ ้ารดใหแ้ ก่กนั เพื่อความ ชุ่มชื่น มีการขอพรจากผใู้ หญ่ มีการราลึกและกตญั ญูต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลบั ต่อมา ในสงั คมไทยสมยั ใหม่เกิดเป็นประเพณีกลบั บา้ นในช่วงเทศกาลสงกรานต์ นบั วา่ วนั สงกรานตเ์ ป็นวนั ครอบครัว อีกท้งั ยงั มีประเพณีท่ีสืบทอดมาต้งั แต่ด้งั เดิม อยา่ ง การสรงน้าพระท่ีนามาซ่ึงความเป็นสิริมงคล เพ่ือใหเ้ ป็นการเริ่มตน้ ปี ใหม่ที่มี ความสุข ปัจจุบนั ไดม้ ีการประชาสมั พนั ธ์ในเชิงท่องเท่ียววา่ เป็น Water Festival หรือ เทศกาลแห่งนา้ โดยไดต้ ดั ขอ้ มูลในส่วนที่เป็นความเช่ือ ด้งั เดิมออกไป
ตานานวนั สงกรานต์ การกาเนิดวนั สงกรานต์ มีเร่ืองเลา่ สืบตอ่ กนั มาโดยใจความจารึกที่วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามฯ วา่ … เม่ือตน้ ภทั รกลั ป์ มีเศรษฐีคนหน่ึง มง่ั มีทรัพยม์ าก แต่ไม่มีบุตร บา้ นอยใู่ กลก้ บั นกั เลงสุรา ซ่ึงนกั เลงสุราน้นั มีบุตร 2 คน ท่ีผวิ เน้ือดุจดงั่ ทอง วนั หน่ึงนกั เลง สุราเขา้ ไปในบา้ นของเศรษฐีผนู้ ้นั แลว้ ด่าดว้ ยถอ้ ยคาท่ีหยาบคายต่างๆ นานๆ เศรษฐีเม่ือไดฟ้ ังแลว้ จึงถามวา่ พวกเจา้ มาพดู หยาบคายดูหมิ่นเราผเู้ ป็นเศรษฐีเพราะเหตุใด พวกนกั เลงสุราจึงตอบวา่ ท่านมีสมบตั ิมากมายแต่หามีบุตรไม่ เม่ือท่านตายไป สมบตั ิกจ็ ะอนั ตรธาน ไปมหด หาประโยชน์อนั ใดมิได้ เพราะขาดทายาทผปู้ กครอง ขา้ พเจา้ มีบุตรถึง 2 คน อีกท้งั รูปร่างงดงามเสียดว้ ย ขา้ พเจา้ จึงดีกวา่ ท่าน
ตานานวนั สงกรานต์ เศรษฐีครนั้ ไดฟ้ ังก็เหน็ จริงดว้ ย จงึ เกิดความละอายต่อนกั เลงสรุ าย่ิงนกั นึกใครอ่ ยากได้ บตุ รบา้ ง จากนนั้ ไดท้ าการบวงสรวงพระอาทติ ยแ์ ละพระจนั ทร์ ตงั้ จิตอธิษฐานเพ่ือขอใหม้ ี บตุ ร เม่อื อย่ถู งึ 3 ปี กม็ ิไดม้ ีบตุ รตามท่ีปราถนา เม่อื ขอบตุ รจากพระอาทิตยแ์ ละพระจนั ทรม์ ิไดต้ ามดงั ท่ีปราถนา อย่มู าวนั หนงึ่ เม่อื ถงึ ฤดคู ิมหนั ต์ จิตรมาส (เดือน 5) โลกสมมตวิ า่ เป็นวนั มหาสงกรานต์ คอื พระอาทติ ยย์ ก จากราศมี นี ประเวสสรู่ าศเี มษ ผคู้ นทงั้ หลายต่างพากนั เลน่ นกั ขตั ฤกษอ์ นั เป็นการรน่ื เรงิ ขนึ้ ปีใหมไ่ ปท่วั ทงั้ ชมพทู วปี ขณะนนั้ เศรษฐีจงึ พาขา้ ทาสบรวิ ารไปยงั ตน้ ไทรรมิ ฝ่ังแมน่ า้ อนั เป็นท่อี ยแู่ หง่ ปักษีชาตทิ งั้ หลาย เอาขา้ วสารซาวนา้ 7 ครงั้ แลว้ หงุ บูชา รุกขพระไทร พรอ้ ม ดว้ ยสปู พยญั ชนะอนั ประณีต และประโคมดว้ ยดรุ ยิ างคด์ นตรตี า่ งๆ ตงั้ จิตอธิษฐานขอ บตุ รจากรุกขพระไทร รุกขพระไทรมคี วามกรุณา เหาะไปขอบตุ รกบั พระอินทรใ์ หก้ บั เศรษฐี ตอ่ มา พระอนิ ทรจ์ งึ ใหธ้ รรมบาลเทวบตุ รลงไปปฏิสนธิในครรภ์ บิดามารดาจึงขนาน นามวา่ ธรรมบาลกุมาร แลว้ ปลกู ปราสาทขนึ้ ใหก้ มุ ารอยใู่ ตต้ น้ ไทรรมิ สระฝ่ังแมน่ า้ นนั้ ครนั้ เม่อื กมุ ารเจรญิ ขนึ้ ก็รูภ้ าษานกและเรยี นจบไตรเพทเม่อื มอี ายไุ ด้ 8 ขวบ อกี ทงั้ ยงั ได้ เป็นอาจารยบ์ อกมงคลการตา่ งๆ แกม่ นษุ ยช์ าวชมพทู วปี ทงั้ ปวง ซง่ึ ขณะนนั้ โลกทงั้ หลาย นบั ถือทา้ วมหาพรหม มกี บิลพรหมองคห์ นง่ึ ไดแ้ สดงมงคลการแกม่ นษุ ยท์ งั้ ปวง เม่อื กบิล พรหมไดแ้ จง้ เหตทุ ่ธี รรมกมุ ารเป็นผมู้ ชี ่ือเสียง เป็นท่นี บั ถือของมนุษยช์ าวโลกทงั้ หลาย จงึ ไดล้ งมาถามปัญหาแกธ่ รรมกมุ าร 3 ขอ้ ดงั ความวา่ 1.เวลาเชา้ สริ ิ คือ ราศอี ยทู่ ่ไี หน 2.เวลาเท่ยี ง สิริ คือ ราศอี ยทู่ ่ไี หน 3.เวลาเย็น สิริ คอื ราศีอยทู่ ่ไี หน และทา้ วกบิลพรหมไดใ้ หส้ ญั ญาว่า ถา้ ทา่ นแกป้ ัญหา 3 ขอ้ นีไ้ ด้ เราจะตดั ศีรษะมาบชู า ท่าน ถา้ ทา่ นแกไ้ มไ่ ด้ เราจะตดั ศีรษะของทา่ นเสีย ธรรมกมุ ารรบั สญั ญา แต่ผลดั แก้ ปัญญาไป 7 ทา้ วกบิลพรหมกก็ ลบั ไปยงั พรหมโลก
ตานานวนั สงกรานต์ ฝ่ ายธรรมบาลกมุ ารพจิ ารณาปัญหาน้นั ล่วงไปได้ 6 แลว้ แต่กย็ งั ไม่เห็นอุบายท่ีจะตอบปัญหา ได้ จึงคิดวา่ พรุ่งน้ีแลว้ หนอท่ีเราจะตอ้ งตายดว้ ยอาญาของทา้ วกบิลพรหม เราหาตอ้ งการไม่ จา จะหนีไปซุกซ่อนตนเสียดีกวา่ เมื่อคิดแลว้ กล็ งจากปราสาท ออกเท่ียวนอนที่ตน้ ตาล 2 ตน้ ซ่ึง มีนกอินทรี 2 ตวั ผวั เมียทารังอยบู่ นตน้ ตาลน้นั ขณะท่ีธรรมบาลกมุ ารนอนอยใู่ ตต้ น้ ตาลน้นั พลางไดย้ นิ เสียงนางนกอินทรีถามผวั วา่ พรุ่งน้ีเราจะไปหาอาหารที่ไหน นกอินทรีตวั ผจู้ ึงตอบวา่ พรุ่งน้ีครบ 7 วนั ท่ีทา้ วกบิลพรหม ถามปัญหาแก่ธรรมบางกมุ าร แต่หากธรรมบาลกมุ ารแกไ้ มไ่ ด้ ทา้ วกบิลพรหมกจ็ ะตดั ศีรษะ เสียตามสัญญา เราท้งั 2 จะไดก้ ินเน้ือมนุษย์ คือ ธรรมบาลกมุ ารเป็นอาหาร นางนกอินทรีจึง ถามวา่ ท่านรู้ปัญหาหรือ ผผู้ วั ตอบวา่ รู้ แลว้ กเ็ ลา่ ใหน้ างนกอินทรีฟังต้งั แตต่ น้ จนปลายวา่ 1.เวลาเชา้ ราศีอยทู่ ่ี หน้า คนท้งั หลายจึงเอาน้าลา้ งหนา้ 2.เวลาเที่ยง ราศีอยทู่ ่ี อก คนท้งั หลายจึงเอาน้าและแป้งกระแจะจนั ทร์ลูกไลท้ ี่อก 3.เวลาเยน็ ราศีอยทู่ ี่ เท้า คนท้งั หลายจึงเอาน้าลา้ งเทา้ ธรรมบาลกมุ ารท่ีนอนอยใู่ ตต้ น้ ไมไ้ ดย้ นิ การสนทนาของท้งั สองกจ็ าได้ จึงมีความโสมนสั ปี ติ ยนิ ดีเป็นอนั มาก จึงเดินทางกลบั มาที่ปราสาทของตน คร้ันถึงวาระเป็นคารบ 7 วนั ตามสญั ญา ทา้ วกบิลพรหมกล็ งมาถามปัญหาท้งั 3 ขอ้ ตามที่นดั หมายกนั ไว้ ธรรมบาลกมุ ารกว็ สิ ชั นา แกป้ ัญหาท้งั 3 ขอ้ ตามท่ีไดฟ้ ังมาจากนกอินทรีน้นั ทา้ วกบิลพรหมยอมรับวา่ ถูกตอ้ ง และยอม แพแ้ ก่ธรรมบาล จาตอ้ งตดั ศีรษะของตนั บูชาตามที่สัญญาไว้ แต่ก่อนที่จะตดั ศีรษะ ไดเ้ รียก ธิดาท้งั 7 อนั เป็นบาทบริจาริกาของพระอินทร์ คือ 1.นางทุงษะเทวี 2.นางรากษเทวี 3.นางโคราคเทวี 4.นางกิริณีเทวี 5.นางมณฑาเทวี 6.นางกิมิทาเทวี 7.นางมโหธรเทวี
ตานานวนั สงกรานต์ อนั โลกสมมติวา่ เป็นองคม์ หาสงกรานตก์ บั ท้งั เทพบรรษทั มาพร้อมกนั จึงได้ บอกเรื่องราวใหท้ ราบและตรัสวา่ พระเศียรของเราน้ี ถา้ ต้งั ไวบ้ นแผน่ ดินกจ็ ะเกิด ไฟไหมไ้ ปทวั่ โลกธาตุ ถา้ จะโยนข้ึนไปบนอากาศฝนกจ็ ะแลง้ เจา้ ท้งั 7 จงเอาพาน มารองรับเศียรของบิดาไวเ้ ถิด คร้ันแลว้ ทา้ วกบิลพรหมกต็ ดั พระเศียรแค่พระศอส่ง ใหน้ างทุงษะเทวธี ิดาองคใ์ หญ่ในขณะน้นั โลกธาตุกเ็ กิดโกลาหลอลเวงยงิ่ นกั เมื่อนางทุงษะมหาสงกรานตน์ าพานมารองรับพระเศียรของทา้ วกบิลพรหม แลว้ ใหเ้ ทพบรรษทั แห่ประทกั ษิณเวยี นรอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที จากน้นั จึงเชิญเขา้ ประดิษฐานไวใ้ นมณฑป ณ ถ้าคนั ธุลี เขาไกรลาศ กระทาการบูชาดว้ ยเคร่ืองทิพย์ ต่างๆ ต่อมาพระวษิ ณุกรรมเทพบุตรไดเ้ นรมิตโลงแกว้ อนั ประกอบไปดว้ ยแกว้ 7 ประการ แลว้ ใหเ้ ทพยดาท้งั หลายนามาซ่ึงเถาฉมุนาตลงลา้ งน้าในสระอโนดาต 7 คร้ัง แลว้ แจกกนั สงั เวยทวั่ ทุกๆ พระองค์ คร้ันไดว้ าระครบกาหนด 365 วนั โลก สมมติวา่ ปี หน่ึงเป็นวนั สงกรานต์ เทพธิดาท้งั 7 กท็ รงเทพพาหนะต่างๆ ผลดั เปลี่ยน เวยี นมาเชิญพระเศียรทา้ วกบิลพรหมออกแห่ พร้อมดว้ ยเทพบรรษแสนโกฏิ ประทกั ษิณเวยี บรอบเขาพระสุเมรุราชบรรษทั เป็นเวลา 60 นาที แลว้ จึงนากลบั ไป ประดิษฐานไวต้ ามเดิม ซ่ึงในแต่ละปี กจ็ ะมีนางสงกรานตแ์ ต่ละนางมาทาหนา้ ที่ ผลดั เปลี่ยนกนั ตามวนั มหาสงกรานต์
กจิ กรรมวนั สงกรานต์ การทาบุญตกั บาตร นบั วา่ เป็นการสร้างบุญสร้างกศุ ลใหก้ บั ตนเอง อีกท้งั ยงั เป็น การอทุ ิศส่วนกศุ ลน้นั ใหแ้ ก่ผทู้ ่ีลว่ งลบั ไปแลว้ การทาบุญในลกั ษณะน้ีมกั จะมีการเตรียม ไวล้ ่วงหนา้ เม่ือถึงเวลาทาบุญกจ็ ะนาอาหารไปตกั บาตรถวายพระภิกษุที่ศาลาวดั โดย จดั เป็นท่ีรวมสาหรับการทาบุญ ในวนั เดียวกนั น้ีหลงั จากท่ีไดท้ าบุญเสร็จเรียบร้อย กจ็ ะมี การก่อเจดียท์ รายอนั เป็นประเพณีที่สาคญั ในวนั สงกรานตอ์ ีกดว้ ย การรดนา้ นบั ไดว้ า่ เป็นการอวยพรปี ใหม่ใหแ้ ก่กนั และกนั น้าที่นามาใชร้ ดหวั ใน การน้ีมกั เป็นน้าหอมเจือดว้ ยน้าธรรมดา การสรงนา้ พระ เป็นการรดน้าพระพทุ ธรูปที่บา้ นและที่วดั ซ่ึงในบางที่กจ็ ะมีการ จดั ใหส้ รงน้าพระสงฆเ์ พม่ิ เติมดว้ ย การบงั สุกลุ อฐั ิ สาหรับเถา้ กระดูกของญาติผใู้ หญ่ที่ไดล้ ว่ งลบั ไปแลว้ มกั ทาท่ีเกบ็ เป็นลกั ษณะของเจดีย์ จากน้นั จะนิมนตพ์ ระไปบงั สุกลุ การรดนา้ ผู้ใหญ่ คือการท่ีเราไปอวยพรผใู้ หญ่ที่ใหค้ วามเคารพนบั ถือ อยา่ ง ครูบา อาจารย์ มกั จะนง่ั ลงกบั ที่ จากน้นั ผทู้ ่ีรดกจ็ ะเอาน้าหอมเจือกบั น้าธรรมดารดลงไปท่ีมือ ผหู้ ลกั ผใู้ หญ่กจ็ ะใหศ้ ีลใหพ้ รผทู้ ่ีไปรด หากเป็นพระกอ็ าจนาเอาผา้ สบงไปถวายเพอ่ื ให้ ผลดั เปลี่ยนดว้ ย แต่หากเป็นฆราวาสกจ็ ะหาผา้ ถงุ หรือผา้ ขาวมา้ ไปใหเ้ ปลี่ยนมี ความหมายกบั การเร่ิมตน้ สิ่งใหม่ๆ ในวนั ปี ใหม่ไทย
กจิ กรรมวนั สงกรานต์ การดาหัว มีจุดประสงคค์ ลา้ ยกบั การรดน้าของทางภาคกลาง ส่วนใหญจ่ ะพบ เห็นการดาหวั ไดท้ างภาคเหนือ การดาหวั ทาเพอ่ื แสดงความเคารพต่อผทู้ ่ีอาวโุ สวา่ ไม่วา่ เป็น พระ ผสู้ ูงอายุ ซ่ึงจะมีการขอขมาในส่ิงที่ไดล้ ่วงเกิน หรือเป็นการขอพรปี ใหม่จากผใู้ หญ่ ของที่ใชใ้ นการดาหวั หลกั ๆ ประกอบดว้ ย อาภรณ์ มะพร้าว กลว้ ย สม้ ป่ อย เทียน และดอกไม้ การปล่อยนกปล่อยปลา ถือวา่ การลา้ งบาปท่ีเราไดท้ าไว้ เป็นการสะเดาะ เคราะห์ร้ายใหก้ ลายเป็นดี มีแต่ความสุข ความสบายในวนั ข้ึนปี ใหม่ การขนททรายเข้าวดั ในทางภาคเหนือนิยมขนทรายเขา้ วดั เพอื่ เป็นนิมิตโชค ลาคใหพ้ บแต่ความสุข ความเจริญ เงินทองไหลมาเทมาดุจทรายท่ีขนเขา้ วดั แต่กม็ ี บางพ้นื ท่ีมีความเช่ือวา่ การนาทรายที่ติดเทา้ ออกจากวดั เป็นบาป จึงตอ้ งขนทราย เขา้ วดั เพือ่ ไม่ใหเ้ กิดบาป
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งยโสธร สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดยโสธร สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: