Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best app

Best app

Published by ทรรศิน อุษาวิจิตร์, 2020-10-17 06:09:30

Description: Best app

Search

Read the Text Version

1

1 คำนำ รายงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร ด้วยระบบ Database System ฉบับน้ี จัดทาข้ึน เพื่อนาเสนอรูปแบบของการบริหารจัดการภารกิจของโรงเรียนให้มี ประสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล ซึ่งสอดคลอ้ ง สนอง การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ และนา ผลงานวิธปี ฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) ของโรงเรียนจอมสุรางคอ์ ปถัมภ์ รายงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของโรงเรียน เป็นการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศใน องคก์ รดว้ ยระบบ Database System โดยจัดทาและพัฒนา Chomsurang One Stop Service Application ใช้เป็น Application หลักในการติดต่อใช้งานระหว่าง ผู้บริหาร ครู นักเรียน และผู้ปกครองตลอดจนผู้ท่ี เก่ียวข้องทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน ซึ่ง Application ที่ได้จัดทาและพัฒนา ส่งผลให้การบริหารจัดการ ภารกิจของโรงเรียนมคี วามรวดเร็ว สะดวก ลดภาระการใช้ทรัพยากรและมีความถูกต้องของข้อมูลด้านต่างๆ การดาเนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมายทีไ่ ด้ต้ังไว้ รายงานฉบับน้ี ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคณะกรรมการทุกฝ่าย ขอบคุณคณะผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน คณะครูและบุคลากร นักเรียนทุกคน ตลอดจน ผูป้ ระสานงานและรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศทุกท่าน ขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ โรงเรียนจอมสรุ างค์อปุ ถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

สำรบัญ 2 เรือ่ ง หน้ำ คำนำ สำรบญั 1 1. ควำมสำคญั ของผลงำน 1 2 ความสาคญั ของสภาพปัญหา 3 2. จุดประสงคแ์ ละเปำ้ หมำยของกำรดำเนนิ งำน 6 3. ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน 6 4. ผลกำรดำเนินงำน 6 5. ปจั จยั ควำมสำเรจ็ 8 6. กำรเรียนรูใ้ นองคก์ ร 8 7. กำรเผยแพร่/กำรได้รับกำรยอมรับ/รำงวลั ทไ่ี ดร้ ับ 8 8 7.1 การเผยแพร่ 8 7.2 การได้รบั การยอมรบั /รางวลั ที่ไดร้ บั 8 - รางวัลของสถานศึกษา 9 - รางวัลของผู้บริหารสถานศึกษา 10 - รางวลั ของครู 11 - รางวลั ของนักเรยี น ระดบั ประเทศ 12 8. งบประมำณท่ใี ช้ในกำรดำเนินงำน 13 ภำคผนวก 13 ภาคผนวก ก 14 เกียรติบัตรการประเมินรางวัลคุณภาพ OBECQA 68 ภาพโรงเรยี นดีเด่นรบั รางวลั พระราชทาน 7 ครงั้ 81 เกียรตบิ ัตร โล่รางวลั 101 ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรมทีเ่ ก่ยี วข้อง ภาคผนวก ค สรปุ ขอ้ มูลระบบสารสนเทศภายในโรงเรยี น ภาคผนวก ง การประเมนิ EQ SDQ ออนไลน์

สำรบญั ภำพ 3 เร่ือง หนำ้ กรอบความคดิ ในการดาเนนิ การใหบ้ รรลุทศิ ทางการศึกษา 2

1 รำยงำนวธิ ีปฏิบตั ทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) “กำรจัดกำรเทคโนโลยีสำรสนเทศในองค์กร ด้วยระบบ Database System” โรงเรยี นจอมสุรำงคอ์ ปุ ถัมภ์ อำเภอพระนครศรอี ยธุ ยำ จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำ เขต 3 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน 1. ควำมสำคญั ของผลงำน ในสภาวะปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน ประกอบกับการท่ีมีแอปพลิเคชัน ท่ีเป็นเครื่องมือช่วยอานวยความสะดวกในเร่ืองต่าง ๆ ทาให้ในปัจจุบันนี้ผู้คนจานวนมากต่างใช้สมาร์ทโฟน เพอื่ ใชใ้ นการติดต่อสอ่ื สาร หรือค้นคว้าหาข้อมลู สารสนเทศต่าง ๆ ไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็ว ซ่ึงสงิ่ เหล่าน้จี ะช่วย อานวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลทะเบียนประวัติ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล สามารถ ติดต่อสื่อสารและแลกเปล่ียนความคิดระหว่างภายนอกและภายในองค์กรโดยท่ีไม่จาเป็นต้องไปติดต่อ ท่ีสานักงานโดยตรง ทาให้ลดข้ันตอนและลดเวลาในการทางาน ได้รับข้อมูลท่ีมีความถูกต้องตรวจสอบได้ ดังนั้นการพัฒนาแอปพลิเคชันสาหรับการทางานในองค์กรต่าง ๆ จึงเป็นส่วนสาคัญที่จะช่วยพัฒนา ประสทิ ธภิ าพการดาเนินงานขององคก์ รในปจั จุบนั สาหรับรปู แบบการดาเนินงานของโรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ปุ ถัมภ์นั้นโดยพนื้ ฐานมีความจาเปน็ ต้องใช้งาน ข้อมูลสารสนเทศในเร่ืองต่าง ๆ เพื่อช่วยอานวยความสะดวกต่อ นักเรียน ครู ผู้ปกครองและผู้ท่ีเก่ียวข้อง ดา้ นการศึกษาใหส้ ามารถเข้าถงึ ข้อมูลไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและสะดวกรวดเร็ว อาทิ การบันทกึ เวลาเรียน ระบบดแู ล ช่วยเหลือนักเรียน รวมท้ังข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ภายในโรงเรียน นอกจากน้ีข้อมูลสารสนเทศแต่ละด้าน จะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรโดยทาให้ทราบถึงสภาพจุดเด่น จุดด้อย สามารถสรุปผลและส่งต่อข้อมูลสู่คณะ ผู้บรหิ ารได้ทราบและได้ดาเนนิ การพฒั นาองค์กรใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขน้ึ ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทางผู้จัดทาจึงได้จัดทาและพัฒนา Chomsurang One Stop Service Application ขนึ้ มา เพ่อื ใช้เปน็ แอปพลเิ คชนั หลกั ในการติดตอ่ ใชง้ านระหวา่ ง ครู นักเรียน ผปู้ กครอง ตลอดจน ผู้เกี่ยวข้องทางการศึกษาท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน โดยแอปพลิเคชันที่ได้จัดทาและพัฒนาข้ึนน้ี จะช่วยทาให้ผู้ใช้งานทุกคนสามารถเข้าถึง ค้นหาและใช้งานข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการได้ อีกทั้งจะช่วย ลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในส่วนของเอกสารต่าง ๆ ซ่ึงช่วยให้การทางานในองค์กรมีประสิทธิภาพมากขึ้น และกา้ วทนั กบั ยคุ สมยั Thailand 4.0

2 2. จดุ ประสงคแ์ ละเป้ำหมำยของกำรดำเนนิ งำน จากแนวคิดของโรงเรียนที่มุ่งเน้นการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อให้ สอดคล้องกับยุคสมัยท่ีเปลี่ยนไปให้สอดคล้องกับคาว่า Thailand 4.0 ผู้จัดทาจึงมีการกาหนดเป้าหมาย ในการจัดทาและพัฒนา โดยมเี ป้าหมาย ดงั น้ี 1. จัดทาและพัฒนาแอปพลิเคชันท่ีรองรับกับระบบปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อให้สามารถใช้งานได้กับ ทุกอุปกรณ์ที่มีขึ้นในยุคปัจจุบัน ได้แก่ IOS, Android, Windows, OSX โดยสามารถดาวน์โหลด ติดตง้ั แอปพลิเคชนั ไดผ้ ่าน App store และ Play store 2. จัดทาและพัฒนาแอปพลิเคชันที่มีความสามารถแสดงผลข้อมูลให้ครอบคลุมทุกงานบริการ ด้านสารสนเทศโดยใชง้ านแอปพลเิ คชนั เดียว (One Stop Service) 3. ลดปัญหาความซา้ ซ้อนของข้อมูล ช่วยเพิ่มประสิทธภิ าพในการทางานของบคุ ลากร กลุ่มผู้เขา้ ใชง้ าน แอปพลิเคชัน อาทิ บุคลากรครู ผู้ปกครองและนักเรยี นสามารถเข้าถึงและตรวจสอบความถูกต้อง ของขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ 4. มรี ะบบตดิ ตามและตรวจสอบการมาเรยี นของนักเรียนเพื่อรายงานให้ครูท่ีปรึกษา และผ้ปู กครอง ทราบแบบตามเวลาจริง (Real time) 5. มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนเพื่ออานวยความสะดวกแก่ครู นักเรียน และผู้ปกครอง เช่น สารสนเทศข้อมูลพื้นฐานของนกั เรียนท่ีปรกึ ษา ระบบการประเมิน ประเมนิ พฤติกรรมออนไลน์ EQ/SDQ และระบบบันทกึ คะแนนพฤติกรรมของนักเรยี น 6. มีระบบตรวจสอบผลการเรียนในงานฝ่ายวิชาการ ครู นักเรียน และผู้ปกครองสามารถตรวจสอบ ผลการเรียนของนกั เรียนได้ 7. มรี ะบบการลงทะเบยี นรายวชิ าเพิ่มเตมิ และระบบลงทะเบียนกิจกรรมชมุ นุม เพอ่ื ลดความซา้ ซ้อน และแก้ไขปัญหาจากระบบเดิมที่นักเรียนต้องลงทะเบียนจากเอกสาร ครูและนักเรียนสามารถ ตรวจสอบผลการลงทะเบียนเรยี นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 8. มีระบบคลงั ส่อื ออนไลน์ สาหรับรวบรวมส่ือการเรยี นการสอนของครใู นกลมุ่ สาระการเรียนรูต้ า่ ง ๆ นกั เรยี นสามารถเข้าถึงสื่อการเรยี นรู้ในรายวชิ าทส่ี นใจไดต้ ลอดเวลา 9. มีระบบดาเนินการสาหรับรายงานคณะผู้บริหาร เพ่ือให้ทราบถึงข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ในโรงเรียน เช่น สายตรงผู้อานวยการ ข้อมูลจานวนนักเรียน ข้อมูลอุปกรณ์ (hardware) และสรปุ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ภายในโรงเรียน

3 10. มรี ะบบตรวจสอบและแจง้ ซ่อมซ่อมอุปกรณ์ ICT ที่เสียหายเพ่ือชว่ ยให้บคุ ลากรสามารถแจ้งปัญหา ได้โดยตรง ลดระยะเวลาและภาระในเรื่องการทาเอกสาร เจ้าหน้าท่ีสามารถรับเรื่องและแก้ไข ปัญหาไดอ้ ย่างรวดเร็ว 11. ระบบสารสนเทศงานแผนงานและงบประมาณ วัสดุของโรงเรียนเพื่อแสดงสถานะการรับ-จ่าย วสั ดขุ องโรงเรยี น 12. มีระบบสาหรับห้องเรียนคุณภาพ English Program (EP) , International Program (IP) และ โครงการห้องเรยี นพเิ ศษ (GIFTED) 3. ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน โรงเรียนได้กาหนดกรอบความคิดในการดาเนินการ ให้บรรลุทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน โดยกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของการขับเคลื่อนการบริหารจัดการ นาไปสู่การปรับปรุงผล การดาเนินการและการสรา้ งนวัตกรรม ซ่ึงแสดงกระบวนการทีส่ าคัญดงั ปรากฏในภาพประกอบ ภาพที่ 1 กรอบความคดิ ในการดาเนินการใหบ้ รรลุทิศทางการศึกษา

4 ผู้จัดทาได้ใช้หลักการทางานของ ADDIE Model เพ่ือใช้ในการวิเคราะห์และพัฒนาแอปพลิเคชัน Chomsurang One Stop Service ขน้ึ มาโดยมีรายละเอียดการดาเนนิ งาน ดังน้ี A = Analysis (ขั้นตอนกำรวิเครำะห์ระบบ) ผู้จัดทาได้จัดการวิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยเริ่มจากการศึกษาหาข้อมูลความต้องการ สารสนเทศภายในโรงเรียนจากฝ่ายต่างๆ ได้แก่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจการนักเรียน ฝ่ายโสตฯ ตลอดจนสอบถามความต้องการระบบสารสนเทศแก่นักเรียน ครู และผู้ปกครอง ว่าต้องการทราบข้อมูล สารสนเทศดา้ นใดบา้ ง ผูจ้ ัดทาไดศ้ ึกษาและวิเคราะหก์ ารจดั ทาฐานขอ้ มูลซงึ่ ได้จากการสอบถามผู้เกี่ยวข้องข้างต้น เพือ่ นามา เขียนโปรแกรมและพัฒนาแอปพลิเคชัน Chomsurang One Stop Service ขึ้น โดยได้ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม จากหนังสือและตาราการเขียนและพัฒนาโปรแกรมจากทางเว็บไซต์ต่าง ๆ ประกอบกับศึกษาสภาพ ความพรอ้ มของโรงเรยี นในดา้ นอุปกรณฮ์ าร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (Hardware & Software) ศกึ ษารายละเอียด โปรแกรมสาเร็จรูปจากบริษัทเอกชน เพ่อื นามาพฒั นาและปรบั ปรุงแอปพลิเคชนั ใหเ้ หมาะสมกับสภาพบริบท ของโรงเรยี น D=Design (ขั้นตอนกำรออกแบบ) ผจู้ ดั ทาได้ดาเนนิ การออกแบบแอปพลิเคชนั โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ 1. ขั้นตอนการออกแบบระบบ โดยขั้นตอนนี้ผู้จัดทาจะจาแนกประเภทข้อมูลสารสนเทศเพ่ือจัด หมวดหมู่หรือกลุ่มงานสารสนเทศ เพ่ือให้สะดวก และใช้งานได้ง่ายกับผู้ใช้งาน และนาเสนอต่อ ผู้บริหารในการใช้งานแอปพลิเคชันประกอบกับรายงานค่าใช้จ่ายทั้งด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟตแ์ วร์ (Software) 2. ขั้นตอนการออกแบบหน้าแอปพลิเคชัน (UI design) โดยผู้ออกแบบและพัฒนาได้วางแผน ออกแบบโครงสร้างของแอปพลิเคชัน หน้าเมนูและฟังก์ชันการเข้าถึงข้อมูล สาหรับรูปแบบ ของแอปพลิเคชันจะเน้นไปที่การใช้สัญลักษณ์ (ICON) เพื่อสื่อความหมายและแบ่งหมวดหมู่ กลุ่มขอ้ มลู สารสนเทศในแอปพลิเคชนั 3. ขั้นตอนการออกแบบระบบฐานข้อมูล โดยข้ันตอนนี้ผู้จัดทาได้ทาการออกแบบฐานข้อมูล โดยการเขยี นผงั ER-Diagram เพือ่ เขยี นระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธข์ ้ึนมาให้สอดคลอ้ งกบั บริบท โดยศึกษามาจากขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ ซึ่งผู้จัดทาจะแบ่งฐานข้อมูลย่อยออกเป็นหลาย ฐานข้อมูล เพ่ือไม่ให้เกิดความหนาแน่นของข้อมูลในเชิงของการกระจุกตัวของข้อมูล มคี วามยืดหย่นุ เหมาะกบั การพฒั นา ต่อยอด สามารถเปลีย่ นแปลงระบบในอนาคตได้

5 D=Development (ข้นั ตอนกำรพฒั นำ) ผู้จัดทาได้ดาเนินการพัฒนา Chomsurang One Stop Service Application ขึ้นหลังจากที่ได้ผ่าน กระบวนการออกแบบเรียบร้อยแล้ว โดยพัฒนาแอปพลิเคชันในรูปแบบ Cross Platform ซึ่งมีรายละเอียด การของพัฒนาดงั นี้ 1. สร้างฐานข้อมูลโดยใช้ MySQL 2. เขยี นโปรแกรมภาษา PHP เพ่อื ใชร้ นั ระบบ 3. พัฒนาให้เข้ากับระบบ Smartphone android โดยใช้ Android Studio 4. พฒั นาใหเ้ ข้ากบั ระบบ Smartphone IOS โดยใช้ XCODE 5. พฒั นาระบบการตรวจสอบการมาเรียนของนักเรยี นโดยใช้ภาษาเบสิก 6. พัฒนาเคร่อื งมือด้าน Hardware โดยใช้ SDK JavaScript 7. ปรับปรุงขอ้ มูลใหถ้ ูกต้องและทนั สมัยตรวจสอบความผดิ พลาดของโปรแกรมกอ่ นนาไปใชง้ านจริง I = Implementation (ขั้นตอนกำรดำเนนิ กำร) ผู้จัดทาได้นาแอปพลิเคชันที่ได้สร้างขึน้ มาไปทดสอบกบั กลุ่มงานและหน่วยงานยอ่ ยเพอื่ หาตรวจสอบ หาความผิดพลาดและดาเนินการปรบั แก้ไขใหถ้ ูกต้องสมบูรณ์ หลงั จากนนั้ ไดด้ าเนนิ การจดั การอบรมการใช้งาน ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง บันทึก VDO วิธีการใช้งานแอปพลิเคชันรวมทั้งสร้างคู่มือการใช้งานเพื่อให้ทราบขั้นตอน วิธกี ารอย่างครบถ้วนชดั เจน ผู้จัดทาได้นาแอปพลิเคชันลง Store ตามระบบปฏิบัติการของสมาร์ทโฟนที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่ Play Store และ App Store พรอ้ มทงั้ ยงั สามารถใช้งานได้ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ผ่านเบราว์เซอร์ Chrome , Firefox , Safari และ IE จากนั้นได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์แก่ครู นักเรียน และผู้ปกครองให้ทราบเพื่อดาวน์ โหลดและเขา้ ใช้งานแอปพลเิ คชันสาหรับเขา้ ถึงขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น E = Evaluation (ขนั้ ตอนกำรประเมนิ ผล) ผู้จัดทาได้ดาเนินการตรวจสอบผลย้อนหลังการใช้งาน Chomsurang One Stop Service Application โดยภายหลังจากที่ได้ทดลองใช้งาน จะมีช่องทางการประเมินผล ได้แก่ การใช้แบบสอบถามในรูปของ แบบสอบถามออนไลน์ , ตรวจสอบยอดการดาวนโ์ หลดแอปพลิเคชนั และข้อแนะนาจาก Google Console และ Apple Development เพือ่ นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาปรับปรุงและแก้ไข เพือ่ พัฒนา แอปพลเิ คชนั ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตอ่ การใช้งานมากย่ิงขนึ้

6 4. ผลกำรดำเนินงำน ผู้จัดทาได้ดาเนินการสร้างและพัฒนาแอปพลิเคชัน Chomsurang One Stop Service Application ขึ้นมาโดยแอปพลิเคชันนี้ได้รับการตอบรับจากคณะครู นักเรียน และผู้ปกครองเป็นอยา่ งดี ซ่ึงสามารถชว่ ยให้ ผู้ใช้งานลดภาระการทางานลง ผู้ปกครองสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนได้รวดเร็วและ สะดวกสบายย่ิงขึ้น ลดภาระในเร่ืองของการเดินทางมาติดต่อโรงเรียน ลดภาระค่าใช้จ่ายในเรื่องของเอกสาร ผู้บริหารมีข้อมูลสารสนเทศเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ในด้านการจัดการบริหารจัดการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล ด้านการบริหารงบประมาณ และแผนงาน ทาให้การดาเนินงานภายในสถานศึกษามีประสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธผิ ล มีความถูกตอ้ งและแม่นยามากข้ึน 5. ปจั จัยควำมสำเรจ็ ปัจจัยที่ส่งผลให้ Chomsurang One Stop Service Application ประสบความสาเร็จเกิดจาก การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการระบบ รวมทั้งบคุ ลากรภายในองค์กรใหค้ วามรว่ มมือในการระดม ความคิดร่วมกันพัฒนาและเปล่ียนแปลงระบบการทางานจากเดิมที่มีการเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสาร ซ่ึงมีความล่าช้าในการค้นหาข้อมูล ประกอบกับจัดเก็บดูแลข้อมูลได้ยาก มีภาระในด้านค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เร่ิมปรับเปล่ียนมาใช้ในระบบแบบใหม่เป็นแบบดิจิทัลที่สามารถเก็บข้อมลู ให้เป็นสารสนเทศท่ีมีความยืดหยุ่น เข้าใช้งานได้ง่ายและเป็นระบบ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของผู้บริหารท่ีจะพัฒนาให้องค์กรทันสมัย ดาเนินการ ด้วยความพรอ้ มสนับสนนุ ครู นักเรยี น ผ้ปู กครองให้สามารถเขา้ ใช้งานสารสนเทศท่ีดีและมีประสิทธิภาพ 6. กำรเรียนรู้ในองค์กร Chomsurang One Stop Service Application ได้ทาให้เกิดการเรียนรู้ในองคก์ รหลายด้านซงึ่ มีสว่ น เกย่ี วข้องกับทกุ ฝ่าย ไดแ้ ก่ 1. ด้านการบริหารและจัดการ : ผู้บริหารสามารถเรียนรู้ระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อใช้ใน การวิเคราะห์จุดอ่อน-จุดแข็งในองค์กร ผ่าน Application ได้ เช่น ระบบสายตรงผู้อานวยการ ทาให้ทราบถงึ ประเดน็ ปัญหาต่าง ๆ ทีค่ รู นกั เรียน ผูป้ กครองร้องเรยี นเข้ามาเพ่ือใหผ้ บู้ ริหารแก้ไข ใหด้ ยี ิง่ ขนึ้ มีการลงทะเบียนรายวิชาเลือก ทาใหผ้ บู้ รหิ ารรับรู้ความต้องการในการเลือกวิชาเรียน และทาให้ได้รับข้อมูลด้านความนิยมวิชาท่ีนักเรียนสนใจ ซึ่งจะนาข้อมูลท่ีได้รับไปปรับปรุง หลักสตู รใหด้ แี ละทันสมัยสนองความตอ้ งการของนักเรยี นและผปู้ กครอง 2. ด้านขอ้ มูลขา่ วสาร : ผูบ้ รหิ าร นกั เรยี น ครู และผปู้ กครอง สามารถรบั รู้ขา่ วสารท่ีเปลย่ี นแปลงได้ โดยทันที ฉับไว และทันต่อเหตุการณ์ ถึงแม้ไม่ได้อยู่ในวันทาการก็สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ของทางโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง เช่น ระบบตารางเรียนท่ีถูกบรรจุไว้ก่อนเปิดภาคเรียนทาให้

7 ผู้เรียนได้ทราบและจัดตารางเรียนมาเรียนได้อย่างถูกต้องและเริ่มเรียนได้เลยโดยไม่เสียเวลา ด้านการแจ้งข้อมูลผลการเรียน ทาให้ผู้ปกครองสามารถดูผลการเรียนของนักเรียนในแต่ละภาค การศึกษาท่ีถูกต้อง โดยที่ไม่จาเป็นต้องมาติดต่อกับทางโรงเรียน ด้านระบบการตรวจสอบ การมาเรียน ทาให้ผู้ปกครองได้ทราบว่า นักเรียนในปกครองมาโรงเรียนหรือไม่ เวลาเท่าไรโดย จัดเก็บข้อมูลการมาเรียนแบบตามเวลาจริงสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ พร้อมมีการแสดงภาพ นกั เรียนเพอ่ื ยืนยันตัวตนและความถกู ต้องของข้อมูล 3. ด้านวิชาการ : ครูผู้สอนชุมนุมสามารถลงทะเบียนเปิดกิจกรรมชุมนุมได้ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อให้นักเรียนท่ีสนใจสามารถเข้ามาเลือกลงทะเบียนได้อย่างสะดวกรวดเร็วตามวันและเวลา ทีก่ าหนด ทาใหช้ ว่ ยลดการใช้กระดาษและได้ขอ้ มูลการลงทะเบยี นของนักเรียนที่ถกู ต้อง ทันสมัย สามารถตรวจสอบไดท้ าให้ไมเ่ กดิ ปัญหาการลงทะเบยี นซา้ ซอ้ นในรายวิชาเดิม ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ ได้ทราบถงึ ขอ้ มูลของนกั เรียนท่ลี งทะเบียนทเี่ ป็นปัจจุบนั และสามารถนาเขา้ ระบบได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลาประมวลผลผ่านเอกสารในรูปแบบการเขียนข้อมูลลงกระดาษ ลดภาระการ คัดลอกชื่อนักเรียนของครูผู้สอน สามารถส่ังพิมพ์เอกสารและประมวลผลออนไลน์ผ่านทาง แอปพลิเคชันได้อย่างรวดเรว็ และถูกต้อง อีกท้ังครูประจาช้ันสามารถตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่ ยงั ไมม่ ีผลการลงทะเบียนได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 4. ด้านงานบริการ : ครูและนักเรียน สามารถเข้าแจ้งซ่อมอุปกรณ์ท่ีเสียหายและส่งตรงถึงฝ่าย ท่ีเกย่ี วข้องได้อยา่ งทันท่วงที และมีระบบเก็บประวัติการซอ่ ม เพื่อให้ผู้บรหิ ารวิเคราะห์วา่ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ควรเปลี่ยนหรือยังไม่ควรเปล่ียนแปลง ส่งผลต่อการพัฒนาห้องเรียน คุณภาพ นาไปสกู่ ารจดั กจิ กรรมการเรียนอยา่ งมีประสิทธภิ าพของครผู ู้สอนทาใหม้ ีสื่อเทคโนโลยีท่ี มปี ระสทิ ธิภาพรองรบั การใชง้ านและการจดั การเรียนการสอน 5. หอ้ งเรียนพิเศษ : นักเรียน ครแู ละผูป้ กครอง สามารถตรวจสอบการเรียนในหอ้ งเรยี นของนกั เรยี น ได้แบบ Real-time โดยตรวจสอบผ่านกลอ้ ง IP Camera ผ่านหน้าจอ Smartphone 6. ด้านประโยชน์ต่อสังคม : การจัดทา Chomsurang One Stop Service Application ขึ้นมา และไดร้ บั ผลสาเร็จนั้นทาให้หนว่ ยงานทางการศึกษาภายนอกโรงเรยี น เชน่ โรงเรยี นในเครือข่าย ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และต่างจังหวัด รวมทั้งโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาต่าง ๆ มาขอศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบของระบบ ส่งผลให้มีความสัมพันธ์อันดีกับ โรงเรียนต่าง ๆ นอกจากน้ีโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์มีความพร้อมท่ีจะเป็นต้นแบบในด้าน การจัดการข้อมูลสารสนเทศผ่านแอปพลิเคชันให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือจะเป็นประโยชน์ ต่อดา้ นการศกึ ษาในประเทศต่อไป

8 7. กำรเผยแพร/่ กำรไดร้ บั กำรยอมรับ/รำงวลั ทไี่ ดร้ ับ 7.1 กำรเผยแพร่ 1. โรงเรียนได้เผยแพร่ผลงานผ่านทางสื่อ Social media ตา่ ง ๆ ได้แก่ Facebook , Line , Youtube, เว็บไซตข์ องโรงเรียน และส่งตอ่ เพือ่ ให้ครู นักเรยี น ผปู้ กครอง ตลอดจนหน่วยงานภายนอกไดร้ ับรู้ รบั ทราบข่าวสารเพอื่ เข้าใชง้ านแอปพลเิ คชันของโรงเรียน 2. เผยแพร่ในวารสารประชาสัมพันธ์ อาทิ วารสารโรงเรียน (สารภีสัมพนั ธ์) 3. เผยแพรใ่ ห้ความรู้แก่โรงเรียนในเครอื ข่ายจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา และจงั หวดั ใกล้เคยี ง สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 3 โดย ผ่านทางศกึ ษานเิ ทศก์ของ สพม. 3 4. เผยแพร่ในคลงั สอื่ mobile Application ในระบบของ IOS และ Android ไดแ้ ก่ App store และ Play store 7.2 กำรได้รับกำรยอมรับ/รำงวลั ท่ไี ด้รับ รำงวัลของสถำนศกึ ษำ 1. ผ่านการประเมินรางวัลคุณภาพแห่งคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA) ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงการบริหารจัดการระบบด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ แบบมีคุณภาพของโรงเรียนมาตรฐานสากล ประจาปีพุธศักราช 2560 โดยสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน 2. ผ่านการประเมินรางวัลคุณภาพระดับองค์กร (School Quality Award : SCQA) ซ่ึงแสดงให้เห็น ถงึ การบริหารจดั การอย่างมรี ะบบตามเกณฑ์ระบบคุณภาพของโรงเรียนมาตรฐานสากล 3. ผ่านการประเมินเพ่ือรับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน รวมทั้งสิ้นจานวน 7 ครั้ง ซึ่งแสดงให้เห็นว่า โรงเรียนจอมสรุ างค์อุปถัมภ์มีการจดั ระบบการเรียนการสอนท่ดี มี ีคุณภาพ และได้มาตรฐานเหมาะสมกับคุณค่า ของรางวลั พระราชทาน รำงวัลของผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำ จากการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ การดาเนินงานด้านต่าง ๆ ของโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธิผล บนพ้ืนฐานของการบริหารจัดการคุณภาพ ส่งผลใหผ้ ู้บริหารไดร้ ับรางวัล เชดิ ชูเกยี รติ ดงั น้ี 1. นายสชุ พี บญุ วงษ์ ได้รับโล่รางวลั ผูบ้ รหิ ารดเี ด่น จากสภาผู้ปกครองและครแู ห่งประเทศไทย ประจาปี 2560

9 2. นางนาฎพิมล คณุ เผอื ก ไดร้ บั โล่รางวัลรองผูอ้ านวยการดีเดน่ จากสภาผ้ปู กครองและครู แห่งประเทศไทยประจาปี 2560 3. นางนิตพิ ร เชอื้ สุวรรณ ได้รบั โล่รางวลั รองผอู้ านวยการดเี ดน่ จากสมาคมรองผอู้ านวยการ สถานศกึ ษาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานแห่งประเทศประจาปี 2560 รำงวัลของครู 1. นายทรรศิน อุษาวิจิตร์ ครูโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ เป็นครูท่ีปรึกษานักเรยี นในแผนการเรียน ภาษาอังกฤษ – คอมพิวเตอร์ และได้รับการคัดเลือกจากโรงเรยี นมหิดลวิทยาณุสรณ์ให้สนับสนุนงบประมาณ เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรยี นที่สอนวชิ าวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ดีเดน่ จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา และได้รับการคัดเลือกเป็นวิทยากรอบรม Google App For Education ให้กับโรงเรียนของรัฐบาล ในเขตภาคกลาง ตลอดจนเป็นวิทยากรสร้างสื่อการเรียนรู้และพัฒนาโปรแกรมระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ ให้แก่ อาจารย์ นิสิต นักศึกษา จากมหาวิทยาลัย ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และในการอบรมการสร้าง Application สาหรับนิสิต ปริญญาโท ภาคพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขต บางเขน 2. นางสาวนรศิ รา กระจา่ งพฒั น์ ครูโรงเรียนจอมสุรางคอ์ ปุ ถมั ภ์ ครผู ู้สอนนักเรียน ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทอง กิจกรรม การแข่งขันออกแบบส่ิงของเครื่องใช้ด้วย โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ระดบั ชัน้ ม.1 - ม.3 ระดับชาติ คร้งั ที่ 64 ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรม การแข่งขันการสร้างการ์ตูน แอนิเมช่ันเทิดพระเกียรติร.9 ระดับมัธยมศึกษา งานนิทรรศการครุวิชาการ ครั้งที่ 5 \"ตามรอยพ่อ สืบสาน ปณิธานคร\"ู ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน อันดับท่ี 4 กิจกรรม การแข่งขันออกแบบส่ิงของ เคร่ืองใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับช้ัน ม.1 - ม.3 ระดับชาติ คร้ังท่ี 65 ครผู ้สู อนนักเรียน ได้รบั รางวัลระดบั เหรียญทองอันดับท่ี 10 กิจกรรม การแข่งขนั การสร้างการ์ตูนแอนิ เมชั่น (2D Animation) ระดบั ช้ัน ม.1 - ม.3 ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 65 รำงวลั ของนักเรยี น ระดบั ประเทศ 1. รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ กิจกรรม การแข่งขัน รายการออกแบบส่ิงของเครื่องใช้ด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (งานศิลปหตั ถกรรมแหง่ ชาติ ปี 2558 , 2559) 2. รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ กิจกรรม การแข่งขันการสร้างการ์ตูนแอนเิ มช่ัน (2D Animation) ระดบั ช้ัน ม.1-ม.3

10 3. รางวัลเหรียญทอง ระดับดับภาค การแข่งขันโครงงานคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย (งานศิลปหตั ถกรรมแห่งชาติ ปี 2558 , 2560) 4. นักเรียนไดร้ ับรางวัลพระราชทาน เดก็ หญิงภทั รนนั ท์ อดุ มสิทธโิ ชติ ประจาปกี ารศึกษา 2558 ใน เขตภาคกลาง 5. รางวัลคุณภาพ เหรียญทอง การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2559 ห้องเรียน พิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม เครือข่ายภาคกลางตอนบน 8. งบประมำณท่ีใชใ้ นกำรดำเนนิ งำน Chomsurang One Stop Service Application ได้ใช้งบประมาณในการดาเนินงานและจัดทา โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี 1. เครื่อง Server ที่ใช้ในการเกบ็ ขอ้ มูลและประมวลผล 1 เครื่อง ราคา 85,000 บาท 2. ระบบตรวจสอบการมาเรียนของนักเรียน ใช้งบประมาณด้าน Hardware ได้แก่ กล้อง IP Camera จานวนทัง้ สิน 6 จุด เป็นเงินจานวน 9,000 บาท 3. ระบบการจัดการห้องเรียนพิเศษ โดยทาการติดต้ังกล้อง IP-Camera จานวน 10 ตัว เป็นเงิน จานวน 15,000 บาท 4. สมัครสมาชกิ Apple Development เพ่อื ใช้ลง App Store จานวน 3,500 บาท 5. สมัครสมาชกิ Google Play Console เพื่อใช้ลง Play Store จานวน 2,500 บาท 6. Software ไม่เสียค่าใช้จา่ ย เน่ืองจากผ้พู ฒั นาไดท้ าการเขยี นโปรแกรมขึ้นเอง รวมค่าใช้จ่ายในการพัฒนา Chomsurang One Stop Service Application ใช้งบประมาณทั้งส้ิน 115,000 บาท ซง่ึ คา่ ใช้จา่ ยดังกล่าวน้ีถกู กวา่ การจ้างบริษัทมาพัฒนาระบบให้ถงึ 90 % ผู้จัดทาและพัฒนาระบบจะดาเนนิ การพฒั นา Chomsurang One Stop Service Application ให้มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้การบริหารจัดการของโรงเรียนมีความสาเร็จ ในทุก ๆด้าน เป็นที่ยอมรบั ของนักเรยี น ผปู้ กครอง ได้รับการยอมรับในฐานะโรงเรียนทีม่ ีการบริหารจัดการ ดว้ ยระบบคณุ ภาพมาตรฐานสากล

11 ภำคผนวก

12 ภำคผนวก ก เกยี รตบิ ตั ร โลร่ ำงวลั

13 โรงเรียนดีเด่นรับรำงวลั พระรำชทำน 7 คร้ัง

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook