40 3.2.4 ปลานลิ 3.2.4.1 ต้นทนุ และผลตอบแทนในการเลี้ยงปลานลิ ในจงั หวดั ปราจนี บุรี ผลจากการสารวจต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการเลี้ยงปลานิลในจังหวัดปราจีนบุรี เกษตรกรมีต้นทุนการเล้ียงปลานิล (Total Cost : TC) จานวน 14,300.48 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร (Total Variable Cost : TVC) จานวน 10,103.14 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 70.65 และต้นทุนคงที่ (Total Fixed Cost : TFC) จานวน 4,197.34 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 29.35 ของต้นทุนทั้งหมด ตามลาดับ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่าต้นทุนท่ีเป็นเงินสด 9,726.28 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 68.01 และต้นทุนที่ไม่เป็นเงินสด 4,574 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 31.99 โดยต้นทุนผันแปรท่ีเป็นเงินสด ส่วนใหญ่เป็นค่าวัสดุ ได้แก่ ค่าอาหาร ค่าพันธุ์ ค่าน้ามันเช้ือเพลิงและน้ามันหล่อล่ืน ค่าวัสดุปรับสภาพดินและ น้า รองลงมาเป็นค่าแรงงาน ได้แก่ ค่าจับ และค่าเตรียมบ่อ ตามลาดับ ส่วนต้นทุนไม่เป็นเงินสดนั้นส่วนใหญ่ เป็นค่าดูแลรักษา และค่าเสียโอกาสในการลงทุน สาหรับต้นทุนคงที่ท่ีเป็นต้นทุนไม่เป็นเงินสด เป็นค่าเช่าท่ีดิน รองลงมาเป็นค่าเสื่อมบ่อและอุปกรณ์ และคา่ เสยี โอกาสเงนิ ลงทุนบอ่ และอุปกรณ์ฯ เม่อื พิจารณาถึงผลตอบแทนทเ่ี กษตรกรได้รบั เกษตรกรมีต้นทนุ การเล้ียงปลานิล ผลผลิตเฉล่ีย 791.87 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนจากราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย 28.81 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะมีรายได้ 22,813.77 บาทต่อไร่ ดังน้ันเกษตรกรจะมีผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 12,710.63 บาทต่อไร่ และมีผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด 13,087.49 บาทต่อไร่ และจะได้รับผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ Economic Profit เท่ากับ 8,513.29 บาท โดยท่ีจุดคุ้มทุนในการผลิตมันสาปะหลัง Break Even Point ปริมาณผลผลิต ณ จุดคุ้มทุน 496.37 กิโลกรัมต่อไร่ โดยต้นทุนต่อกิโลกรัม เท่ากับ 18.06 บาท โดยท่ี ระยะเวลาในการเล้ียงทั้งหมด 319 วัน อัตราการปล่อยลูกปลา 3,796 ตัวต่อไร่ ราคาลูกพันธ์ุ 0.37 บาทต่อตัว ขนาดปลาที่จับโดยเฉลี่ย 525 กรัมต่อตัว จานวนปลาท่ีจับได้ต่อรุ่น 1,508 ตัวต่อไร่ อัตราการรอด 39.73 เปอร์เซ็นต์ อัตราการแลกเน้ือ 1.53 ปริมาณการกินอาหารเฉลี่ย 1,213.29 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาอาหารเฉลี่ย 2.10 บาทต่อกิโลกรัม ปริมาณการกินอาหารสาเร็จรูป 6.14 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาอาหารสาเร็จรูป 10 บาทต่อ กโิ ลกรมั ปรมิ าณการกินอาหารอื่น ๆ 1,207.15 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ราคาอาหารอื่น ๆ 2.06 บาทต่อกโิ ลกรัม ตารางที่ 21 ตน้ ทนุ ปลานิล ปี 2559 จงั หวัด ปราจนี บรุ ี ไมแ่ ยกลกั ษณะความเหมาะสม หนว่ ย : บาท/ไร่ รายการ ไมแ่ ยกความเหมาะสมของดนิ เงินสด ประเมนิ รวม 1. ต้นทนุ ผนั แปร 8,949.14 1,154.00 10,103.14 1.1 คา่ แรงงาน 2,622.79 606.51 3,229.30 เตรยี มบอ่ 871.46 - 871.46 ดูแลรกั ษา 466.40 606.51 1,072.91 ค่าจับ 1,284.93 - 1,284.93 1.2 ค่าวัสดุ 6,326.35 - 6,326.35 คา่ พนั ธุ์ 1,397.03 - 1,397.03
41 หน่วย : บาท/ไร่ รายการ ไม่แยกความเหมาะสมของดิน คา่ อาหาร เงินสด ประเมนิ รวม ค่ายารกั ษาโรค และวิตามิน คา่ วสั ดุปรับสภาพดินและนา้ 2,550.00 - 2,550.00 ค่าน้ามันเชอ้ื เพลงิ และนา้ มันหล่อลน่ื ค่าไฟฟ้า 15.00 - 15.00 คา่ วัสดสุ นิ้ เปลอื ง คา่ ซอ่ มแซมฯ 1,037.28 - 1,037.28 คา่ ใชจ้ า่ ยเบด็ เตลด็ 1.3 ค่าเสยี โอกาสในการลงทุน 1,072.82 - 1,072.82 2. ตน้ ทนุ คงท่ี 2.1. ค่าเชา่ ท่ีดิน 45.52 - 45.52 2.2. ค่าเสอ่ื มบ่อและอุปกรณ์ฯ 2.3. ค่าเสียโอกาสเงนิ ลงทนุ บ่อและอปุ กรณฯ์ 9.11 - 9.11 3. ตน้ ทุนท้ังหมด 4. ผลผลติ ต่อไร่ (กิโลกรมั ) 115.29 - 115.29 5. ต้นทุนตอ่ กิโลกรมั 6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 84.30 - 84.30 7. รายได้ทงั้ หมดต่อไร่ (บาท) 8. กาไรสุทธิต่อไร่ (บาท/ไร่) - 547.49 547.49 9. กาไรสุทธิตอ่ กโิ ลกรัม 10. ระยะเวลาใหอ้ าหารสาเรจ็ (วนั ) 777.14 3,420.20 4,197.34 11. ระยะเวลาในการเล้ียงท้งั หมด (วนั ) 12. ขนาดลกู ปลาทีป่ ล่อยเฉลย่ี (ตวั /ซม.) 777.14 1,178.99 1,956.13 13. อตั ราการปล่อยลกู ปลา (ตวั /ไร)่ 14. ราคาลูกพันธุ์ (บาท/ตัว) - 1,712.79 1,712.79 15. ขนาดปลาทจี่ บั โดยเฉล่ยี (กรมั /ตัว) 16. จานวนตัวท่จี ับไดข้ องรุน่ นี้ (ตวั /ไร)่ - 528.42 528.42 17. อตั ราการรอด (%) 18. อตั ราการแลกเน้อื (FCR) 9,726.28 4,574.20 14,300.48 19. ปรมิ าณกนิ อาหารเฉลีย่ (กก./ไร่) 791.87 - 791.87 12.28 5.78 18.06 28.81 - 28.81 22,813.77 - 22,813.77 13,087.49 - 8,513.29 16.53 - 10.75 283.00 - 283.00 319.00 - 319.00 1.00 - - 3,796.00 - 3,796.00 0.37 - 0.37 525.00 - 525.00 1,508.00 - 1,508.00 39.73 - 39.73 1.53 - 1.53 1,213.29 - 1,213.29
42 หน่วย : บาท/ไร่ รายการ ไมแ่ ยกความเหมาะสมของดนิ เงินสด ประเมิน รวม 20. ราคาอาหารเฉลยี่ (บาท/กก.) 2.10 - 2.10 21. ปริมาณ-กนิ อาหารสาเร็จรปู (กก.) 6.14 - 6.14 22. ราคาอาหารสาเรจ็ รปู (บาท/กก.) 10.00 - 10.00 23. ปริมาณกนิ - อาหารอ่ืนๆ (กก.) 1,207.15 - 1,207.15 24. ราคาอาหาร อืน่ ๆ (บาท/กก.) 2.06 - 2.06 25. อัตราคา่ จ้าง ( คน/วนั ) 283.00 - 283.00 26. จานวนบ่อทีจ่ ับของรนุ่ น้ี (บอ่ ) - -- 27. เนอื้ ทเ่ี ลย้ี งทั้งหมด (ไร)่ 219.70 - 219.70 28. เนื้อท่เี ลยี้ งเฉลย่ี (ไร่/บอ่ ) -- - 29. อัตราดอกเบ้ียเงนิ ลงทนุ ตอ่ ปี (ร้อยละ) 7.00 - 7.00 30. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ (บาท/ไร่) - - 8,513.30 31. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ผลผลติ (บาท/กก.) - - 10.75 32. ปริมาณผลผลติ ณ จดุ คุ้มทุน (กก./ไร่) - - 496.37 ที่มา : จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 6 การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน สินค้าท่ีสาคัญ (สินค้า Top 4) จังหวัดปราจีนบุรี แยกเป็น ข้าว มันสาปะหลัง ไก่เน้ือ ปลานิล เป็นต้น จะเห็นได้ว่าสินค้า Top 4 สินค้าที่ได้รับผลตอบแทนมาก ที่สุดคือ ปลานิล รองลงมาได้แก่ข้าวในพื้นที่เหมาะสม และไก่เนื้อ ตามลาดับ ส่วนมันสาปะหลังขาดทุน เน่ืองจากราคาตกต่า และต้นทุนการผลิตสงู รายได้จากการเล้ียงปลานิล เท่ากับ 22,813 บาทต่อไร่ โดยท่ีต้นทุนเท่ากับ 14,300 บาทต่อไร่ ดังนั้น ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ เทา่ กับ 8,513.29 บาท หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ 59.53 ของต้นทนุ การผลติ รายได้จากการปลูกข้าวในพ้ืนที่เหมาะสม เท่ากับ 4,850.01 บาทต่อไร่ โดยท่ีต้นทุนเท่ากับ 3,178.27 บาทตอ่ ไร่ ดงั น้ันผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากบั 1,671.74 บาท หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.60 ของต้นทนุ การผลิต
ตารางที่ 22 ตารางเปรยี บเทียบต้นทนุ การผลิต ผลตอบแทน สินคา้ ทสี่ าคัญ (สนิ ค้า รายการ ขา้ ว (บาท/ S 1. ต้นทนุ ผันแปร 2,604.18 2. ตน้ ทุนคงท่ี 574.09 3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 4. ตน้ ทุนต่อกโิ ลกรมั (บาท/กก.) 3,178.27 5. ผลผลติ ต่อไร่ (กโิ ลกรมั ) 4.52 6. ราคาเฉลย่ี ทีเ่ กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 7. มูลคา่ ผลผลิต/รายไดท้ ง้ั หมด (บาท/ไร)่ 703.92 8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ (บาท/ไร่) 6.89 9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ผลผลิต (บาท/กก.) 10. ปรมิ าณผลผลติ ณ จดุ คมุ้ ทุน (กก./ไร่) 4,850.01 1,671.74 2.37 461.29 ที่มา : จากการสารวจขอ้ มูล สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6
43 TOP 4) จังหวดั ปราจีนบุรี หน่วย : บาท/ไร่ /ไร่) มนั สาปะหลัง (บาท/ไร่) ไกเ่ น้อื ปลานิล (บาท/ตวั ) (บาท/ไร)่ NS N 64.81 10,103.14 2,926.53 4,909.24 4,735.82 2.66 4,197.34 541.09 742.11 987.61 67.47 14,300.48 34.6 3,467.62 5,651.35 5,723.43 1.95 18.06 5.62 1.97 2.15 36.32 791.87 70.82 28.81 617.32 2,865.01 2,658.10 3.35 22,813.77 6.89 1.83 1.83 1.72 8,513.29 1.86 10.75 4,253.33 5,242.97 4,864.32 496.37 785.71 -408.38 -859.11 1.27 503.28 -0.14 -0.32 3,088.17 3,127.56
44 3.3 วิถีตลาดและบัญชีสมดลุ 3.3.1 บัญชีสมดลุ ข้าว โครงสร้างตลาดข้าวในจังหวัดปราจีนบรุ ี 1) เกษตรกร พื้นท่ีปลูกข้าวเจ้านาปีของเกษตรกรส่วนใหญ่อยู่ในอาเภอกบินทร์บุรี รองลงมาอาเภอบ้านสร้าง อาเภอ ศรีมหาโพธิ อาเภอเมืองปราจีนบุรี อาเภอประจันตคาม อาเภอศรีมโหสถ และอาเภอนาดี พันธุ์ท่ีนิยมปลูก คือ พนั ธุ์พื้นเมือง เช่น เหลืองประทิว พลายงาม ตาแห้ง เป็นตน้ เพราะเป็นนาในท่ีลมุ่ นา้ ทว่ มทกุ ปี ส่วนพนั ธ์ขุ ้าวนา ปีของกรมการข้าวแนะนากม็ ปี ลกู บา้ งในพนื้ ที่สง่ เสรมิ หรอื ทานาขายเมล็ดพนั ธุ์ เกษตรกรรายย่อยที่ปลูกส่วนมากไม่ค่อยเก็บไว้เพ่ือบริโภคภายในครัวเรือนมีเพียงร้อยละ 9.87 เท่านั้น เพราะเป็นขา้ วค่อนขา้ งแข็ง และเกบ็ ไวเ้ ป็นเมล็ดพันธ์ุร้อยละ 5.22 สุดท้ายเก็บไวจ้ า่ ยเป็นค่าเชา่ นารอ้ ยละ 3.14 รวมแล้วเกษตรกรเก็บข้าวเปลือกไว้ประมาณร้อยละ 18.23 ส่วนพฤติกรรมการขายข้าวเจ้านาปีของเกษตรกร จะขายผลผลิตหลังจากเก็บเก่ียวแล้วเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเดือนที่เกษตรกรนาผลผลิตออกขายมาก ได้แก่ เดือน ตลุ าคมถงึ เดือนธันวาคม ประมาณร้อยละ 80.52 ซ่ึงเป็นผลผลติ ของขา้ วนาปีรอบแรก และมีบางพื้นท่ที ี่มีแหล่ง น้าจะทานาปีรอบสองในช่วงเดือนสิงหาคมซึ่งผลผลิตก็จะออกช่วงเดือนมกราคมถึงกุ มภาพันธ์ซ่ึงก็มีทิศทาง ลดลงอย่างตอ่ เน่อื งเพราะปริมาณน้ามีน้อยและปริมาณฝนตกมไี ม่มาก สาหรับการขายผลผลิต เกษตรกรจะขายผลผลิตให้กบั โรงสีข้าว สหกรณก์ ารเกษตร และพ่อค้ารวบรวม ท้องถิ่น (ลานรับซื้อข้าวเปลือก) จากการสารวจพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 55.90 ขายข้าวเปลือกเจ้านาปีให้กับโรงสีในพื้นที่โดยตรงซ่ึงโรงสีข้าวจะมีมาตรฐานในการรับซื้อข้าวเปลือก โดยมีการ คัดคุณภาพข้าวก่อนรองลงมา คือ ขายผลผลิตให้กับสถาบันเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นสหกรณ์การเกษตร คิดเป็น รอ้ ยละ 16.34 เพราะมีโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพ่ิมโดยสถาบันเกษตรกร ปี 2559/60 ซ่งึ เหมาะสาหรับเกษตรกรที่เป็นสมาชิกของสหกรณ์การเกษตร และต้องการใช้หนี้และรับเงินปันผลจึงขายข้าว ให้กับสหกรณ์การเกษตรที่ตนเองเป็นสมาชิก จากน้ันขายให้ผู้รวบรวมท้องถ่ินประมาณร้อยละ 9.53 ด้วยเหตุผลในเรื่องของความสะดวกสบายเพราะผู้รวบรวมท้องถิ่นสามารถรับซ้ือข้าวเปลือกทั้งหมด โดยไม่มี การคดั คณุ ภาพขา้ วเปลือกมากเทา่ โรงสี 2) ผูร้ วบรวมทอ้ งถิ่น/ลานรบั ซือ้ ขา้ ว พ่อค้ารวบรวมท้องถ่ินส่วนมากจะเป็นลานรับซื้อข้าวเปลือกในแต่ละอาเภอ ซ่ึงจะทาหน้าท่ีรวบรวม ข้าวเปลือกจากเกษตรกรส่งต่อให้กับโรงสีข้าว ซ่ึงผู้รวบรวมท้องถิ่นจะมีลานรับซ้ือเป็นของตนเองโดยรับซ้ือ ข้าวเปลือกจากเกษตรกรโดยตรง และมีการจ้างแรงงาน และรถบรรทุกขนข้าวเป็นของตนเองทั้งน้ีด้วยปัจจัย ความผันผวนของราคาข้าวเปลือกฤดกู าลนี้ทาให้ผู้รวบรวบชะลอการรับซื้อผลผลิตเพราะเกรงว่าราคาปลายทาง จะปรับลดลงหรือยังไม่รับซื้อ จึงทาให้ปีนี้ปริมาณรับซ้ือข้าวของผู้รวบรวมลดลงโดยรวบรวมจากเกษตรกรราย ย่อยโดยตรงร้อยละ 9.53 และมีบางผู้รวบรวมท้องถ่ินหันมารวบรวมผ่านสหกรณ์การเกษตรท่ีร่วมโครงการ สินเช่อื เพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพ่ิมโดยสถาบันเกษตรกร ปี 2559/60 อีกร้อยละ 6.80 เพราะได้รับการ ชดเชยดอกเบ้ียจึงทาให้ผู้รวบรวมทอ้ งถิ่นสามารถรวบรวมข้าวเปลือกเจ้านาปีไดป้ ระมาณร้อยละ 16.33 แล้วส่ง ตอ่ ไปโรงสใี นจงั หวดั รอ้ ยละ 11.79 และส่งออกนอกจงั หวัดร้อยละ 4.54 ตอ่ ไป 3) สถาบนั เกษตรกร (สหกรณ์การเกษตร/วสิ าหกิจชุมชน) โดยปกติสหกรณ์การเกษตรส่วนใหญ่ทาหน้าท่ีการให้สินเชื่อเงินกู้ การจาหน่ายปัจจัยการผลิต หรือ การจ่ายเงินปันผลให้แก่สมาชิก และบางสหกรณ์มีการรับซ้ือข้าวและมีโรงสีเอง แต่เมื่อมีโครงการสินเชื่อเพ่ือ รวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพ่ิมโดยสถาบันเกษตรกร ปี 2559/60 จึงทาให้มีการรับซ้ือข้าวจากเกษตรกรมาก
45 ย่ิงขึ้นซ่ึงเกษตรกรที่นยิ มนาข้าวมาขายให้กบั สหกรณ์การเกษตรจะเป็นสมาชิกของสหกรณ์การเกษตร เน่ืองจาก สมาชิกเหล่าน้ี จะได้รับประโยชน์จากสหกรณ์ในหลายดา้ น รวมไปถึงความมั่นใจในกระบวนการชั่งน้าหนักและ มาตรฐานในการตรวจสอบคุณภาพข้าว ทั้งนี้สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดปราจีนบุรีท่ีรวบรวมข้าวเปลือกเข้า โครงการมี 5 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรประจันตคาม จากัด สหกรณ์การเกษตรเพ่ือการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ปราจีนบุรี จากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองปราจีนบุรี จากัด สหกรณ์การเกษตรศรีมหาโพธิ จากัด สหกรณ์ การเกษตรบ้านสร้าง จากัด ซึ่งสหกรณ์การเกษตรจะรวบรวมแล้วทาสัญญาส่งข้าวเปลือกต่อไปยังโรงสีและผู้ รวบรวมท้องถ่ินในจังหวัดที่ทาสัญญาตกลงกันไว้โดยไม่มีการเก็บสต็อกข้าวไว้ท้ังนี้โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวม ข้าวฯส่งผลดีสนับสนุนให้สถาบันเกษตรกรสามารถเกิดความคล่องตัวในการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรได้ รวดเร็วและปรมิ าณท่ีมากข้นึ โดยสถาบนั เกษตรกรสามารถรวบรวมผลผลติ ข้าวเปลือกเจ้านาปไี ดร้ อ้ ยละ 16.34 4) โรงสีข้าว โรงสีข้าว เป็นหน่วยธุรกิจทางการตลาดท่ีมีหน้าที่รวบรวมข้าวเปลือกจากเกษตรกร พ่อค้ารวบรวม ท้องถิ่น สหกรณ์การเกษตร เพื่อแปรรูปเป็นข้าวสาร ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าว และเก็งกาไรจากส่วนต่างของ ราคาส่งต่อให้กับพ่อค้าคนกลาง (พ่อค้าขายส่ง และพ่อค้าขายปลีก) โรงสีขายข้าวสารหน้าร้านเอง หรือส่งออก ให้กับผู้ส่งออกโดยตรง ในปัจจุบันการดาเนินงานของโรงสีจะแตกต่างกันตามศักยภาพของขนาดโรงสีซึ่งตาม ประกาศพระราชบัญญัติการค้าข้าว พ.ศ.2489 ได้มีประกาศปรับคานิยามประเภทสีข้าว ณ วันท่ี 24 มิถุนายน 2558 ดังนี้ - โรงสีขนาดเล็ก ที่ทาการสีข้าวเพื่อการค้าหรือรับจ้างสีข้าวซ่ึงมีกาลังการผลิตไม่ต่ากว่า 5 - 60 ตันตอ่ 24 ชว่ั โมง - โรงสีขนาดกลาง ท่ีทาการสีข้าวเพ่ือการค้าหรือรับจ้างสีข้าวซ่ึงมีกาลังการผลิตไม่เกินกว่า 60 - 300 ตันต่อ 24 ชัว่ โมง - โรงสขี นาดใหญ่ ท่ีทาการสีข้าวเพ่ือการค้าหรอื รบั จา้ งสีขา้ วซ่ึงมกี าลังการผลิตเกินกวา่ 300 ตันต่อ 24 ช่ัวโมง ซึ่งโรงสีขนาดเล็กของจังหวัดปราจีนบุรีส่วนใหญ่เป็นโรงสีท่ีต้ังอยู่ในหมู่บ้าน ปัจจุบันแนวโน้มของ ผู้ประกอบการโรงสีข้าวในหมู่บ้านมีจานวนลดลง เน่ืองจากการขยายตัวของตลาดค้าปลีกข้าวสารท่ีมากขึ้น ทาให้เกษตรกรมาจ้างสีข้าวเปลือกนอ้ ยลง แต่โรงสีขนาดเล็กก็ยังเป็นอีกทางเลือกหน่ึงท่ีเกษตรกรใช้ในการแปร รปู ข้าวสารภายในท้องถ่ิน ส่วนโรงสีขนากลางและขนาดใหญ่จะมีโรงอบและโกดังสาหรับเก็บผลผลิตจะตั้งอยู่ ใกล้แหล่งผลติ ข้าวท่ีสาคัญ หรอื ในแหล่งชุมชนที่มีการขนส่งข้าวเปลือก โดยทาเลทต่ี ั้งของโรงสีขนาดกลาง และ โรงสขี นาดใหญ่ จะกระจายตวั อยูใ่ นพืน้ ที่อาเภอที่เปน็ แหล่งปลูกขา้ วท่ีสาคญั และต้ังอย่บู นถนนสายหลกั ที่มีการ คมนาคมขนส่งสะดวก ซึ่งนอกจากโรงสีขนาดดังกล่าวจะทาหน้าที่ในการแปรรูปข้าวเปลือกเป็นข้าวสารแล้ว ยังทาหน้าที่เก็บรักษาเพ่ือเก็งกาไรในตลาดข้าวเปลือกและข้าวสาร โดยเก็บข้าวเปลือกในช่วงฤดูเก็บเก่ียวท่ีมี ราคาต่าแลว้ ค่อยทยอยนาผลผลติ ออกขายเม่ือผ่านพน้ ฤดูเกบ็ เกย่ี วในระยะที่ราคาขา้ วเพิ่มสูงข้นึ อย่างไรก็ตาม สาหรับผลผลิตข้าวเจ้านาปีของจังหวัดปราจีนบุรีซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมือง มีจุดเดน่ คอื มีอะมโิ ลสสงู จึงมีเส้นใยแขง็ แรงเหมาะสมต่อการแปรรูปเป็นเสน้ ก๋วยเต๋ยี วจึงทาให้เป็นที่ตอ้ งการของ โรงงานแปรรูป ทั้งนี้ ปริมาณผลผลิตข้าวเจ้านาปีของจังหวัดปราจีนบุรีมีอัตราการเพ่ิมข้ึนในทิศทางที่ลดลงจึง ทาให้โรงสีมคี วามสามารถในการรองรบั ปริมาณขา้ วเปลือกเจา้ นาปขี องจังหวัดและสามารถรับซ้อื ผลผลิตข้าวนา ปีจากจังหวัดอืน่ เพอ่ื มาสีปรบั ปรงุ คณุ ภาพไดอ้ ีกในชว่ งเวลาท่ีมีผลผลติ ออกสตู่ ลาดพร้อมกัน
46 1) วิถีการตลาดสินค้าขา้ ว ปี 2559/60 จังหวัดปราจีนบุรีมีปริมาณข้าวเปลือกเจ้านาปี 159,311 ตัน วัตถุประสงค์หลักในการ ปลูกข้าวเจ้านาปีของเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรี คือ ขายร้อยละ 81.77 และเก็บข้าวไว้ร้อยละ 18.23 ซึ่ง แบ่งเปน็ เก็บไว้บรโิ ภคในครัวเรอื นรอ้ ยละ 9.87 และเก็บไวท้ าเมล็ดพนั ธุ์รอ้ ยละ 5.22 และเก็บไวจ้ ่ายแทนค่าเช่า นาดว้ ยผลผลิตร้อยละ 3.14 ส่วนการขายผลผลิต 3 ช่องทาง อันดับแรกเกษตรกรจะขายให้โรงสีโดยตรงร้อยละ 55.90 รองลงมา ขายให้สถาบันเกษตรกรเพิ่มขึ้นเพราะมีโครงการของรฐั มาส่งเสริมร้อยละ 16.34 และขายให้ผู้รวบรวมท้องถิ่น รอ้ ยละ 9.53 จากน้ันผลผลิตข้าวจากสถาบันเกษตรกรรวบรวมได้แบ่งส่งผ่านไปยังโรงสีร้อยละ 9.54 และสง่ ไป ผ่านไปผรู้ วบรวมทอ้ งถิ่นหรือทา่ ข้าวร้อยละ 6.80 จากนัน้ ผู้รวบรวมท้องถ่นิ ทาการตากปรบั ปรุงคุณภาพแลว้ ขาย ต่อไปโรงสีในจังหวัดร้อยละ 11.79 และส่งออกไปจังหวัดอื่นร้อยละ 4.54 ส่วนโรงสีในจังหวัดปราจีนบุรีรับซื้อ ข้าวเปลือกเจ้านาปีของจังหวัดร้อยละ 77.23 และมีการซื้อขา้ วจากจงั หวัดอ่ืนมาอีกรอ้ ยละ 5.81 ของผลผลิตที่ โรงสีรวบรวมได้ ตลาดข้าวเปลือกเจา้ นาปี จังหวัดปราจีนบรุ ี ชาวนาผลิตข้าวเปลือกเจา้ นาปี เก็บ18.23% บริโภคในครัวเรือน 15,724 ตนั : 9.87% น่าย เกบ็ ทาเมล็ดพนั ธ์ุ 8,316 ตัน : 5.22% 159,311 ตัน : 100% ขาย 81.77% เก็บจา่ ยแทนค่าเช่านา 5,002 ตนั : 3.14% 9.53% น่าย 74,771.90 16.34% จังหวดั อื่น ผ้รู วบรวมทอ้ งถนิ่ 6.80% ผู้รวบรวมท้องถ่นิ /โรงสี 26,020 ตัน: 16.33% สถาบนั เกษตรกร 26,031 ตนั : 16.34% ออก 7,234 ตนั เขา้ 6,205 ตนั 9.54% 4.54% 11.79 โรงสี 5.81% ของผลผลิตทโ่ี รงสีรวบรวมได้ 55.90% % 106,804 + 6,205 ตนั =113,009 ตนั ภาพที่ 17 วิถกี ารตลาดสนิ ค้าข้าวเปลือกเจ้านาปีในจังหวัดปราจนี บรุ ี ปี 2559/60 สาหรบั ราคาขา้ วเปลือกเจา้ นาปีทีเ่ กษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นาเฉลี่ยรายเดือน ปี 2559-60 จงั หวัดปราจนี บุรี หากพิจารณาที่ความช้ืน 15% พบว่า ราคาเฉลี่ยตันละ 7,336 บาท โดยเฉพาะเดือนพฤศจิกายน 2559 ราคา ต่าสดุ อยทู่ ่ีตันละ 6,725 บาท เพราะปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดมาก ซึ่งปกตเิ กษตรกรจะเกี่ยวข้าวแล้วขายเลย ทาให้ข้าวมีความช้ืนสูงจึงได้รับราคาที่ความชื้นมากกว่า 25% ราคาจึงลดลงอีกเหลือประมาณตันละ 5,300 บาท ซึง่ โดยเฉล่ยี แลว้ เกษตรกรจะได้รบั ราคาข้าวประมาณตันละ 6,261 - 6,519 บาท
47 ตารางที่ 23 ราคาข้าวเปลอื กเจ้านาปที ี่เกษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นาเฉลยี่ รายเดอื น ปี 2559-2560 จังหวดั ปราจนี บรุ ี ชนิด ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. เฉลยี่ 7,336 ข้าวเปลอื กเจา้ นาปี 7,700 7,700 7,440 6,725 7,150 7,440 7,200 6,519 ความช้นื 15% 6,261 ข้าวเปลอื กเจ้านาปี 7,600 7,600 6,420 5,600 5,975 6,240 6,200 ความช้ืน 24-25% ขา้ วเปลอื กเจา้ นาปี 7,225 7,225 6,240 5,300 5,750 6,060 6,025 ความชื้นมากกวา่ 25% ทมี่ า: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 2) การบริหารจดั การสินค้าข้าวเจา้ นาปีเชิงพน้ื ท่ฤี ดูการผลิตปี 2559/60 จากการรวบรวมข้อมูลพบว่า ผลผลิตข้าวเจ้านาปีที่ผลิตภายในจังหวัด มีปริมาณ 159,311 ตัน ข้าวเปลือก และนาเข้าจากต่างจังหวัดมีปริมาณ 6,205 ตันข้าวเปลือกเพื่อมาสีผสมปรับปรุงข้าวสาร รวม ผลผลิตท้ังหมด 165,516 ตันขา้ วเปลือก โดยผลผลิตเร่ิมออกสู่ตลาดต้ังแต่ชว่ งปลายเดือนสิงหาคม จนถึงเดือน กุมภาพันธ์ของทุกปี ในขณะท่ีความต้องการใช้ข้าวเปลือกเจ้านาปีของจังหวัดมีปริมาณทั้งหมด 149,285 ตัน ข้าวเปลือก โดยเก็บไว้ทาพันธุ์ปริมาณ 8,316 ตันข้าวเปลือก เพ่ือใช้ทาพันธุ์ในฤดูปลูกข้าวเจ้านาปีในปีต่อไป ส่งเข้าโรงสี เพื่อสีแปรรูปเป็นข้าวสารปริมาณ 133,735 ตันข้าวเปลือก และส่งออกข้าวเปลือกเจ้านาปีไปยัง จงั หวดั อื่นๆ ปริมาณ 7,234 ตันขา้ วเปลือก รวมมีความต้องการใช้ข้าวเปลือกเจ้านาปี 149,285 ตันขา้ วเปลือก ทาให้มีผลผลิตส่วนเกินความต้องการใช้ในจังหวัดปริมาณ 16,231 ตันข้าวเปลือก หากมีโครงการสนับสนุน สนิ เชอ่ื เพอื่ รวบรวมข้าวและสรา้ งมูลค่าเพมิ่ โดยสถาบันเกษตรกร ตอ่ ไปอาจเพิ่มเป้าหมายการรวบรวมได้อีกเพ่ือ ทาให้ความต้องการใช้ภายในจังหวัดเพียงพอกับปริมาณข้าวเปลือกเจ้านาปีที่ผลิตได้โดยเฉพาะเดือนที่ผลผลิต ออกส่ตู ลาดมากไดแ้ กเ่ ดอื นพฤศจิกายน ดังแสดงในตารางที่ 24
ตารางท่ี 24 การบรหิ ารจัดการสินคา้ ข้าวเจา้ นาปีเชงิ พื้นทีฤ่ ดกู ารผลิตปี 2559/60 จ รายการ ป ส.ค. ก.ย. 1. ผลผลติ (Supply) 6,904 12,763 1.1 ผลผลติ ในจังหวดั (ตนั ขา้ วเปลอื ก) 5,905 11,989 (รอ้ ยละ) (3.71) (7.53) 1.2 นาเขา้ ของจังหวดั (ตนั ข้าวเปลือก) 999 774 (รอ้ ยละ) (16.10) (12.47) 2. ความต้องการใช้ (Demand) 6,669 11,135 2.1 การใช้ขา้ วเปลือกของจังหวัด 6,669 11,135 1) เกบ็ ไว้ใชท้ าเมล็ดพนั ธ์ุ 308 626 (ตนั ขา้ วเปลือก) 2) เข้าโรงสี เพ่ือสแี ปรสภาพ 6,361 10,509 (ตนั ข้าวเปลอื ก) 2.2 ส่งออกของจงั หวดั (ตนั ขา้ วเปลอื ก) -- 3. ผลผลติ ส่วนเกนิ /สว่ นขาด* 235 1,627 (ตันขา้ วเปลอื ก) หมายเหตุ : *ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด คานวณจาก 1 (ผลผลติ ) – 2 (ความตอ้ งการใช)้ **ขา้ วนาปี 2559/60 ปลูกช่วงเดือน พ.ค.59 – ก.พ.60 เก็บเกี่ยวช่วงเดือน ส.ค.59
48 จงั หวัดปราจีนบุรี ปี 2559 พ.ย. ธ.ค. ปี 2560 รวม (ตนั ) ต.ค. 56,143 33,890 ม.ค. ก.พ. (รอ้ ยละ) 40,817 55,022 32,894 11,967 3,032 40,350 (34.54) (20.65) 10,790 2,361 165,516 (25.33) 1,121 159,311 467 (18.06) 996 (6.77) (1.48) (7.53) 22,032 (16.05) 1,177 671 (100) 39,637 18,925 41,921 (18.97) (10.82) 6,205 37,358 2,872 40,073 19,741 8,150 (100) 2,106 1,717 19,741 8,150 149,285 142,051 563 124 8,316 35,252 16,053 38,356 19,178 8,026 133,735 2,279 3,107 1,848 - - 7,234 3,459 37,218 -6,183 -7,775 -5,116 16,231 9 – พ.ค.60
49 3) ปัญหาและอปุ สรรคสินคา้ ข้าว ปี 2559/60 เกษตรกร - ปัญหาภัยแล้งท่ีทาให้ผลผลิตเสียหายอย่างต่อเนื่อง และเกษตรกรเปล่ียนพ้ืนที่เป็นบ่อปลา บ่อกุ้ง ขายเป็นท่ีอยู่อาศัยบ้านจัดสรรและโรงงานอุตสาหกรรม เพราะกาไรในการผลิตขา้ วไม่เพียงพอต่อการใช้ จา่ ยครวั เรือน รวมทั้งมีหนสี้ ะสมและต้นทุนการผลิตสูง ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าสารเคมปี ้องกันและกาจัดวัชพืชศัตรูพืช คา่ แรงงานท่ปี รับตัวสูงขึ้น จงึ ตอ้ งกู้มาลงทุนเป็นเงนิ หมนุ เวยี นในการทานา พอ่ ค้ารวบรวมท้องถิ่น - ปริมาณผลผลิตข้าวที่รวบรวมได้ลดลงเพราะราคาข้าวผันผวนไม่กล้ารับซื้อไว้มาก อีกท้ัง คุณภาพข้าวค่อนข้างด้อยคุณภาพ เน่ืองจากเกิดภาวะภัยแล้งและเกษตรกรไมค่ ่อยลงทุนบารุงรักษาเพราะราคา ปจั จัยการผลิตสงู สหกรณ์การเกษตร - ปริมาณผลผลิตข้าวรวบรวมได้มากขึ้นเพราะมีโครงการสินเชื่อเพ่ือรวบรวมข้าวและสร้าง มลู ค่าเพ่ิมโดยสถาบนั เกษตรกร ปี 2559/60 มาสนบั สนุนทาได้ตามเป้าหมายทวี่ างไวแ้ ละอนาคตหากมโี รงสีเข้า ร่วมได้มากขึ้นจะสามารถรวบรวมได้มากข้ึนเพราะสมาชิกสนใจมากขึ้น แต่คุณภาพผลผลิตเข้ามาสหกรณ์มี ความหลากหลายคณุ ภาพทาใหเ้ ปน็ ปญั หาในการส่งตอ่ ไปปลายทาง - สหกรณ์ฯ ไม่สามารถสต็อกข้าวไวไ้ ด้ ต้องส่งตอ่ ผลผลิตไปที่ท่าข้าวทันที เน่ืองจากการสต็อก ข้าวจะทาให้ข้าวมนี ้าหนักลดลง ประกอบกบั สหกรณฯ์ ไมม่ โี กดังสาหรบั เกบ็ ผลผลติ โรงสี - โรงสีต้องรับผลผลิตตามคุณภาพผลผลิตโดยการวัดความช้ืน สิ่งเจือปน แต่หากรับจาก โครงการฯจะคอ่ นขา้ งจาแนกยาก จงึ ทาให้มีขั้นตอนในการปรบั ปรงุ คณุ ภาพเพ่ิมเติม - โรงสีขาดสภาพคล่องจากสถาบันการเงินเพราะเป็นธุรกิจท่ีถูกลดช้ันความน่าเชื่อถือในการ ให้เครดิตสินเช่ือ จึงทาให้ดอกเบ้ียสูงขึ้น อาจส่งผลให้บางโรงสีต้องลดกาลังการรับซ้ือลงตามสภาพต้นทุนที่ เพิม่ ขึ้น 3.3.2 บัญชีสมดุลมนั สาปะหลัง จังหวัดปราจีนบุรีไม่ได้เป็นแหล่งปลูกมันสาปะหลังที่สาคัญของประเทศ มีการปลูกมากใน อาเภอ กบินทร์บุรี ร้อยละ 52.28 อาเภอศรีมหาโพธิ ร้อยละ 22.29 และ อาเภอนาดีร้อยละ 21.73 ตามลาดับ เกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังในจังหวัดปราจีนบุรีมีประมาณกว่า 6,630 ครัวเรือน โดยมีเนื้อท่ีเพาะปลูกมัน สาปะหลังเฉลี่ยครัวเรือนละประมาณ 23 ไร่ ปี 2556-2560 จังหวัดปราจีนบุรี มีเนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิตและผลผลิตต่อไร่มันสาปะหลังลดลงอย่าง ต่อเนื่อง ร้อยละ 3.84 ร้อยละ 3.98 และร้อยละ 0.14 ตามลาดับ (ตารางท่ี 25) เนื่องจากการขยายตัวของ ภาคอุตสาหกรรม ราคาพืชแข่งขนั อ่ืน และการปรบั เปลยี่ นไปจากพืน้ ทีไ่ รไ่ ปเปน็ พ้นื ท่สี วน สาหรับปี 2560 (พยากรณ์ ณ ธันวาคม 2559) คาดว่าจังหวัดปราจีนบุรีมีเนื้อที่เก็บเกี่ยว มันสาปะหลัง 0.131 ล้านไร่ ผลผลิต 0.449 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.427 ตัน เทียบกับเนื้อที่เก็บเกี่ยว 0.144 ล้านไร่ ผลผลิต 0.466 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.226 ตันในปี 2559 พบว่า เน้ือท่ีเก็บเก่ียว และผลผลิต ลดลงร้อยละ 10.18 และ 3.71 ตามลาดับ ส่วนผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.87เน่ืองจากสภาพอากาศ เออื้ อานวยต่อการเจรญิ เติบโต ประกอบกบั เกษตรกรมีการบารุงดูแลรักษาทด่ี ี
50 ตารางที่ 25 เนื้อท่ีเก็บเกย่ี ว ผลผลิต และผลผลิตตอ่ ไร่ มนั สาปะหลงั ของจังหวดั ปราจนี บรุ ี ปี 2556-2560 ปี เนื้อท่เี กบ็ เก่ียว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่ (กก.) (ไร่) (ตัน) 2556 156,395 531,619 3,399 2557 150,038 498,784 3,324 2558 152,321 540,881 3,551 2559 144,404 465,796 3,226 2560 131,057 449,132 3,427 อตั ราเพิ่ม (รอ้ ยละ) -3.84 -3.98 -0.14 ทีม่ า : สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, ธันวาคม 2559 ตารางท่ี 26 เนื้อที่เกบ็ เก่ียว ผลผลิต และผลผลิตตอ่ ไร่ มันสาปะหลังของจังหวัดปราจีนบุรรี ายอาเภอ ปี 2558 เนอ้ื ทีเ่ กบ็ เก่ียว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ อาเภอ (ตนั ) (กก.) (ไร่) เมอื งปราจีนบรุ ี 304 969 3,188 กบนิ ทร์บรุ ี 79,641 286,230 3,594 ประจนั ตคาม 2,988 9,323 3,120 ศรมี หาโพธิ 33,956 115,315 3,396 ศรีมโหสถ 2,333 7,902 3,387 นาดี 33,099 121,142 3,660 รวม 152,321 540,881 3,551 ทีม่ า : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
51 สถานการณ์การตลาด 1) โครงสร้างการตลาดมนั สาปะหลังของจงั หวัดปราจีนบรุ ี ผูท้ เ่ี กี่ยวขอ้ งในสนิ คา้ มันสาปะหลังมดี งั น้ี 1.1) เกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลัง จังหวัดปราจีนบุรีมีเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังกว่า 6,630 ครัวเรือน มันสาปะหลังเกือบทั้งหมดปลูกใน 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอกบินทร์บุรี อาเภอศรีมหาโพธิ และอาเภอ นาดี ตามลาดับ เกษตรกรจะเก็บเก่ียวผลผลิตต้ังแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนกันยายนของปีถัดปี แต่เก็บเกี่ยว ผลผลิตมากในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ของทุกปี ประมาณร้อยละ 70-80 เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิต มนั สาปะหลงั จะนาผลผลติ มาขายให้แก่ ลานรวบรวม ลานมนั เส้น และโรงงานเอทานอล 1.2) ลานรวบรวมจังหวัดปราจีนบุรีมีลานรวบรวมมันสาปะหลังสดกระจายอยู่ท่ัวไปในแหล่ง เพาะปลูกมันสาปะหลัง จะทาหน้าท่ีรวบรวมหัวมันสาปะหลังสดจากเกษตรกรเพื่อนามาจาหน่ายให้แก่โรงงาน แปง้ มันสาปะหลงั โรงงานเอทานอลและลานมันเสน้ ทอี่ ยใู่ นจงั หวดั ปราจีนบรุ ีและนอกจังหวดั ปราจีนบุรี 1.3) โรงงานแปรรปู แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี้ (1) ลานมันเส้น จังหวัดปราจีนบุรีมีลานมันเส้นไม่มากนักกระจายอยู่ในอาเภอที่เป็นแหล่ง เพาะปลูกมันสาปะหลัง คือ อาเภอกบินทร์บุรี อาเภอศรีมหาโพธิ และอาเภอนาดีแต่ลานมันเส้นส่วนใหญ่หยุด การแปรรูป โดยหันไปทาหน้าที่รวบรวมและตากกากมันสาปะหลังแทนการตากมันเส้น และจาหน่ายกากมัน สาปะหลังแห้งให้แก่ 1) ผู้ใช้ในประเทศ เช่น โรงงานอาหารสัตว์ 2) โรงงานมันอัดเม็ด 3) ผู้ส่งออกกากมัน สาปะหลังแห้ง และ 3) ผใู้ ชต้ ่างประเทศ (เปน็ ผสู้ ่งออกกากมนั สาปะหลังแห้งเอง) (2) โรงานมันอัดเม็ด จังหวัดปราจีนบุรีมีโรงงานมันอัดเม็ด 2 โรงงาน ต้ังอยู่ใน อาเภอกบินทร์บุรี โดยรับซอื้ มันเส้น/กากมันสาปะหลังตากแห้ง จากลานมันเส้นเพื่อนามาผลติ เปน็ มันอดั เมด็ /กากมนั อัดเมด็ (3) โรงงานเอทานอล จังหวัดปราจีนบุรีมีโรงงานเอทานอล 1 โรงงาน ต้ังอยู่ใน อาเภอกบินทร์บุรี มีกาลังการผลิต 250,000 - 300,000 ลิตรต่อวัน ทาให้มีความต้องการใช้หัวมันสาปะหลังสดเต็มกาลังการผลิตของ โรงงานประมาณ 1,625–1,950 ตันต่อวนั หรอื ประมาณ 0.553 – 0.663 ล้านตนั ต่อปี 1) วิถตี ลาดสนิ คา้ มนั สาปะหลัง เกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังจังหวัดปราจีนบุรีเมื่อเก็บเกี่ยวมันสาปะหลัง จะจาหน่ายมันสาปะหลัง ให้แก่ลานมันเส้น/ลานรวบรวม มากท่ีสุดคือร้อยละ 57.22 ซ่ึงส่วนใหญ่รับซ้ือมันคละ และรวบรวมไปส่งให้แก่ โรงงานเอทานอลและลานมัน/โรงแป้งในจังหวัดใกล้เคียง ขณะท่ีโรงงานมีความต้องการมากแต่รับซ้ือด้วยการวัด คณุ ภาพ เกษตรกรขายใหแ้ ก่โรงงานเอทานอล รอ้ ยละ 42.78 ผลผลิตมันสาปะหลังในจังหวัดปราจีนบุรีมีเพียงพอต่อความต้องการใช้ในจังหวัด แต่ออกกระจุกตัว ในช่วงส้ันๆ จึงต้องมีการส่งออกและนาเข้าผลผลิตจากจังหวัดอื่น แบ่งเป็น 1) เกษตรกรต่างจังหวัดจาหน่าย มันสาปะหลังให้แก่ลานมันเส้น/ลานรวบรวมในจังหวัดของตนเอง แล้วผู้ประกอบการดังกล่าวนามันสาปะหลัง มาจาหน่ายในแกโ่ รงงานแปรรูปในจงั หวดั ปราจีนบุรี รอ้ ยละ 55.30 ลานมันเส้น/ลานรวบรวม จะรับซ้ือมันสาปะหลังท้ังในจังหวัดและต่างจังหวัด เน่ืองจากไม่สามารถ แข่งขันด้านราคากับมันเส้นจากกัมพูชา ประกอบกับโรงงานเอทานอลจะให้ความสาคัญกับการรับซ้ือ จากเกษตรกรมากกว่า เน่ืองจากการผลิตจากหัวมันสด มีต้นทุนที่ต่ากว่าการใช้มันเส้น หรือแป้งมัน ทาให้ ลานมันทาการผลิตหรือรวบรวมได้ไม่มาก ส่วนใหญ่จะรับซื้อมันสาปะหลังจากเกษตรกรในจังหวัด ร้อยละ 90 โดยจะนาไปจาหนา่ ยให้แก่โรงงานเอทานอลในจังหวดั รอ้ ยละ 55.30
52 โรงงานมันอัดเม็ดในช่วง 1-3 ปี ที่ผ่านมา แปรรูปมันอัดเม็ดน้อยมาก ส่วนใหญ่ทากากอัดเม็ด เน่ืองจากไม่สามารถแข่งขันด้านราคากับมันเส้นนาเข้าได้ จะรับซื้อกากมันสาปะหลังแห้งทั้งในจังหวัดและ ตา่ งจงั หวัด หรอื มลี านตากเป็นของตนเอง สาหรบั ปี 2560 ไมท่ าการผลิต โรงงานเอทานอล จะใช้หัวมันสด/มันเส้นท่ีได้จากลานรวบรวม และแป้งมันสาปะหลัง ทั้งใน รูปแป้งหมาดและแป้งแห้ง เก็บสต๊อกไว้ในช่วงแล้งท่ีไม่สามารถหาซื้อมันสาปะหลังได้ มาแปรรูปเป็นเอทานอล โดยมีการใช้มันสาปะหลังสดและมันเส้นประมาณร้อยละ 40 ของความต้องการใช้ และใช้แป้งมันสาปะหลัง รอ้ ยละ 60 ของความต้องการใช้ ต้ังแต่ปลายปี 2559 เกิดความขาดแคลนเอทานอล เนื่องจากความต้องการใช้ มากขึ้น ขณะท่ีกากน้าตาลมีปริมาณน้อยและราคาแพง ทาให้ในปี 2560 โรงงานเอทานอลต่างผลิตเต็มกาลัง การผลติ มนั สาปะหลงั สด นาเข้า 100% ลานมนั เสน้ /รวบรวม 32.27% เอทานอล 57.22% 42.78% สง่ ออก 24.95% ภาพที่ 18 วิถีตลาดมนั สาปะหลังของจงั หวดั ปราจีนบรุ ี 2) การบรหิ ารจัดการมนั สาปะหลัง ปี 2559/60 2.1) ดา้ นผลผลติ (Supply) 2.1.1) ผลผลิตมันสาปะหลงั ในจงั หวดั จังหวัดปราจีนบุรีสามารถผลิตมันสาปะหลังได้ปริมาณ 449,133 ตัน เกินความต้องการใช้ มันสาปะหลัง (ไม่คิดรวมการใช้ของโรงงานเอทานอล ซึ่งมีการใช้แป้งทดแทนมันสาปะหลังสด) แต่หัวมัน สาปะหลังออกในช่วงส้ัน 3-4 เดือน และมกี ารแขง่ ขันราคารับซอื้ ทาให้มกี ารสง่ ออกและนาเขา้ 2.1.2) การนาเข้าจากจังหวดั อ่นื มันสาปะหลังที่ผลิตได้ในจังหวัดปราจีนบุรีมีเพียงพอต่อความต้องการใช้ของโรงงานแปรรูป มันสาปะหลังในจังหวัด รวมถึงมันสาปะหลังท่ีผลิตได้บางส่วนได้ส่งออกไปจาหน่ายยังต่างจังหวัด จึงต้องมีการ นาเข้ามันสาปะหลังจากจังหวัดอื่นปริมาณ 148,871 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 24.89 ของความต้องการใช้ มนั สาปะหลงั ท้ังหมด ท้งั นี้สว่ นใหญ่นาเข้ามนั สาปะหลงั จาก บรุ รี ัมย์ ฉะเชงิ เทรา สระแก้ว กาญจนบรุ ี เปน็ ต้น
53 2.2) ดา้ นความต้องการใช้ (Demand)) 2.2.1) เขา้ โรงงานแปรรปู โรงงานแปรรูปมันสาปะหลังในจังหวัดปราจีนบุรีมี 2 ประเภท คือ โรงงานเอทานอลและลานมัน เสน้ โดยโรงงานเอทานอล มคี วามตอ้ งการใช้มนั สาปะหลงั ทั้งส้ิน 1.105 ล้านตัน (คิดจากการผลิตเต็มกาลังการ ผลิต 5 แสนลิตร/วัน) แต่เน่ืองจากมันสาปะหลังเป็นพืชที่มีฤดูกาล ทาให้โรงงานต้องใช้มันสาปะหลังท่ีสามารถ เก็บรักษาไว้ได้ คือ มันเส้น หรือ แป้งมัน ดังนั้น จึงมีการใช้มันสาปะหลังในรูปมันสด 262,078 ตันคิดเป็น ร้อยละ 43.83 ของความต้องการใช้ของจังหวัด ส่วนลานมันเส้น มีความต้องการใช้มันสาปะหลัง 59,460 ตัน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.94 ทีเ่ หลือรอ้ ยละ 46.23 เปน็ การส่งออกมันสาปะหลงั ไปต่างจงั หวัด 2.2.2) การส่งออกมันสาปะหลงั ไปตา่ งจังหวัด เกษตรกรและลานมันเส้น/ลานรวบรวมบางส่วนในจังหวัดปราจีนบุรีจาหน่ายมันสาปะหลัง ให้แก่ลานมัน/โรงงานแปรรูปมันสาปะหลังในต่างจังหวัด ปริมาณ 276,466 ตัน เน่ืองจากพื้นท่ีปลูกมัน สาปะหลังอยู่ใกล้กับโรงงานแปรรูปท่ีอยู่ต่างจังหวัดหรือโรงงานแปรรูปท่ีอยู่ต่างจังหวัดให้ราคาสูงกว่า ท้ังน้ี ส่วนใหญส่ ง่ ออก มนั สาปะหลังไปจังหวัดระยอง สระแก้ว และนครราชสมี า
54 ตารางที่ 27 การบรหิ ารจัดการมันสาปะหลงั ของจงั หวัดปราจนี บุรี ปี 2559/60 รายการ ปี 2559 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 1. ผลผลติ (Supply) 28,506 84,722 86,331 103,558 103,010 1.1 ผลผลิตหวั มนั สดที่ผลิตในจังหวัด 17,139 79,860 72,766 97,869 89,854 1.2 การนาเขา้ 11,367 4,862 13,565 5,689 13,156 1.2.1 นาเขา้ หัวมนั สดจากจงั หวดั อืน่ 11,367 4,862 13,565 5,689 13,156 1.2.2 นาเข้าจากต่างประเทศ 000 0 0 2. ความตอ้ งการใช้ (Demand) 28,506 84,722 86,331 103,558 103,010 2.1 เขา้ โรงงานแปรรูป 26,792 27,223 41,216 33,092 38,315 2.1.1 ลานมันเส้น 4,320 7,320 7,320 9,300 9,300 2.1.3 โรงงานเอทานอล 22,472 19,903 33,896 23,792 29,015 2.2 ส่งออกหวั มนั สดไปจงั หวัดอนื่ 1,714 57,499 45,115 70,466 64,695 3. ผลผลิตสว่ นเกนิ /ขาด (1-2) 000 0 0 ที่มา : จากการสารวจ
หน่วย : ตนั หวั มนั สด ปี 2560 รวม ร้อยละ ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65,788 25,972 22,433 21,487 17,695 18,137 20,365 598,004 100.00 61,976 15,859 4,763 2,224 3,477 913 2,432 449,133 75.11 3,812 10,113 17,670 19,263 14,218 17,224 17,933 148,871 24.89 3,812 10,113 17,670 19,263 14,218 17,224 17,933 148,871 24.89 0 0 0 0 0 0 0 00 65,788 25,972 22,433 21,487 17,695 18,137 20,365 598,004 100.00 34,800 22,800 21,480 20,820 17,000 18,000 20,000 321,538 53.77 7,800 4,800 4,980 4,320 0 0 0 59,460 9.94 27,000 18,000 16,500 16,500 17,000 18,000 20,000 262,078 43.83 30,988 3,172 953 667 695 137 365 276,466 46.23 0 0 0 0 0 0 0 00
55 3) ปัญหาและอุปสรรคสินค้ามนั สาปะหลัง ปี 2559/60 3.1) ด้านการผลิต 1.1) เกษตรกรประสบภาวะภยั แล้ง สง่ ผลให้ผลผลติ ต่อไร่ลดลง 1.2) เกษตรกรใช้พันธ์ุมนั สาปะหลังที่ไม่เหมาะสมกับพ้ืนท่ี และใชพ้ ันธ์ตุ ามคาโฆษณาชวนเชื่อ สง่ ผลใหผ้ ลผลติ มันสาปะหลงั เชือ้ แป้งตา่ 1.3) เกษตรกรบางส่วนปลูกมันสาปะหลังหลังนา ทาให้ต้องรีบขุดหัวมันสาปะหลังส่งผลให้ ไดผ้ ลผลิต มันสาปะหลังขนาดเลก็ ผลผลติ นอ้ ยและเช้ือแป้งต่า 1.4) ปญั หาขาดแคลนนา้ สง่ ผลกระทบต่อเกษตรกรและโรงงานแปรรูป 3.2) ด้านการตลาด 2.1) ราคามันสาปะหลังตกต่า ส่งผลให้เกษตรกรขาดทุน ซ่ึงในปี 2559/60 ต้นทุนการปลูก มันสาปะหลงั กิโลกรมั ละ 1.85 บาท แตเ่ กษตรกรขายมันสาปะหลงั สดเฉลย่ี กโิ ลกรัมละ 1.19 - 1.70 บาท 2.2) ราคามันเส้นตกต่า เนือ่ งจากประเทศค่คู ้าหลกั คอื จีน ลดการนาเข้ามันเส้นจากไทย 2.3) ผลผลิตมันสาปะหลังท่ีผลิตได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการของโรงงานแปรรูป ส่งผลให้ ต้องนาเข้าหัวมันสาปะหลังสดจากต่างจังหวัด และในบางช่วงเวลาต้องส่งออกไปต่างจังหวัดเนื่องจากมีการ แขง่ ขันด้านราคาหรอื มีส่วนเกนิ ควรกระจาย หรอื รวมกลุ่มการขาย เพื่อให้โรงงานสามารถจัดวางแผนได้ 2.4) มีการลักลอบนาเข้าหัวมันสดและมันเส้นจากประเทศเพ่ือนบ้านซ่ึงมีราคาต่ากว่าไทย สง่ ผลกระทบต่อราคาหวั มันสาปะหลังสดในประเทศ 4) ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ 4.1) ด้านการผลิต 4.3.1) ภาครฐั ไดด้ าเนินการส่งเสริมและสนับสนุนเร่ืองการเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตให้แก่ เกษตรกร ผ้ปู ลูกมันสาปะหลัง เช่น การประชาสมั พันธ์ใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งพันธุ์ การปรับปรุงบารงุ ดนิ ระบบน้า 4.3.2) ภาครัฐได้สนับสนุนสินเช่ือให้แก่เกษตรกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เช่น การ ปลูกมันสาปะหลงั ในระบบน้าหยด 4.2) ด้านการตลาด 4.2.1) สนับสนุนและส่งเสริมเกษตรกรในแปรรูปมันสาปะหลังเบื้องต้น เช่น การทามันเส้น สะอาด ทั้งนี้ภาครฐั ได้สนับสนุนสินเชอ่ื ในการซือ้ เครอื่ งจักรเพื่อแปรรูปมนั สาปะหลงั 4.2.2) สนับสนนุ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่ม เพื่อสร้างอานาจในการต่อรองการขายผลผลิต และการซ้อื ปจั จยั การผลิต เช่น ป๋ยุ หรอื สารเคมี 4.2.3) ขยายตลาดมนั เส้น เพอื่ ไมใ่ หพ้ งึ่ พาตลาดจีนตลาดเดยี ว 4.2.4) ภาครฐั ดแู ลการนาเขา้ มันสาปะหลังไม่ให้นาเขา้ มันสด 3.3.3 บัญชสี มดุลไก่เนือ้ จงั หวัดปราจีนบุรีเป็นแหล่งผลิตไก่เน้ือที่สาคัญ ในปี 2560 คาดว่ามีผลผลิตจานวน 125,395,500 ตัว (กรมปศุสัตว์,2560) และมีฟาร์มเลี้ยงไก่เน้ือ จานวน 300 ฟาร์ม แบ่งเป็นฟาร์มที่เล้ียงแบบมีสัญญาผูกพัน รอ้ ยละ 97 ของฟาร์มเล้ียงไก่เน้ือในจังหวัด ซึ่งสามารถผลิตไก่เนื้อได้ร้อยละ 98.50 ของปริมาณผลผลิตไก่เนื้อ ท้ังหมดต่อปีของจังหวัดปราจีนบุรี โดยมีบริษัทที่เข้ามาทาสัญญาเลี้ยงไก่เน้ือกับเกษตรกร จานวน 3 บริษัท
56 ได้แก่ บริษัท ซ.ี พี. จากัด เบทาโกร จากัด และไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จากัด (มหาชน) และเป็นฟารม์ เล้ียงอิสระรอ้ ยละ 3 โดยผลิตไกเ่ นอื้ ได้ในสัดส่วนร้อยละ 1.50 สาหรับการเพิม่ ผลผลิตไกเ่ นอ้ื ของจงั หวดั ปราจีนบุรเี พ่ิมข้ึนเลก็ น้อย จากการเล้ียงให้เต็มศักยภาพของโรงเรือนท่ีมีเท่านั้น เนื่องจากจังหวัดปราจีนบุรีได้ทาการประกาศพ้ืนท่ีสีเขียว ทาให้การขยายพ้ืนที่เล้ียงทาได้ยากจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม โดยแหล่งเลี้ยงใหญ่ที่สุดคืออาเภอเมือง ปราจีนบรุ ี รองลงมาอาเภอกบินทรบ์ ุรี และอาเภอศรีมโหสถ สาหรบั รปู แบบการเล้ียงไกเ่ นือ้ แบบมีสญั ญาผูกพัน กับบริษัท เกษตรกรเป็นผู้ลงทุนสร้างโรงเรือน ส่วนใหญ่เป็นการเล้ียงในระบบโรงเรือนปิด หรือระบบ EVAP มี ระยะเวลาการคืนทุน 5 ปี โดยเกษตรกรจะต้องใช้ ลูกพันธุ์ไก่ และอาหารสัตว์ของบริษัทท่ีทาสัญญาผูกพัน ระยะเวลาการเลี้ยง 45 วัน จากน้ันบริษัทเข้ามาจับไก่เพ่ือเข้าโรงฆ่าสัตว์ เกษตรกรต้องพักเล้าประมาณ 15-21 วนั จึงจะเลี้ยงไก่ในรอบต่อไป ท้ังน้ีเกษตรกรสามารถเลี้ยงไก่ได้ 6 รอบตอ่ ปี ส่วนเกษตรกรท่ีเลี้ยงแบบอิสระจะ ซื้อปัจจัยการผลิตเอง และทาการจาหน่ายผลผลิตเอง ร้อยละของผลผลิตไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาดรายเดือน ในปี 2560 ของจังหวัดปราจีนบุรี มีการกระจายตัวออกสู่ตลาดค่อนข้างสม่าเสมอและใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมาๆ เน่ืองจากการเล้ียงไก่ในปัจจุบันเป็นการเลี้ยง ในโรงเรือนระบบปิด ซึ่งเป็นระบบที่ควบคุมการผลิตได้ ทาให้ผล ผลิตไก่เน้ือออกสู่ตลาดตลอดทั้งปี โดยจะมีช่วงเดือน ธันวาคม และมกราคม ซ่ึงเป็นเทศกาลส่งท้ายปีเก่า ต้อนรบั ปใี หม่ และตรษุ จีน จะมีความตอ้ งการใช้มากทาให้ผลผลติ ออกสู่ตลาดในช่วงน้เี พ่มิ ข้นึ (ตารางท่ี 28) ตารางที่ 28 ประมาณการร้อยละผลผลิตไก่เน้อื ทอี่ อกส่ตู ลาดรายเดือนของจงั หวัดปราจีนบรุ ี ปี 2560 เดือน ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รายการ รอ้ ยละ 11.32 6.90 6.05 8.39 6.72 7.65 7.68 7.19 8.40 8.86 9.88 10.96 ท่มี า : จากการสารวจ สถานการณ์การตลาด โครงสร้างตลาดไก่เน้ือของจังหวัดปราจีนบุรีมีผู้เกี่ยวข้องจากต้นน้า กลางน้า และปลายน้า มีผ้เู ก่ยี วขอ้ ง 3 กลุม่ ดงั นี้ 1) เกษตรกรผู้เล้ียงไก่เน้ือ ซ่ึงมีรูปแบบการเลี้ยง 2 รปู แบบ คือ เกษตรกรผู้เล้ียงแบบอิสระ ซง่ึ จะลงทุน เองท้งั หมดตั้งแตก่ ารก่อสร้างโรงเรือน อุปกรณก์ ารเลี้ยง แรงงานในการเลยี้ ง จัดหาปัจจยั การผลติ บริหารจดั การ ฟาร์ม และการจาหน่ายผลผลิต โดยจะจาหน่ายให้กับโรงฆ่าสัตว์ภายในจังหวัดทั้งหมด สาหรับเกษตรกร ผู้เลี้ยงไก่เนื้อแบบมีสัญญาผูกพันจะเป็นผู้ลงทุนในการก่อสร้างโรงเรือน อุปกรณ์การเลี้ยง และแรงงานในการ เลี้ยง ส่วนปัจจัยการผลิตบริษัทคู่สัญญาจะเป็นผู้จัดหาให้ ซึ่งผลผลิตไก่เนื้อทั้งหมดจะจาหน่ายให้กับบริษัท คู่สัญญาตามราคาที่ตกลงในสญั ญา 2) บริษัทคู่สัญญาในจังหวัดปราจีนบุรีมีบริษัทที่ดาเนินกิจการผลิตไก่เน้ือและเข้ามาทาสัญญากับ เกษตรกร จานวน 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท ซี.พี. จากัด บริษัทเบทาโกรจากัด และไทยฟู้ดส์กรู๊ปจากัด (มหาชน) โดยจะทาหน้าท่ีในการคัดเลือกเกษตรกรคู่สัญญา ตรวจสอบสถานที่เลี้ยง รวมทั้งมีเจ้าหน้าที่บริษัทท่ีให้ คาแนะนาด้านวิชาการกับเกษตรกร และจัดหาปัจจัยการผลิตให้กับเกษตรกร ได้แก่ ลูกพันธุ์ไก่เนื้อ อาหาร สาเร็จรูป ยาและเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์อ่ืนๆ ซ่ึงราคาปัจจัยการผลิตบริษัทเป็นผู้กาหนดและจะหักจาก
57 ค่าผลผลิตท่ีรับซ้ือตามเกณฑ์ราคาท่ีตกลงในสัญญา และบริษัทเป็นผู้ดาเนินการจับไก่เนื้อเพ่ือส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์ ทัง้ ในจงั หวัดและนอกจงั หวัด 3) โรงฆ่าสัตว์ในจังหวัดปราจีนบุรีท่ีข้ึนทะเบียนกับสานักงานปศุสัตว์จังหวัดปราจีนบุรี พบว่า มโี รงฆ่าสัตว์ (ไกเ่ น้ือ) จานวน 10 โรง ตงั้ อยู่ในเขตอาเภอเมืองปราจีนบุรีจานวน 6 โรง อาเภอกบินทร์บุรี 2 โรง และอาเภอศรีมโหสถ 2 โรง โดยโรงฆ่ามีความต้องการไก่เน้ือเข้าโรงฆ่า จานวน 97,500 ตัวต่อวัน เป็นโรงฆ่า ขนาดเล็กจานวน 9 โรง มีความต้องการไก่เนื้อจานวน 1,500 ตัวต่อวัน โดยจะทาหน้าที่ขายไก่ท่ีชาแหละแล้ว ให้กับพ่อค้าส่ง พ่อค้าปลีก เพ่ือจาหน่ายให้กับผู้บริโภคภายในจังหวัด ส่วนโรงฆ่าขนาดใหญ่มีจานวน 1 โรง ทาหน้าที่นาเข้าไก่มาจากฟาร์มท่ีเล้ียงแบบมีสัญญาผูกพันกับบริษัทจากจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ และจาก ฟาร์มเล้ียงไก่ที่มีสัญญาผูกพันกับบริษัทในจังหวัดปราจีนบุรีเพ่ือเข้าโรงฆ่าสัตว์ในจังหวัด โดยมีความต้องการไก่ เน้ือเข้าโรงฆา่ จานวน 96,000 ตัวตอ่ วนั และไก่เน้ือจากโรงฆา่ สัตว์ จะถูกส่งออกนอกจังหวดั ทั้งหมด โรงฆ่าสัตว์และโรงงานแปรรูปนอกจังหวัด ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี สระบุรี และสมุทรปราการ ซ่ึงเป็นของบริษัทเอกชนรายใหญ่ คือ บริษัทซี.พี. จากัด และบริษัทเบทาโกรจากัด โดยทั้งสองบริษัท จะทาหน้าท่ีส่งไก่เน้ือจากฟาร์มเล้ียงในจังหวัดปราจีนบุรีส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์และโรงงานแปรรูปนอกจังหวัด และ จาหน่ายให้กบั ผู้บริโภคนอกจังหวัด วตั ถดุ ิบอาหารสัตว์ พันธส์ุ ัตว์ วตั ถุดิบอาหารสัตว์ โรงฆา่ สตั ว์ บริโภคภายใน (GP,PS) จงั หวดั ผู้เล้ียงแบบอสิ ระ ผู้ค้าส่ง/ค้า ผผู้ ลติ ปลกี ส่งออกไปจงั หวดั ลูกไก่เน้ือ ผเู้ ลย้ี งแบบมี อื่น สญั ญาผูกพัน โรงฆา่ บรษิ ทั เวชภณั ฑ์ /แปรรปู นาเข้าจาก จงั หวดั อนื่ ภาพท่ี 19 โครงสร้างตลาดไกเ่ นือ้ ของจังหวดั ปราจีนบุรี 1) วถิ ีตลาดสินคา้ ไก่เนื้อ วิถีการตลาดไก่เน้ือของจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า เริ่มจากเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เน้ือ ซึ่งเป็นผลผลิต จากผู้เล้ียงไก่เน้ือแบบอิสระร้อยละ 1.5 โดยผลผลิตท้งั หมดจะถูกส่งเข้าโรงฆ่าสตั ว์ในจังหวัดปราจนี บุรี จากน้ัน โรงฆ่าสัตวจ์ ะขายไก่ที่ชาแหละแล้วให้กับพ่อค้าขายส่งและพ่อค้าปลีกร้อยละ 0.29 เพื่อจาหน่ายให้กับผู้บริโภค ภายในจังหวัด และโรงฆ่าสัตว์จะขายปลีกให้กับผู้บริโภคภายในจังหวัดโดยตรงร้อยละ 0.15 รวมการบริโภค ภายในจังหวดั ร้อยละ 0.44
58 สาหรับผลผลิตจากเกษตรกรผู้เล้ียงแบบมีสัญญาผูกผันร้อยละ 98.50 จะถูกส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์ ในจังหวัดรอ้ ยละ 23.29 จากน้ันโรงฆ่าสัตว์ในจังหวัดที่รับไกม่ าจากผู้เล้ียงทั้งแบบอสิ ระและแบบมีสญั ญาผูกพัน จะส่งไก่ที่ชาแหละแล้วออกนอกจังหวัดร้อยละ 24.35 และไก่เนื้อจะถูกส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์และโรงงานแปรรูป นอกจงั หวัดรอ้ ยละ 75.21 รวมผลผลิตไกเ่ นื้อจังหวดั ปราจีนบรุ ที สี่ ง่ ออกไปจังหวัดอนื่ รอ้ ยละ 99.56 โรงฆ่าสตั ว์ 0.15 % ผลผลติ จาก 24.79 % บรโิ ภคภายในจังหวดั ผเู้ ลย้ี งแบบอสิ ระ 0.29% 0.29% 0.44 % ผลผลติ 1.5 % ผูค้ ้าส่ง ไกเ่ นื้อจาก /คา้ ปลีก 7 เกษตรกร 23.29% 700 ตัวต่อ 24.35% 100 % ผลผลติ จากผเู้ ลยี้ ง โรงฆา่ สตั ววันข์ องบริษัท ส่งออกไปจังหวดั อืน่ แบบมีสัญญาผูกพนั /โรงงานแปรรปู 99.56 % 98.50% 75.21 % 75.21% 75.25 % ภาพที่ 20 วถิ ตี ลาดไกเ่ น้ือของจงั หวดั ปราจีนบรุ ี 2) การบริหารจัดการไกเ่ น้ือ ผลผลิตไก่เน้ือของจังหวัดปราจีนบุรีมีจานวน 125.39 ล้านตัว และมีการนาเข้ามาจากนอกจังหวัด เพ่ือเข้าโรงงานฆ่าภายในจังหวัดจานวน 5.76 ล้านตัว รวมผลผลิต จานวน 131.15 ล้านตัว โดยเป็นผลผลิต ไก่เน้ือ ท่ีใช้บริโภคภายในจังหวัดร้อยละ 0.55 ล้านตัว และส่งออกนอกจังหวัดจานวน 130,60 ล้านตัว ซึ่ง ผลผลิตไก่เนื้อท่ีผลิตได้ในจังหวัดปราจีนบุรีรวมนาเข้าจากจังหวัดอื่นมีความสมดุลกับความต้องการใช้ภายใน จังหวัดและส่งออกนอกจังหวัดพอดี แสดงให้เห็นว่าจังหวัดปราจีนบุรีมีการบริหารจัดการด้านการผลิตและ การตลาดไกเ่ นือ้ ทีด่ ี ทาให้ไมม่ ผี ลผลิตสว่ นเกนิ (ตารางท่ี 29)
59 ตารางที่ 29 การบริหารจัดการไกเ่ น้อื ของจังหวดั ปราจนี บรุ ี ปี 2560 รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 14.68 9.13 8.07 11.00 8.91 1. ผลผลติ (supply) 1.1 ผลผลิต 14.20 8.65 7.59 10.52 8.43 ในจงั หวดั 1.2 นาเข้าจากจงั หวดั อื่น 0.48 0.48 0.48 0.48 0.48 1.3 นาเข้าจากต่างประเทศ 2. ความต้องการใช้ (Demand) 14.68 9.13 8.07 11.00 8.91 2.1 ใช้ในจงั หวัด 0.06 0.04 0.03 0.05 0.04 2.3 สง่ ออกไปจงั หวัดอ่ืน 14.62 9.09 8.04 10.95 8.87 3. สว่ นเกนิ /ส่วนขาด 0 0 0 00 ทีม่ า : จากการสารวจ
9 หนว่ ย (ลา้ นตัว) ปี 2560 รวม มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1 10.07 10.11 9.50 11.02 11.58 12.86 14.22 131.15 3 9.59 9.63 9.02 10.54 11.10 12.38 13.74 125.39 8 0.48 0.48 0.48 0.48 0.48 0.48 0.48 5.76 1 10.07 10.11 9.50 11.02 11.58 12.86 14.22 131.15 4 0.04 0.04 0.04 0.05 0.05 0.05 0.06 0.55 7 10.03 10.07 9.46 10.97 11.53 12.81 14.16 130.60 000 00000 0
60 3) ปัญหาและอุปสรรคสินคา้ ไก่เนือ้ 3.1) ด้านการผลิต เกษตรกรผู้เล้ียงไก่เนื้อท้ังสองรูปแบบมักประสบปัญหาด้านต้นทุนการผลิตท่ีสูง จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รวมท้ังค่าจ้างแรงงานที่ปรับตัวสูงขึ้นส่งผลให้ต้นทุน การผลิตไก่เนื้อเพิม่ ขึ้น นอกจากนี้เกษตรกรผ้เู ลี้ยงไก่เนือ้ สว่ นมากท่เี ลีย้ งไกแ่ บบมสี ัญญาผูกพันกบั บริษทั ต้องซ้ือ ปจั จัยการผลติ จากบรษิ ัทซ่ึงมีราคาสูงกวา่ ท้องตลาด ทาให้ไมส่ ามารถบริหารจัดการต้นทนุ ให้เหมาะสมได้ 3.2) ด้านตลาด สาหรับเกษตรกรท่ีเลี้ยงแบบอิสระอาจประสบความเสี่ยงด้านการตลาดได้ ถ้าช่วงท่ี ผลผลิตออกมากอาจทาให้ราคาตกต่า ส่วนเกษตรกรที่เลี้ยงไก่เนื้อแบบมีสัญญาผูกพันไม่มีความเสี่ยงด้านตลาด และได้รับราคาที่แน่นอน แตอ่ าจประสบปัญหาจากการซ้อื ปจั จัยการผลิตจากบรษิ ทั ค่สู ัญญาทีส่ ูงกว่าราคาตลาด ทาให้เกษตรกรไม่สามารถบริหารจัดการหรือลดต้นทุนการผลิตได้อย่างเหมาะสม และการจาหน่ายผลผลิต บริษัทคู่สัญญามีการหักน้าหนักไก่จากน้าหนักท่ีชั่งได้จริง ซึ่งการประเมินหักน้าหนักยังไม่มีเกณฑ์ที่แน่นอน ทาให้เกษตรกรไม่ได้รบั ความเปน็ ธรรมจากการขายผลผลติ 4) ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะ 4.1) ด้านการผลิต ภาครัฐควรมีมาตรการดูแลราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ให้มีความเหมาะสม เน่ืองจาก ต้นทุนการเลย้ี งส่วนใหญเ่ ป็นค่าอาหาร 4.2) ด้านการตลาด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรกากับดูแล และตรวจสอบการทาเกษตรแบบมีสัญญา ผูกพันอย่างต่อเนื่องเพ่ือไม่ให้เกษตรกรถูกเอาเปรียบทั้งด้านการซื้อปัจจัยการผลิตและการจาหน่ายผลผลิตกับ บริษทั คสู่ ัญญา 3.3.4 บญั ชีสมดลุ ปลานลิ จังหวัดปราจีนบุรีเป็นแหล่งผลิตปลาน้าจืดที่สาคัญ เช่น ปลานิล ปลาย่ีสก ปลาจีน และปลาไน ซึ่งแหล่งเลี้ยงใหญ่ท่ีสุด คือ อาเภอบ้านสร้าง รองลงมาอาเภอกบินทร์บุรี และอาเภอเมือง ในปี 2559 ผลผลิต ปลาน้าจืดจากการเพาะเลี้ยงมีปริมาณ 45,437 ตัน เป็นผลผลิตปลานิลปริมาณ 27,520 ตัน (ตารางที่ 30) โดยผลผลิตปลานิลมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากราคาข้าวตกต่าเกษตรกรจึงมี การปรับเปลย่ี นพน้ื ที่จากการปลูกข้าวมาเล้ียงปลานิลแทน ประกอบกับมีนักลงทนุ รายใหม่จากจังหวัดใกล้เคียง เช่น กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ชลบุรี ย้ายฐานการผลิตมาทาการเพาะเล้ียงในจังหวัดปราจีนบุรีมากข้ึน ในปี 2560 ผลผลิตปลานิลของจงั หวัดปราจีนบุรีคาดวา่ มีปริมาณ 30,000 ตัน การขยายพ้ืนที่เลี้ยงเพ่ิมขน้ึ ไม่มากนัก เน่ืองจากพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมกับการเลี้ยงมีจากัด ผู้เพาะเล้ียงรายใหญ่จากนอกจังหวัดได้มีการขยายพ้ืนท่ีเล้ียง ไปในจงั หวัดนครนายก สระบรุ ี ซึง่ เป็นพนื้ ท่ีทีม่ ีปริมาณนา้ พอเพียงในการเลี้ยง สาหรับการเลี้ยงปลานิลของจังหวัดปราจีนบุรี ส่วนมากเกษตรกรนิยมเล้ียงปลาหลายชนิดรวมกัน ในบอ่ เดยี ว เชน่ ปลานลิ ปลาจีน ปลาย่สี ก อตั ราปล่อยลกู พันธุป์ ลาประมาณ 3,000 ตัวต่อไร่ โดยปลอ่ ยปลานิล เป็นหลักประมาณ 2,000 ตวั ตอ่ ไร่ หรือรอ้ ยละ 67 ของลูกพันธุ์ปลาท่ีปล่อยต่อไร่ เน่อื งจากปลานิลมีราคาดีเม่ือ เทียบกับปลาชนิดอื่น และปล่อยปลาจีน 500 ตัว ปลายส่ี ก 500 ตัว อัตรารอดประมาณร้อยละ 70 ส่วนอาหาร ปลาใช้มูลไก่จากฟาร์มเล้ียงไก่ในจังหวัดปราจีนบุรีเป็นอาหารในช่วง 1-7 เดือนแรก และช่วงเดือนสุดท้ายก่อน จับจะให้ราข้าวและกากมันสาปะหลังป่น เพื่อเร่งให้ปลาโตได้น้าหนัก ระยะเวลาการเลี้ยง 8-12 เดือน ผลผลิต ปลารวมเฉลี่ย 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นผลผลิตปลานิล 800 กิโลกรัมต่อไร่ และปลาอ่ืนๆ เช่น เป็นปลาจีน และปลายี่สกประมาณ 700 กโิ ลกรมั ซ่ึงปลาทั้งสองชนดิ นเ้ี กษตรกรจะนิยมเลีย้ งผสมผสานในบอ่ เพ่ือปรบั สมดุล นา้ และเปน็ ปลาท่ใี ห้น้าหนักดีโดยจะมนี ้าหนกั ประมาณ 1 กโิ ลกรมั ตอ่ ตัว
61 การเก็บเก่ยี วผลผลิต หรือร้อยละของผลผลิตปลานลิ ทอ่ี อกสู่ตลาดของจังหวัดปราจีนบุรี (ตารางที่ 30) จะพบว่า ผลผลิตปลานิลจะออกสู่ตลาดตลอดทั้งปี โดยผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วง 3 เดือน คือ พฤศจิกายน–มกราคม เน่ืองจากช่วงเวลาหรือรอบการปล่อยปลาและรอบการเก็บเกี่ยวจะคล้ายกัน ส่วนใหญ่ เกษตรกรจะเริ่มปล่อยปลาในช่วงเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน-มกราคม (ตารางที่ 31) สาหรับเกษตรกรทีเ่ ป็นรายใหญ่มพี ้ืนฟารม์ ขนาดใหญ่จะมีบ่อกักเก็บนา้ ในฟาร์มสามารถเลีย้ งปลาไดต้ ลอดท้ังปี ตารางที่ 30 ผลผลิตปลานิลของจงั หวัดปราจีนบุรี ปี 2559 อาเภอ 2559 ผลผลิต (ตัน) จานวนฟาร์ม (ราย) จานวนบอ่ พืน้ ทเ่ี ล้ยี ง (ไร)่ 2,459.00 21,009.16 1.เมอื งปราจนี บุรี 412 695 3725.86 1,556.84 142.64 2.บ้านสรา้ ง 1,587 2,808 29,179.39 494.82 1,781.86 3.ศรมี หาโพธิ 299 625 2,236.84 76.35 27,520.67 4.กบนิ ทรบ์ ุรี 688 987 928.56 5.ประจันตคาม 207 344 658.50 6.ศรมี โหสถ 146 241 2210.75 7.นาดี 387 449 381.75 รวม 3,613 6,150 39,321.65 ท่มี า : สานักงานประมงจังหวัดปราจีนบุรี กรมประมง , 2560 ตารางท่ี 31 ประมาณการรอ้ ยละผลผลิตปลานลิ ออกสูต่ ลาดรายเดือน ของจังหวดั ปราจนี บรุ ี ปี 2560 เดอื น ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ร้อยละ 12.00 7.00 8.00 8.00 7.00 6.50 7.00 7.00 8.00 8.00 10.20 11.30 ทมี่ า : จากการสารวจ สถานการณก์ ารตลาด โครงสร้างตลาดปลานิล พบว่า ในจังหวัดปราจีนบุรีไม่มีตลาดกลางในการซ้ือขายปลาโดยเฉพาะ การซ้ือขายส่วนมากเป็นการประมลู ทป่ี ากบ่อ โดยมีแพปลาในพ้นื ทีจ่ านวน 2 แพ และแพปลานอกพื้นท่ี จานวน 8 แพ ซึ่งเป็นแพท่ีมาจากจังหวัดนครปฐม ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร โดยแพปลาจะทาหน้าท่ีในการจับและ รวบรวมปลาจากฟาร์มเกษตรกร เพ่ือส่งให้กับผู้รวบรวมนอกพ้ืนที่ตามตลาดปลานอกจังหวัด เช่น จังหวัด อ่างทอง นครปฐม ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี โดยแพทาหน้าท่ีในการติดต่อประสานงานกับเกษตรกรในการเข้าไป ประเมนิ ขนาดปลาและประเมินราคาปลาแขง่ กบั แพปลาอ่ืนๆ ทฟี่ ารม์ เกษตรกร แพทีช่ นะการประมลู จะจับและ รวบรวมปลาจากฟาร์มเกษตรกรเพ่ือส่งไปยังตลาดปลานอกพ้ืนที่ สาหรับพ่อค้าขายส่งและพ่อค้าขายปลีก ของจังหวัดปราจีนบุรีจะรับปลาจากแพปลาในจังหวัดอีกทอดหน่ึงเพ่ือจาหน่ายให้กับผู้บริโภคภายในจั งหวัด สาหรับการซื้อขายผ่านสหกรณ์ พบว่า สหกรณ์ท่ีดาเนินกิจการผลิตและซื้อขายปลานิล คือ สหกรณ์ บ้านสร้างพัฒนา จากัด ต้ังอยู่ในพ้ืนที่อาเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี มีสมาชิกจานวน 220 ราย เป็นสมาชิกท่ที าการเลี้ยงปลาจานวน 150 ราย มีพื้นท่ีเลี้ยงรวม 3,000 ไร่ การดาเนินงานของสหกรณ์ท่ผี ่านมา ให้การสนบั สนุนสมาชิกด้านการผลิตเท่านัน้ ส่วนผลผลิตปลาท่ีออกสูต่ ลาดทาการซอ้ื ขายผา่ นแพรบั ซ้อื โดยในปี
62 2560 สหกรณ์จะมีการดาเนินงานด้านการตลาดโดยการรับซื้อปลาจากสมาชิกส่งไปยังตลาดปลานอกพ้ืนที่ และมแี ผนในการแปรรปู ผลลิตปลานิลเพื่อสร้างมูลค่าเพ่มิ โรงเพาะฟกั ลูก แพปลานอกพนื้ ที่ พันธป์ุ ลา เกษตรกร สง่ ออกนอกจงั หวัด ฟาร์มเลีย้ งไก่ บริโภคในจงั หวดั ผู้คา้ ปจั จยั การ แพปลาในพ้นื ท่ี ผลติ อาหาร สาเรจ็ รูป ภาพท่ี 21 โครงสรา้ งตลาดปลานลิ ของจงั หวดั ปราจนี บรุ ี 1) วิถีตลาดปลานลิ วิถีการตลาดปลานิลของจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ผลผลิตปลานิลจากการเพาะเลี้ยงของเกษตรกร ทผ่ี ลิตได้ท้ังหมด มีวถิ ีการตลาดเรม่ิ ต้นจากเกษตรกรร้อยละ 100 เกษตรกรขายใหก้ ับแพปลาในพื้นท่รี ้อยละ 54 จากนั้นแพปลาในพื้นท่ีจะขายปลาออกไปตลาดนอกจังหวัดท้ังหมด สาหรับผลผลิตอีกส่วนเกษตรกรจะขาย ให้กับแพปลานอกพื้นท่ีร้อยละ 46 โดยแพปลานอกพื้นท่ีจะขายปลานิลให้กับแพปลาในพื้นที่ (เป็นแพจับปลา ดุกมีจานวน 1 แพ) อีกทอดหน่ึงร้อยละ 1.20 เพ่ือจาหน่ายให้กับผู้บริโภคในจังหวัดปราจีนบุรี ที่เหลือจะส่งไป ขายนอกจงั หวัดร้อยละ 44.80 รวมเป็นผลผลิตปลานิลท่ีส่งออกนอกจงั หวดั ร้อยละ 98.80 แพปลานอกพื้นที่ 46 % 44.80% ส่งออกนอกจงั หวดั 98.80% เกษตรกร 100 % 1.20% 54% แพปลาในพื้นที่ 55.20 % บริโภคในจงั หวดั 1.20 % 1.20% ภาพท่ี 22 วิถตี ลาดปลานิลของจงั หวัดปราจนี บรุ ี
63 2) การบรหิ ารจัดการปลานลิ ของจังหวัดปราจนี บุรี ผลผลิตปลานิลของจังหวัดปราจีนบุรี ในปี 2560 มีปริมาณ 30,000 ตัน ส่งออกจังหวัดอ่ืน ปริมาณ 29,640 ตัน เป็นการส่งออกในรูปปลาสดโดยไม่มีการแปรรูป สาหรับความต้องการใช้ผลผลิตปลานิลของ จังหวัดปราจีนบุรีมีปริมาณ 360 ตัน หรือมีเพียงร้อยละ 1 เนื่องจากพ้ืนที่ของจังหวัดปราจีนบุรีที่มีแหล่งน้า ธรรมชาติค่อนข้างอุดมสมบูรณ์และประชาชนในจังหวัดนิยมบริโภคปลาที่จับจากแหล่งน้าธ รรมชาติและหาก เป็น ปลาเพาะเล้ียงจะนิยมปลาทับทิมที่เลี้ยงในกระชังหรือปลาจากธรรมชาติแทน และไม่มีการนาเข้าปลานิล จากจังหวัดอน่ื (ตารางที่ 32) ผลจากการวิเคราะห์ผลผลิตส่วนเกินส่วนขาดปลานิลของจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ผลผลิตมีความ สมดุลกับความต้องการใช้ โดยใช้ในจังหวัดปริมาณ 360 ตัน และการส่งออกนอกจังหวัดปริมาณ 29,640 ตัน รวมเทา่ กบั ผลผลติ ปลานลิ ของจังหวดั ปราจีนบรุ ที ่ปี ริมาณ 30,000 ตัน ซ่งึ ไมม่ ผี ลผลติ สว่ นเกินหรอื สว่ นขาด 3) ปัญหาและอปุ สรรค 1) ขาดแคลนน้าในช่วงหน้าแล้ง การเพาะเลี้ยงปลานิลของจังหวัดปราจีนบุรี คือ ปัญหาเรื่องน้า เนื่องจากปริมาณน้าจะขาดแคลนในช่วงเดือน กมุ ภาพันธ์-เมษายนของทุกปี ซ่ึงชว่ งน้ีปริมาณน้ามีน้อยทาให้เกิด น้าทะเลหนุนและน้ามีความเค็มสูงทาให้ปลามีอัตราการรอดต่า เกษตรกรท่ีไม่มีบ่อเก็บน้าในฟาร์มเพียงพอ ตอ้ งชะลอการเล้ยี งในชว่ งนี้ 2) ราคาไม่มีเสถียรภาพ เน่ืองจากเกษตรกรจะมีช่วงการเล้ียงและรอบการเก็บผลผลิตที่เหมือนกัน ทาใหผ้ ลผลิตท่อี อกสตู่ ลาดกระจุกตัวในชว่ งเดือน พฤศจกิ ายน – มกราคม ทาให้ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ลดลง 3) ขาดการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม จากโครงสร้างการตลาดและวิถีการตลาดปลานิล พบว่า ส่วนใหญ่เกษตรกรจะขายปลาสดแบบเหมายกบ่อให้กับแพปลาทาให้มีช่องทางการขายที่ไม่หลากหลายและ ขายไดใ้ นราคาตา่ ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ 1) วางแผนการผลิตในระดับจังหวัด ควรมีการบูรณาการหน่วยงานในจังหวัดเพื่อบริหารจัดการ การเล้ียงปลานิลให้เกิดประสิทธิภาพ โดยให้ข้อมูลเรื่องปริมาณน้า ราคาและปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด ในแตล่ ะช่วง เพอ่ื ใหเ้ กษตรกรใชว้ างแผนการผลติ และใหผ้ ลผลติ ออกสู่ตลาดอยา่ งสม่าเสมอตลอดทั้งปี 2) ภาครัฐควรสง่ เสริมการแปรรปู ปลานิลเพอ่ื สร้างมูลค่าเพิม่ ผา่ นกลุ่มสหกรณ์ และกลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน โดยการสนับสนุนเงินทุนดอกเบ้ียต่าเพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลานิลให้มีความหลากหลาย และตรงตามความต้องการของตลาด 3) ขยายตลาดปลานิลและผลิตภัณฑ์ในต่างประเทศให้มากข้ึน โดยการส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีการ จดั แสดงสินคา้ ปลานิลและผลิตภณั ฑ์ในตลาดตา่ งประเทศใหม้ ากขึน้
ตารางที่ 32 การบริหารจดั การปลานลิ ของจังหวัดปราจีนบุรี ปี 2560 รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. 1. ผลผลิต (supply) 3,600 2,100 2,400 2,400 2,100 1.1 ผลผลิตในจงั หวัด 3,600 2,100 2,400 2,400 2,100 1.2 นาเข้าจากจังหวัดอน่ื 2. ความต้องการใช้ (Demand) 3,600 2,100 2,400 2,400 2,100 2.1 ใชใ้ นจงั หวัด 30 30 30 30 30 2.2 ส่งออกไปจังหวัดอื่น 3,570 2,070 2,370 2,370 2,070 3.ส่วนเกิน/สว่ นขาด 0000 0 หมายเหตุ 1) ปลานลิ ไม่มีอตั ราแปลงนบั นา้ หนกั การบรโิ ภคท้งั ตวั หน่วยเป็นกิโลกรมั 2) ข้อ 3.สว่ นเกนิ /ส่วนขาด = (1.ผลผลิต = 1.1+1.2) - (2. ความต้องการใช้ = 2.1+2
64 ปี 2560 รวม ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 0 1,950 2,100 2,100 2,400 2,400 3,060 3390 30,000 0 1,950 2,100 2,100 2,400 2,400 3,060 3390 30,000 0 1,950 2,100 2,100 2,400 2,400 3,060 3390 30,000 30 30 30 30 30 30 30 360 0 1,920 2,070 2,070 2,370 2,070 2,070 2,070 29,640 0000000 0 2.2)
65 3.4 การวเิ คราะหเ์ พ่ือหาพืชทางเลอื กทางเศรษฐกจิ จังหวัดปราจีนบุรี มีพ้ืนท่ีเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ รวมพื้นท่ี 992,339 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญและ ปลูกมากที่สุดในจังหวัดปราจีนบุรี ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีพ้ืนที่ปลูก 644,610 ไร่ หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 64.95 ของพื้นท่ี เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทง้ั หมด โดยขา้ วมีมูลค่าใน ปี 2558 จานวน 1,234 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.17 ของ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในภาคการเกษตร คาดว่าจังหวัดปราจีนบุรีจะมีพื้นที่เก็บเกี่ยวในจานวน 377,879 ไร่ หรือลดลงร้อยละ 1.43 จากปีท่ีผ่านมา ผลผลิต 164,693 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.38 ผลผลิตต่อไร่ 436 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 4.81 การผลติ ในพืน้ ที่ระดบั ความเหมาะสมจากขอ้ มูลกรมพฒั นาที่ดิน มพี ืน้ ท่ี ความเหมาะสม (S) ในการปลูกข้าว รวมท้ังหมด 1,010,461 ไร่ แบ่งเป็นพื้นท่ีความเหมาะสมสูง (S1) จานวน 443,229 ไร่ และพ้ืนท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) จานวน 567,232 ไร่ และประมาณการว่าพื้นท่ีปลูกข้าว จังหวัดปราจีนบุรีมีจานวน 644,610 ไร่ พื้นท่ีปลูกจริงในพื้นท่ีความเหมาะสมสูง (S1) จานวน 285,659 ไร่ พื้นท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) จานวน 208,324 ไร่ รวมพ้ืนที่ปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสม (S) จานวน 493,983 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 76.63 ของพื้นที่ปลูก พ้ืนท่ีปลูกในพ้ืนที่ความเหมาะสมน้อย (S3) จานวน 104,987 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 16.29 และพ้ืนที่ปลูกไม่เหมาะสม จานวน 45,640 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 7.08 โดยพื้นที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว (N) กระจายไปอยู่อาเภอกบินทร์บุรี 35,544 ไร่ คิดเป็น 77.88% อาเภอศรีมหาโพธิ 4,897 ไร่ คิดเป็น 10.73% อาเภอนาดี 3,361 ไร่ คิดเป็น 7.36% อาเภอเมือง 712 ไร่ คิด เป็น 1.56% อาเภอประจนั ตคาม 570 ไร่ คดิ เป็น 1.25% อาเภอศรีมโหสถ 556 ไร่ คิดเปน็ 1.22% ผลผลิตต่อไร่ของพ้ืนที่เหมาะสม (S) ไร่ละ 703.92 กิโลกรัมต่อไร่ พ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 617.32 กิโลกรัมต่อไร่ พ้ืนที่เหมาะสมให้ผลผลิตที่สูงกว่า 86.6 กิโลกรัมต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 14.03 ต้นทุนต่อไร่ ของพื้นที่เหมาะสม (S) 3,178.27 บาท ต้นทุนต่อไร่ของพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 3,467.62 บาท พื้นที่ไม่ เหมาะสมมตี ้นทุนตอ่ ไร่ทส่ี งู กวา่ 289.35 บาท พน้ื ทไี่ มเ่ หมาะสมมีตน้ ทุนต่อไร่สูงกวา่ ถึงร้อยละ 9.10 ผลตอบแทนต่อไร่ พบว่า พ้ืนท่ีเหมาะสมให้ผลตอบแทนต่อไร่ 4,850.01 บาท ส่วนพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) ให้ผลตอบแทนต่อไร่ 4,253.33 บาท พ้ืนท่ีเหมาะสมให้ผลตอบแทนต่อไร่มากกว่า 596.68 บาท หรือคิด เป็นรอ้ ยละ 14.02 ทั้งนเี้ น่ืองจากผลผลติ ทีส่ งู กวา่ ไรล่ ะ 86.60 กิโลกรัม ดงั น้นั เกษตรกรในพื้นท่ีเหมาะสม (S) เม่ือปลูกข้าว 1 ไร่ แล้วจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ หรอื กาไรต่อ ไร่เท่ากับ 1,671.74 บาท คดิ เป็นร้อยละ 52.60 ของต้นทุนการผลิต ส่วนการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) เมื่อเกษตรกรปลูกข้าว 1 ไร่ แล้วเกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.66 ของต้นทนุ การผลติ ตารางท่ี 33 การเปรยี บเทยี บตน้ ทนุ การผลติ การปลูกขา้ วในพืน้ ท่เี หมาะสม (S) และในพ้ืนทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) หนว่ ย : บาท/ไร่ รายการ พน้ื ท่เี หมาะสม พื้นทไ่ี ม่เหมาะสม (Suitability : S) (Not Suitability : N) 1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 2. ตน้ ทนุ คงท่ี เงนิ สด ประเมิน รวม เงนิ สด ประเมนิ รวม 3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 2,511.26 92.92 2,604.18 2,669.60 256.93 2,926.53 574.09 541.09 - 667.01 574.09 - 798.02 541.09 2,511.26 3,178.27 2,669.60 3,467.62
66 รายการ พนื้ ทเ่ี หมาะสม พ้นื ทไี่ มเ่ หมาะสม (Suitability : S) (Not Suitability : N) เงินสด ประเมนิ รวม เงินสด ประเมนิ รวม 4. ต้นทุนตอ่ กิโลกรมั - - 4.52 - - 5.62 5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) - - 703.92 - - 617.32 6. ราคาเฉลยี่ ทเ่ี กษตรกรขายได้ - - 6.89 - - 6.89 (บาท/กก.) 7. ผลตอบแทนต่อไร่ (บาท/ไร)่ - - 4,850.01 - - 4,253.33 8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ (บาท/ไร่) - - 1,671.74 - - 785.71 9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ผลผลิต (บาท/กก.) - - 2.37 - - 1.27 10. ปรมิ าณผลผลติ ณ จดุ ค้มุ ทุน (กก./ไร)่ - - 461.29 - - 503.28 ท่ีมา : จากการสารวจขอ้ มูล สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 ซึ่งจะเห็นได้ว่าพื้นที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสม (N) มีจานวนท้ังสิ้น 45,640 ไร่ ที่ไดผ้ ลตอบแทนน้อยกว่า พื้นท่ีเหมาะสม (S) ซ่ึงตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เร่งให้มีการปรับเปล่ียนพ้ืนท่ีไม่เหมาะสมใน การปลูกข้าวมาปรับเปลี่ยนเป็นพืชอ่ืนแทน โดยสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้รับนโยบายและทาการ วิเคราะห์ข้อมูลพืชของจังหวัดปราจีนบุรีแล้ววิเคราะห์ต้นทุนผลตอบแทนเพ่ือให้เกษตรกร และหน่วยงานที่ เก่ียวข้องสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนจากพ้ืนท่ีไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว (N) ปรับเปล่ียนมาเป็นพืช อื่น ๆ ดังน้ี 3.4.1 การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) กับ การเลีย้ งไกเ่ น้อื ตน้ ทุนการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) มตี ้นทุนรวมต่อไร่ เท่ากับ 3,467.62 บาท แบ่งเป็นต้นทุน ผันแปร 2,926.53 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.40 ต้นทุนคงที่ 541.09 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.6 โดยที่ ผลผลติ ต่อไร่เท่ากับ 617.32 กโิ ลกรัมต่อไร่ ณ ราคาเฉล่ยี ที่เกษตรกรขายได้ 6.89 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะ ได้ผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ 4,253.33 บาท ดังนั้นเม่ือเกษตรกรปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 1 ไร่ เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ไร่ เท่ากบั 785.71 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.66 ของตน้ ทนุ การผลติ ต้นทุนการเล้ียงไก่เนื้อ มีต้นทุนรวมต่อตัว เท่ากับ 67.47 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 64.81 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 96.06 ต้นทุนคงที่ 2.66 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.94 โดยท่ีผลผลิตต่อตัว 1.95 กิโลกรัม ต่อตัว ณ ราคาเฉล่ียที่เกษตรกรขายได้ 36.32 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนต่อตัว 70.82 บาท ตอ่ ตวั ดงั น้นั เม่ือเกษตรกรเลีย้ งไก่ 1 ไร่ (16,000 ตัวต่อไร่) เกษตรกรจะมตี ้นทุนการผลิตต่อไร่ 1,079,520 บาท และไดผ้ ลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เทา่ กับ 1,133,120 บาท ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ไร่หรือกาไรสุทธิต่อไร่ 53,600 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.97 ของต้นทนุ การผลิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) เม่ือเทียบกบั การเล้ียง ไก่เน้อื จะเห็นไดว้ า่ ข้าวในพื้นทไ่ี ม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ เท่ากบั 785.71 บาท คิด เป็นร้อยละ 22.66 ของต้นทนุ การผลิต สว่ นไก่เนื้อถ้ากรณเี ล้ียง 1 รอบ ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ 53,600 บาทต่อ 1 รอบ แต่ปกติไก่เนื้อภายใน 1 ปี เล้ียงประมาณ 5 รอบ ระยะพักเล้า 21 วัน ผลตอบแทนสุทธิต่อปี ประมาณ
67 268,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 24.83 ของต้นทุนการผลิต จะเห็นได้ว่าเม่ือเปรยี บเทียบต้นทุนและผลตอบแทน ข้าวในพื้นทไี่ ม่เหมาะสม (N) ให้ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ไร่ทต่ี า่ กวา่ ไกเ่ นื้อ จานวนรอ้ ยละ 2.17 ตารางท่ี 34 การเปรยี บเทียบตน้ ทนุ การผลติ การปลูกขา้ วในพืน้ ท่ไี ม่เหมาะสม (N) กบั การเล้ียงไกเ่ น้ือ รายการ ข้าว (บาท/ไร่) ไก่เน้ือ (บาท/ตัว) พน้ื ท่ีไมเ่ หมาะสม ไม่แยกความเหมาะสมของดิน (Not Suitability : N) เงนิ สด ประเมิน รวม เงนิ สด ประเมิน รวม 1. ต้นทนุ ผนั แปร 2,669.60 256.93 2,926.53 63.92 0.89 64.81 2. ต้นทนุ คงที่ - 541.09 541.09 - 2.66 2.66 3. ต้นทุนรวมต่อตัว - - - 63.92 3.55 67.47 4. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 2,669.60 798.02 3,467.62 - - 1,079,520 5. ต้นทนุ ตอ่ กโิ ลกรมั / ตวั - - 5.62 - - 34.6 6. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) - - 617.32 - - 1.95 7. ราคาเฉลยี่ ท่ีเกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) - - 6.89 - - 36.32 8. ผลตอบแทนต่อตัว - - - - - 70.82 9. ผลตอบแทนตอ่ ไร/่ ตอ่ ตวั - - 4,253.33 - - 1,133,120 10. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ - - 785.71 - - 53,600 11. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ผลผลติ (บาท/กก.) - - 1.27 - - 1.72 12. ปรมิ าณผลผลติ ณ จุดคมุ้ ทุน (กก./ไร)่ - - 503.28 -- 1.86 หมายเหตุ : ไก่ ผลผลติ ต่อไร่ ประมาณ 16,000 ตวั ต่อไร่ ทมี่ า : จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 3.4.2 การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) กับ การเลีย้ งปลานิล ต้นทุนการปลูกข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) มีต้นทุนรวมตอ่ ไร่ เท่ากับ 3,467.62 บาท แบ่งเป็นต้นทุน ผันแปร 2,926.53 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.40 ต้นทุนคงที่ 541.09 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.6 โดยที่ ผลผลติ ต่อไร่เท่ากบั 617.32 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ณ ราคาเฉล่ยี ทเ่ี กษตรกรขายได้ 6.89 บาทต่อกิโลกรมั เกษตรกรจะ ได้ผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ 4,253.33 บาท ดังน้ันเมื่อเกษตรกรปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 1 ไร่ เกษตรกรจะไดผ้ ลตอบแทนสุทธิตอ่ ไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 22.66 ของต้นทุนการผลติ ต้นทุนการเลย้ี งปลานิล มตี ้นทนุ รวมต่อไร่ เท่ากบั 14,300.48 บาท แบ่งเป็นต้นทนุ ผันแปร 10,103.14 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 70.65 ต้นทุนคงท่ี 4,197.34 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 29.35 โดยท่ีผลผลิตต่อไร่ เท่ากับ 791.87 กิโลกรัมต่อไร่ ณ ราคาเฉล่ียท่ีเกษตรกรขายได้ 28.81 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะได้ ผลตอบแทนต่อไร่ 22,813.77 บาท ดังน้ันเม่ือเกษตรกรปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 1 ไร่ เกษตรกรจะได้ ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ เท่ากบั 8,513.29 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 59.53 ของต้นทนุ การผลติ
68 ซง่ึ จะเห็นได้วา่ ต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) เม่ือเทยี บกับการเล้ียง ปลานิล จะเห็นได้ว่าข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คดิ เป็นร้อยละ 22.66 ของต้นทุนการผลติ ส่วนปลานิลเกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 8,513.29 บาท คิดเป็นร้อยละ 59.53 ของต้นทุนการผลิต จะเห็นได้ว่าเม่ือเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนแล้วปลา นลิ ใหผ้ ลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ที่ดกี วา่ ขา้ วในพื้นท่ไี มเ่ หมาะสม (N) จานวนรอ้ ยละ 36.87 ตารางที่ 35 การเปรยี บเทยี บต้นทุนการผลิตการปลูกข้าวในพน้ื ทไี่ มเ่ หมาะสม (N) กับการเลยี้ งปลานลิ รายการ ข้าว หน่วย : บาท/ไร่ พ้ืนท่ไี ม่เหมาะสม (Not Suitability : N) ปลานลิ ไม่แยกความเหมาะสมของดนิ เงินสด ประเมนิ รวม เงินสด ประเมิน รวม 1. ต้นทุนผนั แปร 2,669.60 256.93 2,926.53 8,949.14 1,154.00 10,103.14 2. ต้นทุนคงที่ - 541.09 541.09 777.14 3,420.20 4,197.34 3. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 2,669.60 798.02 3,467.62 9,726 4,574.20 14,300.48 4. ตน้ ทนุ ต่อกิโลกรมั - - 5.62 - - 18.06 5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) - - 617.32 - - 791.87 6. ราคาเฉลย่ี ท่เี กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) - - 6.89 - - 28.81 7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ - - 4,253.33 - - 22,813.77 8. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ไร่ - - 785.71 - - 8,513.29 - - 1.27 - - 10.75 9. ผลตอบแทนสุทธิเหนือต้นทุนตอ่ ผลผลิต (บาท/กก.) 10. ปริมาณผลผลติ ณ จุดคมุ้ ทนุ (กก./ไร)่ - - 503.28 - - 496.37 ทม่ี า : จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 3.4.3 การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) กับ การปลกู มันสาปะหลงั ต้นทุนการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีต้นทุนรวมต่อไร่ เท่ากับ 3,467.62 บาท แบ่งเป็นต้นทุน ผันแปร 2,926.53 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.40 ต้นทุนคงที่ 541.09 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.6 โดยท่ี ผลผลิตต่อไร่เทา่ กับ 617.32 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ณ ราคาเฉล่ยี ท่ีเกษตรกรขายได้ 6.89 บาทต่อกิโลกรมั เกษตรกรจะ ได้ผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ 4,253.33 บาท ดังนั้นเม่ือเกษตรกรปลูกข้าวในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 1 ไร่ เกษตรกรจะไดผ้ ลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 22.66 ของต้นทนุ การผลติ ต้นทุนการปลูกมันสาปะหลัง มีต้นทุนรวมต่อไร่ เท่ากับ 5,651.35 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 4,909.24 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 86.87 ต้นทุนคงที่ 742.11 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 13.13 โดยที่ผลผลิต ต่อไร่เท่ากับ 2ม865.01 กิโลกรัมต่อไร่ ณ ราคาเฉล่ียที่เกษตรกรขายได้ 1.83 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะได้
69 ผลตอบแทนต่อไร่ 5,242.97 บาท ดังนั้นเมื่อเกษตรกรปลูกอ้อย เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ -408.38 บาท คดิ เป็นร้อยละ 7.23 ของตน้ ทุนการผลติ ซงึ่ จะเห็นได้ว่าต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) เม่ือเทียบกับการปลูก มันสาปะหลัง จะเห็นได้ว่าข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.66 ของต้นทนุ การผลิต ส่วนการปลูกมันสาปะหลัง เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อ ไร่ เท่ากับ -408.38 บาท คิดเป็นร้อยละ 7.23 ของต้นทุนการผลิต จะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนและ ผลตอบแทนแล้วมันสาปะหลังให้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ที่ดีกว่าข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) จานวนร้อยละ 15.43 ตารางที่ 36 การเปรยี บเทียบต้นทนุ การผลติ การปลูกข้าวในพ้นื ท่ไี ม่เหมาะสม (N) กบั การปลกู สาปะหลงั รายการ ขา้ ว หน่วย : บาท/ไร่ พน้ื ท่ไี ม่เหมาะสม (Not Suitability : N) มันสาปะหลัง พ้ืนท่ีเหมาะสม เงนิ สด ประเมนิ รวม (Suitability : S) เงนิ สด ประเมนิ รวม 1. ตน้ ทุนผนั แปร 2,669.60 256.93 2,926.53 4,207.74 701.50 4,909.24 2. ต้นทุนคงท่ี - 541.09 541.09 742.11 742.11 3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 2,669.60 798.02 3,467.62 4,207.74 1,443.61 5,651.35 4. ต้นทนุ ตอ่ กิโลกรมั - - 5.62 - - 1.97 5. ผลผลติ ต่อไร่ (กิโลกรมั ) - - 617.32 - - 2,865.01 6. ราคาเฉลยี่ ท่เี กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) - - 6.89 - - 1.83 7. ผลตอบแทนต่อไร่ - - 4,253.33 - - 5,242.97 8. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ไร่ - - 785.71 - - -408.38 9. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อผลผลติ (บาท/กก.) - - 1.27 - - -0.14 10. ปรมิ าณผลผลติ ณ จุดคุ้มทุน (กก./กก.) - - 503.28 - - 3,088.17 ทมี่ า : จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6 หมายเหตุ : ตน้ ทุนมนั สาปะหลัง ในพื้นทเี่ หมาะสม (S) 3.4.4 การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) กับ การปลูกหญ้าเนเปยี ร์ ตน้ ทุนการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มตี ้นทุนรวมตอ่ ไร่ เท่ากับ 3,467.62 บาท แบ่งเป็นต้นทุน ผันแปร 2,926.53 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.40 ต้นทุนคงท่ี 541.09 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.6 โดยที่ ผลผลติ ต่อไร่เท่ากับ 617.32 กิโลกรมั ต่อไร่ ณ ราคาเฉลยี่ ท่ีเกษตรกรขายได้ 6.89 บาทตอ่ กิโลกรมั เกษตรกรจะ ได้ผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ 4,253.33 บาท ดังนั้นเมื่อเกษตรกรปลูกข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) 1 ไร่ เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ เทา่ กับ 785.71 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 22.66 ของตน้ ทนุ การผลติ
70 ต้นทุนการปลูกหญ้าเนเปียร์ มีต้นทุนรวมต่อไร่ เท่ากับ 20,763.45 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 15,645.92 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 75.35 ต้นทุนคงท่ี 5,117.53 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 24.65 โดยท่ี ผลผลิตต่อไร่เท่ากับ 43,326.30 กิโลกรัมต่อไร่ ณ ราคาเฉล่ียท่ีเกษตรกรขายได้ 1.63 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนต่อไร่ 70,570.89 บาท ดังนั้นเม่ือเกษตรกรปลูกหญ้าเนเปียร์ เกษตรกรจะได้ ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากบั 49,807.44 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 239.88 ของต้นทนุ การผลิต ซงึ่ จะเห็นได้วา่ ต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) เมอื่ เทยี บกับการปลูก หญ้าเนเปียร์ จะเห็นได้ว่าข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.66 ของตน้ ทุนการผลิต สว่ นการปลูกหญา้ เนเปียรเ์ กษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 49,807.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 239.88 ของต้นทุนการผลิต จะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนและ ผลตอบแทนแลว้ หญา้ เนเปียร์ใหผ้ ลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไรท่ ี่ดกี ว่าข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) ตารางที่ 37 การเปรียบเทยี บตน้ ทนุ การผลิตการปลูกข้าวในพื้นทีไ่ มเ่ หมาะสม (N) กบั การปลูกหญ้าเนเปียร์ รายการ ขา้ ว หน่วย : บาท/ไร่ พนื้ ท่ไี ม่เหมาะสม (Not Suitability : N) หญา้ เนเปยี ร์ เงนิ สด ประเมนิ รวม เงนิ สด ประเมนิ รวม 1. ตน้ ทนุ ผันแปร 2,669.60 256.93 2,926.53 - - 15,645.92 2. ตน้ ทนุ คงท่ี - 541.09 541.09 - - 5,117.53 3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 2,669.60 798.02 3,467.62 - - 20,763.45 4. ต้นทนุ ต่อกิโลกรมั - - 5.62 - - 0.48 5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กิโลกรมั ) - - 617.32 - - 43,326.30 6. ราคาเฉลยี่ ที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) - - 6.89 - - 1.63 7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ - - 4,253.33 - - 70,570.89 8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ - - 785.71 - - 49,807.44 9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อผลผลิต (บาท/กก.) - - 1.27 - - 1.15 10. ปริมาณผลผลติ ณ จุดคุ้มทนุ (กก./ไร่) - - 503.28 - - 12,738.31 ทีม่ า : สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ : ตน้ ทุนหญา้ เนเปยี ร์ ปากชอ่ ง 3.4.5 การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) กับ การปลูกหญา้ นวดแมว ต้นทุนการปลูกข้าวในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) มตี ้นทุนรวมต่อไร่ เท่ากับ 3,467.62 บาท แบ่งเป็นต้นทุน ผันแปร 2,926.53 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.40 ต้นทุนคงท่ี 541.09 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.6 โดยท่ี
71 ผลผลติ ต่อไร่เท่ากบั 617.32 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ณ ราคาเฉล่ยี ทีเ่ กษตรกรขายได้ 6.89 บาทตอ่ กิโลกรมั เกษตรกรจะ ได้ผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ 4,253.33 บาท ดังน้ันเมื่อเกษตรกรปลูกข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) 1 ไร่ เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ เทา่ กับ 785.71 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 22.66 ของตน้ ทุนการผลติ ต้นทุนการปลูกหญ้านวดแมวมีต้นทุนรวมต่อไร่ เท่ากับ 31,238.13 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 30,917.08 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 98.97 ต้นทุนคงที่ 321.05 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.03 โดยที่ผลผลิต ต่อไร่เท่ากับ 655.37 กิโลกรัมต่อไร่ ณ ราคาเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ 147.09 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะได้ ผลตอบแทนต่อไร่ 96,398.37 บาท ดังนั้นเม่ือเกษตรกรปลูกหญ้านวดแมว เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อ ไร่ เท่ากบั 65,160.24 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 208.59 ของตน้ ทุนการผลติ ซงึ่ จะเห็นได้วา่ ต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) เมื่อเทียบกับการปลูก หญ้านวดแมว จะเห็นได้ว่าข้าวในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.66 ของต้นทุนการผลิต ส่วนการปลูกหญ้านวดแมวเกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อ ไร่ เท่ากับ 65,160.24 บาท คิดเป็นร้อยละ 208.59 ของต้นทุนการผลิต จะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบต้นทุน และผลตอบแทนแล้วหญ้านวดแมวให้ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ไร่ทดี่ ีกว่าข้าวในพ้ืนที่ไมเ่ หมาะสม (N) ตารางท่ี 38 การเปรยี บเทียบตน้ ทนุ การผลติ การปลูกข้าวในพนื้ ทีไ่ มเ่ หมาะสม (N) กับการปลูกหญา้ นวดแมว รายการ ข้าว หน่วย : บาท/ไร่ พน้ื ท่ีไม่เหมาะสม (Not Suitability : N) หญา้ นวดแมว เงนิ สด ประเมิน รวม เงนิ สด ประเมิน รวม 1. ต้นทุนผันแปร 2,669.60 256.93 2,926.53 23,704.54 7,212.54 30,917.08 2. ตน้ ทุนคงท่ี - 541.09 541.09 - - 321.05 3. ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่ 2,669.60 798.02 3,467.62 23,704.54 7,533.59 31,238.13 4. ต้นทุนต่อกิโลกรมั - - 5.62 - - 47.66 5. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กิโลกรมั ) - - 617.32 - - 655.37 6. ราคาเฉลย่ี ที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) - - 6.89 - - 147.09 7. ผลตอบแทนต่อไร่ - - 4,253.33 - - 96,398.37 8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ - - 785.71 - - 65,160.24 9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ผลผลิต (บาท/กก.) - - 1.27 - - 99.43 10. ปรมิ าณผลผลติ ณ จุดคุม้ ทุน (กก./ไร)่ - - 503.28 - - 212.37 ท่มี า : จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6 หมายเหตุ : ต้นทุนสมนุ ไพร
72 3.4.6 การเปรียบเทยี บต้นทุนและผลตอบแทนระหวา่ งการปลูกขา้ วในพ้ืนท่ไี มเ่ หมาะสม (N) กบั การปลกู ทองพันชั่ง ต้นทุนการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) มีต้นทุนรวมตอ่ ไร่ เท่ากับ 3,467.62 บาท แบ่งเป็นต้นทุน ผันแปร 2,926.53 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.40 ต้นทุนคงท่ี 541.09 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.6 โดยท่ี ผลผลติ ต่อไร่เทา่ กับ 617.32 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ณ ราคาเฉล่ยี ทเ่ี กษตรกรขายได้ 6.89 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะ ได้ผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ 4,253.33 บาท ดังน้ันเม่ือเกษตรกรปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 1 ไร่ เกษตรกรจะไดผ้ ลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ เทา่ กบั 785.71 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 22.66 ของต้นทุนการผลติ ต้นทุนการปลูกทองพันช่ังมีต้นทุนรวมต่อไร่ เท่ากับ 70,745.80 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 64,931.81 บาท หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.78 ต้นทุนคงท่ี 5,813.99 บาท หรือคดิ เป็นร้อยละ 8.22 โดยที่ผลผลิต ต่อไร่เท่ากับ 551.35 กิโลกรัมต่อไร่ ณ ราคาเฉล่ียท่ีเกษตรกรขายได้ 177.06 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะได้ ผลตอบแทนต่อไร่ 97,622.03 บาท ดังนั้นเมื่อเกษตรกรปลูกทองพันชั่ง เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากบั 26,876.23 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.99 ของตน้ ทุนการผลติ ซึ่งจะเห็นได้ว่าต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เมื่อเทยี บกับการปลูก ทองพันชัง่ จะเห็นได้ว่าข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.66 ของต้นทุนการผลิต ส่วนการปลกู ทองพันชงั่ เกษตรกรจะไดผ้ ลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ เท่ากับ 26,876.23 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.99 ของต้นทุนการผลิต จะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนและ ผลตอบแทนแล้วทองพนั ชงั่ ให้ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไรท่ ดี่ กี ว่าข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) ตารางที่ 39 การเปรียบเทียบตน้ ทนุ การผลติ การปลูกข้าวในพ้นื ทไ่ี ม่เหมาะสม (N) กบั การปลกู ทองพนั ชัง่ รายการ ขา้ ว หน่วย : บาท/ไร่ พื้นท่ไี มเ่ หมาะสม (Not Suitability : N) ทองพันชั่ง เงินสด ประเมิน รวม เงินสด ประเมิน รวม 1. ตน้ ทุนผันแปร 2,669.60 256.93 2,926.53 25,599.62 39,332.19 64,931.81 2. ตน้ ทุนคงท่ี - 541.09 541.09 - - 5,813.99 3. ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่ 4. ต้นทุนต่อกโิ ลกรมั 2,669.60 798.02 3,467.62 25,645.03 45,100.77 70,745.80 - - 5.62 - - 128.31 5. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กิโลกรมั ) - - 617.32 - - 551.35 6. ราคาเฉลยี่ ทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) - - 6.89 - - 177.06 7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ - - 4,253.33 - - 97,622.03 8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ - - 785.71 - - 26,876.23 9. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ผลผลิต (บาท/กก.) - - 1.27 - - 48.75 10. ปริมาณผลผลติ ณ จุดคุม้ ทนุ (กก./ไร่) - - 503.28 - - 399.56 ทม่ี า : จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 6 หมายเหตุ : ตน้ ทนุ สมุนไพร
73 3.5 การปลกู พืชทดแทนในพื้นท่ีไม่เหมาะสม แนวทางการปลูกพืชทดแทนในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) จะใช้เกณฑ์จากต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน ของสินค้าที่จัดเก็บข้อมูลต้นทุนการผลิตในสินค้าท่ีสาคัญ 4 ชนิด (Top 4) ในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) มา เปรยี บเทยี บกบั ต้นทนุ และผลตอบแทนกับสินค้าทจ่ี ะปรบั เปลยี่ นในระดบั ความเหมาะสม (S) (1) จากข้อมูล http://agri-map-online.moac.go.th พ้ืนที่ปลูกข้าวจังหวัดปราจีนบุรี ในปี 2558 มีจานวน 644,610 ไร่ เป็นพ้ืนท่ีปลูกในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมจานวน 150,627 ไร่ หรือคิดเป็น ร้อยละ 23.37 เป็นพ้ืนท่ไี ม่เหมาะสม (N) ในการปลกู ขา้ ว 45,640 ไร่ และการผลิตข้าวในเขตพ้ืนท่ไี ม่เหมาะสม (N) เกษตรกรมี ต้นทุนการผลิตข้าวไร่ละ 3,467.62 บาท เป็นต้นทุนผันแปร 2,926.53 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ไร่ละ 541.09 และได้ผลผลิตไร่ละ 617.32 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา 6.89 บาทต่อกิโลกรัม ทาให้ เกษตรได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ หรือกาไรสุทธิต่อไร่ เพียง 785.71 บาท ดังนั้นจึงจาเป็นต้องหาแนวทาง ปรับเปล่ียนพืชทดแทนการปลูกข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) เพื่อให้เกษตรกรมีผลกาไรในการปลูกพืชอย่าง ย่ังยืนต่อไป โดยการเปรียบเทียบต้นทุนจากผลตอบแทนของต้นทุนสินค้าท่ีสาคัญ 4 ชนิด (Top 4) เป็นอันดับ แรก ซึ่งพืชท่ีสามารถนามาทดแทนในการปลูกข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) ได้แก่ หญ้าเนเปียร์ ไกเ่ นื้อ ปลานิล พชื สมุนไพร เปน็ ตน้ ตารางที่ 40 สรุปพื้นท่ีปลกู ข้าวในช้นั ความเหมาะสมต่าง ๆ ในแตล่ ะอาเภอ จงั หวดั ปราจีนบุรี อาเภอ พื้นท่ีปลูกข้าว จังหวดั ปราจนี บุรี หน่วย : บาท/ไร่ กบนิ ทรบ์ รุ ี S1 S2 S3 N Total นาดี 181,761 บ้านสรา้ ง 11,340 80,038 54,839 35,544 42,105 ประจนั ตคาม - 116,497 เมือง 35,625 3,119 3,361 83,325 ศรีมหาโพธิ 88,975 89,706 ศรมี โหสถ 26,483 15,297 12,225 - 85,054 จ.ปราจนี บรุ ี 68,503 46,162 53,307 41,149 15,123 570 644,610 37,051 285,660 16,284 4,207 712 15,254 11,596 4,897 4,677 3,878 556 208,324 104,986 45,640 แนวทางการปรับเปล่ียนพ้ืนที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสม (N) จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งมีพ้ืนท่ี 45,640 ไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 7.08 ของพ้ืนท่ีการปลูกข้าวท้ังหมด เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่เพียง 785.71 บาท หากเกษตรกรปลกู พืชทดแทนท่ีสาคัญๆ เชน่ ไก่เน้ือ ปลานลิ หญา้ เนเปยี ร์ และพชื สมนุ ไพร
บทท่ี 4 สรุป ขอ้ เสนอแนะ 4.1 สรุป จากการศึกษาทางด้านเกษตรของจังหวัดปราจีนบุรี พบว่าพ้ืนที่มีลักษณะทางกายภาพที่หลากหลาย สภาพพื้นท่ีล่มุ ๆ ดอน ๆ สภาพพื้นท่ีลาดเอียงสู่ทิศตะวนั ตก ทาให้บางพนื้ ทมี่ ีสภาพเป็นพน้ื ทีด่ อนเหมาะต่อการ ทาไร่ บางพ้ืนท่ีเป็นพ้ืนท่ีลุ่มเหมาะแก่การทานา บางส่วนมีสภาพเป็นป่าเส่ือมโทรม บางส่วนเป็นป่าโปร่ง ซึ่ง ลักษณะทางกายภาพดังกล่าวเหมาะสมต่อการผลิตดา้ นเกษตรกรรมท้ังด้านพืช ปศุสตั ว์ ประมง จากการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการพื้นท่ีเกษตรเศรษฐกิจเชิงพื้นท่ี (Zoning) สินค้าข้าวในพื้นท่ี จังหวดั ปราจีนบุรี มีวัตถุประสงคเ์ พื่อการศึกษาการปลกู ขา้ วในพ้นื ที่ท่ีแบง่ ตามพ้ืนท่ีเขตความเหมาะสม โดยแยก เป็นพ้ืนท่ีเหมาะสมมากรวมกับพื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S1,S2) และพ้ืนที่เหมาะสมน้อยรวมกับพ้ืนที่ไม่ เหมาะสม (S3,N) ซง่ึ จังหวดั ปราจีนบุรี มพี ืชเศรษฐกจิ ในอันดับต้น ๆ ที่มคี วามสาคัญ ได้แก่ ไก่เน้ือ ข้าว ปลานิล สุกร และมนั สาปะหลงั เปน็ ตน้ เม่อื พิจารณาข้อมูลดา้ นการผลิต จากความเหมาะสมทางกายภาพ โดยใชแ้ ผนที่ ความเหมาะสมทางกายภาพของกรมพัฒนาท่ีดิน ข้อมูลปริมาณพ้ืนที่ ผลผลิต และชนิดพันธ์ุ ด้านข้อมูลของ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจ ส่วนของสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 จากการสารวจ ด้วยตัวอย่างของต้นทุนการผลิตข้าวนาปี การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนพืชทางเลือกอ่ืนๆ รวมท้ังศึกษ า ศักยภาพของพ้ืนท่ี โครงสร้างการตลาด การค้า การกระจายผลผลิตและข้อมูลทางสังคม รวมถึงมาตรการและ นโยบายของรฐั บาล และการสง่ เสรมิ ในพน้ื ที่ และกาหนดแนวทางการพัฒนาสินค้าข้าวของจงั หวัดปราจีนบรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี มีพ้ืนท่ีเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ รวมพื้นที่ 992,339 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญและ ปลูกมากที่สุดในจังหวัดปราจีนบุรี ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีพื้นท่ีปลูก 644,610 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 64.95 ของพ้ืนท่ี เพาะปลูกพชื เศรษฐกิจทัง้ หมด โดยขา้ วมมี ูลค่าใน ปี 2558 จานวน 1,234 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 16.17 ของ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในภาคการเกษตร คาดว่าจังหวัดปราจีนบุรีจะมีพ้ืนที่เก็บเกี่ยวในจานวน 377,879 ไร่ หรือลดลงร้อยละ 1.43 จากปีท่ีผ่านมา ผลผลิต 164,693 ตัน หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 3.38 ผลผลิตต่อไร่ 436 กิโลกรัมต่อไร่ หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 4.81 การผลิตในพ้ืนท่ีระดับความเหมาะสมจากข้อมูลกรมพัฒนาท่ีดิน จาก ข้อมูล http://agri-map-online.moac.go.th พ้ืนที่ปลูกข้าวจังหวัดปราจีนบุรี ในปี 2558 มีพื้นท่ีความ เหมาะสม (S) ในการปลูกข้าว รวมทั้งหมด 1,010,461 ไร่ แบ่งเป็นพ้ืนท่ีความเหมาะสมสูง (S1) จานวน 443,229 ไร่ และพ้ืนท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) จานวน 567,232 ไร่ และประมาณการว่าพ้ืนท่ีปลูกข้าว จังหวัดปราจีนบุรีมีจานวน 644,610 ไร่ พ้ืนที่ปลูกจริงในพ้ืนที่ความเหมาะสมสูง (S1) จานวน 285,659 ไร่ พ้ืนท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) จานวน 208,324 ไร่ รวมพ้ืนที่ปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสม (S) จานวน 493,983 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 76.63 ของพ้ืนท่ีปลูก พ้ืนท่ีปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสมน้อย (S3) จานวน 104,987 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 16.29 และพ้ืนท่ีปลูกไม่เหมาะสม จานวน 45,640 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 7.08 โดยพ้ืนที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว (N) กระจายไปอยู่อาเภอกบินทร์บุรี 35,544 ไร่ คิดเป็น 77.88% อาเภอศรีมหาโพธิ 4,897 ไร่ คิดเป็น 10.73% อาเภอนาดี 3,361 ไร่ คิดเป็น 7.36% อาเภอเมือง 712 ไร่ คิด เป็น 1.56% อาเภอประจนั ตคาม 570 ไร่ คดิ เปน็ 1.25% อาเภอศรีมโหสถ 556 ไร่ คิดเปน็ 1.22% ผลผลิตต่อไร่ของพ้ืนที่เหมาะสม (S) ไร่ละ 703.92 กิโลกรัมต่อไร่ พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 617.32 กิโลกรัมต่อไร่ พื้นที่เหมาะสมให้ผลผลิตที่สูงกว่า 86.60 กิโลกรัมต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 14.03 ต้นทุนต่อไร่ ของพื้นที่เหมาะสม(S) 3,178.27 บาท ต้นทนุ ต่อไร่ของพื้นท่ีไมเ่ หมาะสม (N) 3,467.62 บาท พื้นท่ีไม่เหมาะสม มตี ้นทนุ ตอ่ ไรท่ ่สี ูงกวา่ 289.35 บาท พน้ื ทไ่ี มเ่ หมาะสมมตี น้ ทุนตอ่ ไร่สูงกวา่ ถึงร้อยละ 9.10
75 ผลตอบแทนต่อไร่ พบว่า พ้ืนท่ีเหมาะสมให้ผลตอบแทนต่อไร่ 4,850.01 บาท ส่วนพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) ให้ผลตอบแทนต่อไร่ 4,253.33 บาท พื้นท่ีเหมาะสมให้ผลตอบแทนต่อไร่มากกว่า 596.68 บาท หรือคิด เป็นร้อยละ 14.02 ท้งั น้ีเน่อื งจากผลผลิตท่ีสงู กว่าไรล่ ะ 86.60 กิโลกรัม ดงั น้นั เกษตรกรในพื้นท่เี หมาะสม (S) เมื่อปลูกข้าว 1 ไร่ แล้วจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ หรอื กาไรต่อ ไร่เท่ากับ 1,671.74 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.60 ของต้นทุนการผลิต ส่วนการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เม่ือเกษตรกรปลูกข้าว 1 ไร่ แล้วเกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ เท่ากับ 785.71 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.66 ของตน้ ทุนการผลติ ซึ่งจะเห็นได้ว่าพื้นท่ีปลูกข้าวไม่เหมาะสม (N) มีจานวนท้ังสิ้น 45,640 ไร่ ท่ีได้ผลตอบแทนน้อยกว่า พื้นท่ีเหมาะสม (S) ซึ่งตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ท่ีเร่งให้มีการปรับเปล่ียนพื้นท่ีไม่เหมาะสมใน การปลูกข้าวมาปรับเปลี่ยนเป็นพืชอื่นแทน โดยสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้รับนโยบายและทาการ วิเคราะห์ข้อมูลพืชของจังหวัดปราจีนบุรีแล้ววิเคราะห์ต้นทุนผลตอบแทนเพื่อให้เกษตรกร และหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนจากพ้ืนท่ีไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว (N) ปรับเปล่ียนมาเป็นพืช อื่น ๆ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องหาแนวทางเพื่อให้เกษตรกรมีผลกาไรในการปลูกพืชอย่างย่ังยืนต่อไป โดยการ เปรียบเทียบต้นทุนจากผลตอบแทนของต้นทุนสินค้าที่สาคัญ 4 ชนิด (Top 4) เป็นอันดับแรก ซ่ึงพืชท่ีสามารถ นามาทดแทนในการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) ได้แก่ ไก่เน้ือ ปลานิล หญ้าเนเปียร์ พืชสมุนไพร เป็นต้น จากขอ้ มลู ข้างตน้ ทาใหส้ ามารถวเิ คราะห์ SWOT Analysis ของจังหวัดปราจีนบรุ ีได้ดงั นี้ 4.1.1 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน จดุ แข็ง (Strengths : S) (1) จงั หวัดปราจนี บุรีต้งั อยูใ่ นทาเลท่ีมีลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์และกายภาพทด่ี ี เปน็ ปจั จัยเก้อื หนุนทาให้ การผลิตได้เปรียบมากขึน้ ประกอบกับมลี ักษณะโครงสร้างทางกายภาพ (ดิน) ที่ดี พื้นทีม่ ีความเหมาะสมในการ ปลูกพืชหลายชนิด อีกทั้งยังมีพ้ืนที่ท่ีเหมาะสาหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์นา้ ทาประมง และปศุสัตว์ เป็นศูนย์กลาง การคมนาคมขนส่งของภูมภิ าค สะดวกตอ่ การขนส่งสนิ คา้ เกษตร (2) จังหวัดปราจีนบุรี มีโครงสร้างทางการผลิตที่ดี มีการผลิตที่หลากหลาย ทาให้เกิดความได้เปรียบ เชิงแข่งขัน ได้แก่ เป็นแหล่งผลิตสินค้าที่สาคัญของจังหวัด ท่ีมีทั้งพืช ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย หน่อไม้จีน มะยงชดิ ทุเรยี น เปน็ ต้น ปศุสัตว์และประมง ได้แก่ ไก่เนอ้ื สกุ ร ไขไ่ ก่ สัตวน์ ้าจืด ปลานลิ กงุ้ ทะเล เปน็ ต้น (3) จังหวัดปราจีนบุรีมีสินค้าเกษตรและปศุสัตว์ท่ีทาการผลิตในพ้ืนท่ี เกษตรกรมีทักษะและความ ชานาญ ทาให้มผี ลตอบแทนสงู กวา่ การปลกู ข้าวในพน้ื ทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) (4) จังหวดั ปราจีนบุรีมีขา้ วพนั ธุพ์ ื้นเมอื ง มีจดุ เดน่ คอื มีอะมิโลสสงู หลกี เลีย่ งน้าทว่ มได้ดี (5) จังหวัดปราจีนบุรีมีโรงงานมันอัดเม็ด และโรงงานเอทานอล เพ่ือรองรับผลผลิตมันเส้นและมัน สาปะหลังตากแหง้ (6) จงั หวดั ปราจีนบรุ ีมพี ืชสมนุ ไพรทีเ่ ปน็ ท่ีนยิ ม ราคาผลผลิตสูง และมีตลาดรองรบั ในพื้นท่ี (7) เกษตรกรนานโยบายของรฐั บาลมาใช้ เร่ืองเกษตรทฤษฎใี หม่ (5 ประสานสบื สานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง) มีการปลูกพืชผสมผสาน การเลี้ยงสัตว์ และมีการนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน และปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรบั เปลย่ี นการผลิตในลักษณะพอเพียงที่เหมาะสมกบั พน้ื ท่ี (8) เกษตรกรนานโยบายของรัฐบาลมาใช้ เรื่องแปลงใหญ่ ช่วยลดต้นทนุ เพ่มิ ผลผลติ
76 (9) เกษตรกรตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จในพ้ืนที่ และมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกรใน พื้นท่ีร่วมกับเจ้าหน้าท่ีรัฐบาล โดยใช้พื้นท่ีจากศูนย์เรียนรู้เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เป็น ศูนยก์ ลาง จุดออ่ น (Weakness) (1) พื้นที่เกษตรกรรมหลายพื้นที่มลี ักษณะพนื้ ทีล่ ่มุ เป็นท้องกระทะ ทาให้เกิดนา้ ท่วมเสียหาย (2) พ้ืนที่การเกษตรในจังหวัดปราจีนบุรียังมีระบบชลประทานไม่ท่ัวถึง ต้องอาศัยน้าฝน ทาให้ยังขาด ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการการผลติ ทั้งดา้ นปริมาณ และคณุ ภาพ (3) ราคาผลผลิตตกต่า ราคาไม่มีเสถียรภาพ (4) ปญั หาการลกั ลอบนาเข้าผลผลติ จากประเทศเพ่อื นบ้าน (5) การบริหารจดั การผลผลิตยังไมม่ ีประสทิ ธิภาพ (6) ปญั หาการขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตรกรรม (7) เกษตรกรขาดการรวมกลุ่มใหญ่เพ่ือให้มีอานาจต่อรอง ส่วนใหญ่มีแต่กลุ่มเล็ก ๆ กระจายตัว ทาให้ ยังไมม่ ีอานาจตอ่ รองเปน็ รปู ธรรม (8) การผลิตสนิ ค้าเกษตรถึงแม้ว่าจะอยู่ในพ้ืนท่เี หมาะสม แต่ก็ยังเป็นการผลติ ในลกั ษณะเดิม ๆ ยังขาด ความรู้ การทาเทคโนโลยี นวัฒกรรมใหม่ๆ มาใชใ้ นการผลติ เพื่อลดต้นทนุ เพ่ิมผลผลิต (9) เกษตรกรยังขาดการเพมิ่ มูลคา่ ของสนิ ค้า เชน่ การแปรรูป (10) การปรับเปล่ียนกิจกรรมการผลิตไปสู่กิจกรรมที่เหมาะสมบางอย่างใช้งบประมาณในการ ดาเนนิ งานค่อนขา้ งสูง (11) บางพ้ืนที่มีสินค้าเกษตรที่มีศักยภาพในการเพาะปลูก ท้ังในด้านกายภาพและเศรษฐกิจ และมี แหลง่ รับซอื้ ผลผลติ ในจงั หวดั แต่ยงั มีการเพาะปลกู ในเขตพ้นื ที่เหมาะสมคอ่ นขา้ งน้อย (12) เกษตรกรไม่เห็นความสาคญั ของการรบั รองมาตรฐานสนิ คา้ เช่น GI, GAP, Organic Thailand 4.1.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส (Opportunity) (1) มอี ่างเก็บน้าหลายแหง่ เชน่ โครงการพัฒนาแหล่งน้าขนาดใหญแ่ ละขนาดกลางทีไ่ ด้ดาเนินการแล้ว เสร็จจนถึงปัจจุบัน มีจานวนรวมกันท้ังสิ้น 11 โครงการ มีปริมาตรความจุเก็บกักท้ังหมด 16.15 ล้าน ลบ.ม. และมีพื้นที่ชลประทานรวมกันท้ังส้ิน 124,512.47 ไร่ โครงการขนาดเล็ก ได้ดาเนินการแล้วเสร็จจนถึงปัจจุบัน มีจานวนรวมกันทั้งส้ิน 86 โครงการ และมีพ้ืนท่ีรับประโยชน์รวมกันท้ังส้ิน 85,477 ไร่ โดยได้รับการดูแลจาก โครงการชลประทาน โครงการส่งน้าและบารุงรักษาบางพลวง สานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดใหญ่ 7 โครงการส่งน้าและบารุงรกั ษานฤบดินทรจนิ ดา ซง่ึ อ่างเกบ็ นา้ นฤบดินทรจนิ ดา มีพ้นื ที่ 111,300 ไร่ (2) จังหวัดปราจีนบุรีมีโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตรท่ีเชื่อมโยงกับการผลิตภาคเกษตรในพ้ืนที่ เช่น โรงงานผลิตพืช ผัก อาหารบรรจุกระป๋อง โรงงานแปรรูปผลไม้ แปรรปู ผลไม้ทอดกรอบ โรงงานผลิตไบโอดีเซล จากผลผลิตปาล์มน้ามัน และโรงงานใกล้เคียงจังหวัดปราจีนบุรี ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมทางการเกษตรแบบ ครบวงจร และผูผ้ ลติ น้าตาลทรายรายใหญ่ทีส่ ดุ ในเขตภาคตะวนั ออกทีต่ ง้ั โรงงานอยใู่ นจงั หวดั สระแก้ว (3) กระแสเร่ืองสินค้าปลอดภัย สนิ ค้าเกษตรอินทรยี ์ ออรแ์ กนคิ (4) การพัฒนาในรูปแบบพนื้ ทเ่ี ฉพาะ (Intensive Area)
77 (5) จังหวัดปราจีนบุรีมีสินค้า ทุเรียน GI (Geographical Indication หรือ GI) โดยกระทรวงพาณิชย์ กรมทรพั ยส์ ินทางปญั ญาไดป้ ระกาศขนึ้ ทะเบยี นสินค้าสงิ่ บ่งชที้ างภูมิศาสตร์ คือ ทเุ รยี นปราจีน (6) นโยบายด้านการพัฒนาของรัฐบาลที่เกื้อหนุนต่อภาคเกษตรกรรมในพื้นที่ นโยบายปฏิรู ป การเกษตรที่ต้องการสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยขับเคลื่อนภาคเกษตรโดยการดาเนินงาน ท่ีสาคัญ และเกี่ยวข้องกับพ้ืนท่ีท้ัง 13 มาตรการ คือ 1. ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 2. ระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ และโครงการสนับสนุนสนิ เชือ่ เพ่ือพัฒนาระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบ แปลงใหญ่ 3. การบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรมเชิงรุก (Zoning by Agri-Map) 4. เกษตรอินทรีย์ 5. เกษตร ทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสาน 6. แผนการผลิตข้าวครบวงจร 7. ธนาคารสินค้าเกษตร 8. ระบบส่งน้า/กระจาย นา้ 9. ตลาดสินค้าเกษตร 10. คุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร (มกอช.) 11. ยกระดบั ความเข้มแข็งของสหกรณ์ 12. Smart Farmer/Young Smart Farmer 13. พฒั นาพ้ืนที่ ส.ป.ก. ตามมาตรา 44 ข้อจากดั (Threat) (1) ตน้ ทนุ การผลิตสงู โดยเฉพาะปจั จัยการผลติ เชน่ ปุ๋ย ยาสารเคมี (2) การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ ทาให้พื้นท่ีเกษตรกรรมถูกปรับเปลี่ยนเป็นพื้นท่ี อตุ สาหกรรม (3) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ วิกฤตภัย ต่าง ๆ เช่น แล้ง น้าท่วม กระทบต่อผลผลิตของ เกษตรกรทัง้ พืช ปศุสตั ว์ และประมง และยังมีปัญหาเร่ืองโรค แมลง และศัตรพู ชื ทีเ่ พมิ่ มากขึน้ ในปัจจุบัน การวเิ คราะห์ศกั ยภาพ 4.1.3 การวเิ คราะห์ TOWS Matrix การวิเคราะห์ SWOT Analysis และวิเคราะห์ TOWS Matrix เม่ือนากลยุทธ์ทางเลือกมาจัดกลุ่ม เพ่ือ กาหนดศักยภาพหรือทิศทางการพัฒนาด้านการเกษตรของจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งจากการวิเคราะห์ได้ประเด็น กลยทุ ธ์ทนี่ ามากาหนดยุทธศาสตร์ในภาพรวม 4 ประเดน็ หลกั ดงั น้ี SO : กลยุทธ์ทางเลือก Strategy ผลักดันให้เกษตรกรปรับเปล่ียนโครงสร้างการผลิตจากการปลูกพืชเชิงเด่ียวในเขตพื้นที่ไม่ เหมาะสมมาปลกู พชื ผสมผสาน หรอื เกษตรทฤษฎใี หม่ เพ่ิมประสิทธิภาพพื้นท่ี S1 S2 ให้เข้าโครงการแปลงใหญ่ เพื่อเกิดการรวมกลมุ่ เพื่อลดต้นทุน เพม่ิ ผลผลติ และเพม่ิ มลู ค่าสินค้าเกษตร ใหม้ กี ารพัฒนาอย่างยงั่ ยืน พืชสมุนไพร ในพืน้ ทแี่ ละมตี ลาดรองรบั อกี ทั้งยงั มีนโยบายรฐั บาลทส่ี นบั สนนุ เรอื่ งสมุนไพร นาจดุ เดน่ ของจงั หวดั เช่น ทุเรยี น GI พันธข์ุ ้าวพน้ื เมืองมาเป็นเอกลกั ษณ์ของจังหวัด จังหวัดปราจนี บุรีมโี รงงานอุตสาหกรรมเกษตร ทาให้เกษตรกรมีแหลง่ จาหนา่ ยผลผลิต พัฒนาด้านการผลิต และการตลาดในพ้ืนที่ให้สอดคล้องกับความเหมาะสมทางกายภาพของ พ้นื ท่ี Zoning by Agri-Map นาเกษตรกรตัวอย่าง ปราชญ์เกษตร ท่ีประสบความสาเร็จมาถ่ายทอดความรู้ในศูนย์การ เรยี นรู้เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลติ สินคา้ เกษตร (ศพก.)
78 WO : กลยทุ ธ์ทางเลือก Strategy นาเขื่อน อ่างเก็บน้า มาแก้ไขปัญหาในพื้นท่ีท้องกระทะ น้าท่วมในฤดูฝน และปัญหาขาด แคลนน้า การทางานบรู ณาการร่วมกัน ส่งเสริมกจิ กรรมการรวมกลุ่มประชารัฐ แปลงใหญ่ กลุ่มสหกรณ์ ให้มอี านาจต่อรอง พัฒนาความรู้ เทคโนโลยี นานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้เพ่ือลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และสร้าง มลู ค่าเพมิ่ ใหก้ บั สินคา้ เกษตร สนับสนุนงบประมาณในช่วงแรก และปัจจัยการผลิต สนับสนุนสินเช่ือให้กับเกษตรกรที่เข้า รว่ มโครงการปรบั เปล่ียนพ้นื ที่ปลกู ไม่เหมาะสม สนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืช GI GAP และ Organic Thailand สนับสนุนให้เกษตรกรจด ทะเบยี น และสนบั สนุนปัจจัยการผลิต รวมทง้ั สินเชอื่ และตลาดให้กบั เกษตรกร การรวมกลมุ่ เพ่อื มอี านาจต่อรองเร่ือง ราคา ตลาด ปัจจัยการผลิต ST : กลยุทธ์ทางเลือก Strategy สร้างเกษตรกรต้นแบบ ปราชญ์เกษตร เป็นตัวอย่างให้เกษตรกร และเผยแพร่ความรู้ในศูนย์ การเรยี นรู้เพ่มิ ประสิทธิภาพการผลติ สนิ ค้าเกษตร ศพก. ใหก้ บั เกษตรกรรายอืน่ ๆ ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการผลิตสินค้า เพื่อรองรับต่อสภาพภูมิอากาศที่ เปลย่ี นแปลง และลดต้นทนุ การผลิตให้เหมาะสมกบั พนื้ ที่ การปรับเปล่ียนสินค้าเกษตร ให้สอดคล้องกับเขตพ้ืนที่เหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจสินค้า เกษตรการผลิตในพ้ืนท่เี หมาะสมตามแผนที่ (Agri-Map) WT : กลยทุ ธ์ทางเลือก Strategy ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรเห็นความสาคัญถึงการเพาะปลูกในพื้นท่ีเหมาะสม Zoning by Agri-Map ด้วยการให้เกษตรกรเห็นถึง ต้นทุน ผลตอบแทน ตลาด ของการปลูกในพ้ืนที่ เหมาะสมกับพื้นท่ีไม่เหมาะสมเปรียบเทียบกัน และนาเสนอทางเลือกการปลูกพืชอ่ืนที่ให้ ผลตอบแทนทดี่ กี วา่ ให้กับเกษตรกร การปรับเปล่ียน หรือลดพื้นที่ไม่เหมาะสมในการผลิตสินค้าเกษตรให้เหมาะสมกับศักยภาพ ของพื้นที่ สง่ เสริมใหเ้ กษตรกรปลกู พืชใหเ้ หมาะสมกบั ลักษณะกายภาพของพืน้ ที่ ท่มี ีแหลง่ รับซอื้ ผลผลิต โดยสนับสนุนใหใ้ ชภ้ มู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ เพ่ือรองรบั ต่อสภาพภมู ิศาสตรท์ ่เี ปล่ียนแปลงไป 4.2 ขอ้ เสนอแนะ 4.2.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการปรบั เปลยี่ น การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรระดับจังหวัด เพื่อให้เป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและ มาตรการสนับสนุนในการปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ไม่เหมาะสมตามแผนที่ (Agri-Map) เป็น สนิ ค้าทางเลือก ขับเคล่ือนแนวทางพฒั นาด้านการเกษตรจังหวัด จาเป็นที่จะต้องมีการจัดทาแนวทางพัฒนาให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับศักยภาพและผลตอบแทนพื้นที่ และการกาหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) ซึ่ง
79 จากการวิเคราะหส์ ถานการณจ์ ากอดีตสู่ปัจจบุ ัน ประเมินศักยภาพของภาคเกษตรของจงั หวดั ปราจีนบรุ ี ทาให้มี กรอบทิศทางหรือแนวทางการพัฒนาสินค้าการเกษตรท่ีสาคัญ คือ ข้าวและพชื ทดแทนข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม ในการปลูกข้าว โดยมีแนวทางพัฒนา ดงั นี้ การขับเคลื่อนแนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค้าเกษตร (Zoning) ของจังหวัด ปราจนี บรุ ี กลไกการขบั เคลื่อนในรูปแบบการบรู ณาการภารกิจ โดยมีหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยหลัก สานักงานเกษตรจังหวัด กรมพัฒนาท่ีดิน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด ชลประทาน และหน่วยงานอ่ืน ๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นศูนย์กลางการบูรณาการทกุ ภาคสว่ นเพ่ือ ขับเคล่ือนนโยบายดังกล่าว โดยให้ทุกหน่วยงาน หรือเจ้าภาพของแต่ละกิจกรรม ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายและยุทธศาสตรท์ ก่ี าหนดไว้ และต้องตดิ ตามประเมินผลการดาเนินงานดังกลา่ วดว้ ย แนวทางการพฒั นาสินคา้ เกษตรจังหวดั ปราจนี บุรี การจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าเกษตรสินค้าที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว และพืชทดแทนข้าวในพื้นที่ ปลูกข้าวไม่เหมาะสม กระบวนการการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และเกษตรกรโดย ยดึ การผลิตสินค้าเกษตรใหต้ รงกับความเหมาะสม และปรบั เปลี่ยนพ้ืนท่ีปลูกในเขตพ้ืนทที่ ี่ไมเ่ หมาะสม (N) โดย มีต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนท่ีได้จัดเก็บข้อมูลในพ้ืนท่ี โดยมุ่งหวังให้ผลผลิตสินค้าเกษตรของจังหวัด ปราจีนบุรี มีคุณภาพและมาตรฐาน แผนไปสู่การปฏิบัติเน้นการจัดทาโครงการ จัดสรรงบประมาณและการ พัฒนาสินค้าให้เหมาะสมกับศักยภาพพ้ืนที่ ตลอดจนให้ความสาคัญกับการนาผลงานวิจัย วิชาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาปรับใช้ เพ่ือศักยภาพสินค้าตามความเหมาะสมและเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานไปสู่ ความสาเร็จในการขับเคล่ือนแนวทางพัฒนาดังน้ี 1. แนวทางพัฒนาสินค้าเกษตรในเขตพืน้ ทีค่ วามเหมาะสม (S1 และ S2) ในการปลกู ข้าว การส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรท่ีมีศักยภาพในพื้นที่ดังกล่าว ให้มี ประสิทธิภาพย่ิงขึ้น โดยการจัดระบบบริหารจัดการการผลิตที่สอดคล้องเหมาะสมกับศักยภาพของพ้ืนที่นั้น ๆ โดยมกี ระบวนการพัฒนาระบบการผลติ ดงั น้ี (1) การปรับปรุงประสทิ ธภิ าพการผลติ ในกลุ่มเกษตรกรผู้ผลติ เมล็ดพันธุ์ (Seed) สนับสนุนเมล็ดพนั ธ์ุดี และใชเ้ มล็ดพนั ธ์พุ นื้ เมืองท่เี ป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด (2) การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าว ส่ิงท่ีต้องดาเนินการ ได้แก่ การ สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ สารชีวภัณฑ์ สนับสนุนการผสมป๋ยุ ใชเ้ องตามค่าวิเคราะห์ดิน เพอ่ื ลดต้นทนุ การผลิต เป็นต้น (3) การปรับปรงุ ประสิทธิภาพการผลิต โดยวิธีการส่งเสริมการลดต้นทุนการผลติ ข้าว ด้วยการส่งเสริม การลดต้นทนุ ตอ่ ไร่ (4) ส่งเสริมการผลิตตามระบบการส่งเสริมแบบแปลงใหญ่ และสนับสนุนเคร่ืองจักรกล ในพื้นที่ เป้าหมายแปลงใหญ่ (5) สนับสนุนการตรวจวเิ คราะห์ดนิ รายแปลง (6) การปรบั รปู แบบแปลงนา ลกั ษณะท่ี 2 ตามกรมพฒั นาทีด่ นิ เชน่ การปรบั รปู แบบคันนา การปรับ พ้ืนทน่ี า (7) ส่งเสริมสนบั สนุนการปลูกพืชหมนุ เวยี น ป๋ยุ สด เพ่มิ ความอุดมสมบูรณ์ของดนิ
80 (8) การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตโดยการส่งเสริมงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการผลิตข้าวในพ้ืนท่ีเพื่อ นามาประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ศักยภาพของพนื้ ที่ (9) การสง่ เสรมิ ใหม้ สี ินคา้ เฉพาะ (Niche Market) (10) ส่งเสรมิ /สนับสนนุ การแปรรูปผลผลิตเพ่ือเพิ่มมูลค่า (11) สง่ เสรมิ การใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยีมาใช้ในการผลติ เพ่อื ลดตน้ ทุน และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ (12) การส่งเสริมการพัฒนาการผลิตในพ้ืนที่ปลูกข้าวที่มีศักยภาพ โดยการปรับปรุงดิน และการ เชื่อมโยงระบบชลประทานในพื้นท่ีที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เพื่อเพ่ิมศักยภาพเป็นพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก (S1) 2. แนวทางพัฒนาสนิ คา้ เกษตรในเขตพ้นื ท่ไี ม่เหมาะสม (N) ในการปลูกขา้ วใหเ้ ป็นกจิ กรรมทีใ่ ห้ ผลตอบแทนดกี วา่ เป็นการดาเนินการในพื้นท่ีเหมาะสมสาหรับพ้ืนที่ที่ไม่มีความเหมาะสม (N) ในการปลูกข้าว พื้นที่ปลูก ไม่เหมาะสม จานวน 45,640 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 7.08 ของพ้ืนที่ปลูกข้าวทั้งหมด โดยพ้ืนท่ีไม่เหมาะสมใน การปลูกข้าว (N) กระจายไปอยู่อาเภอกบินทร์บุรี 35,544 ไร่ คิดเป็น 77.88% อาเภอศรีมหาโพธิ 4,897 ไร่ คิดเป็น 10.73% อาเภอนาดี 3,361 ไร่ คิดเป็น 7.36% อาเภอเมือง 712 ไร่ คิดเป็น 1.56% อาเภอประจันต คาม 570 ไร่ คิดเป็น 1.25% อาเภอศรีมโหสถ 556 ไร่ คิดเปน็ 1.22% ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในแต่ละภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเกษตรกร มีมติเห็นชอบการเชื่อมต่อจากโครงการ เมืองสมุนไพร (Herbal City) ซึ่งจังหวัดปราจีนบุรีเป็น 1 ใน 4 จังหวัดนาร่องตามแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วย สมนุ ไพรไทย พ.ศ.2560-2564 ของกระทรวงสาธารณสขุ รวมทั้งเป็นจังหวดั นาร่อง \"ปศุสัตว์สมนุ ไพร\" ของกรม ปศุสัตว์ในการนาสมุนไพรเป็นอาหารและยาใหส้ ัตว์โดยเริม่ ท่ี ไก่ไข่ เป็ดไข่ ดังนั้น สศท.6 จึงแนะนาให้นาข้อมูล เหลา่ นี้ประกอบการตัดสนิ ใจในการปรบั เปล่ียนพื้นที่นาขา้ วและมนั สาปะหลังไมเ่ หมาะสม โดยเนน้ ปลูกสมุนไพร ในโซนเหนือบริเวณที่ราบเชิงเขา อ.นาดี อ.กบินทร์บุรีบางส่วนเพ่ือจัด Zoning สมุนไพรที่ปลอดภัยมี ผลตอบแทนสูงมีตลาดรองรับ ส่วนตอนกลางของพ้ืนที่เน้นการเล้ียงสัตว์สมุนไพร เป็ดไข่ ไก่ไข่ ไก่เน้ือ ประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยสมุนไพรเป็นอาหารสัตว์สู่ปศุสัตว์สมุนไพร แทนการใช้ยาปฏิชีวนะ รวมท้ังใช้นวัตกรรม แปรรูปข้าวท้องถ่ินโดยชูจุดเด่นที่มีสารอะมิโลสสูงเพิ่มมูลค่าเป็นเส้นก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ ขนมจีน และควรมี โรงงานแปรรูปรองรับหรือปรับสู่วิถีโรงสีข้าวชุมชน หรือหากมีปริมาณน้าเพ่ิมจากอานิสงส์โครงการอ่างเก็บน้า นฤบดินทรจินดา จะเพิ่มพื้นท่ีชลประทานได้อีกกว่า 1 แสนไร่ ในปี 2563 จะทาให้พื้นท่ีนาไม่เหมาะสมลดลง แต่ท้ังนี้ ภาคเกษตรกรมีความกังวลห่วงใยเรื่องการปล่อยน้าเสีย มลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมสู่แม่น้าสาย หลักในระยะยาวจะเกิดปัญหา ซ่ึงภาคอุตสาหกรรมจะต้องดูแลควบคุมมาตรฐานโรงงานเพราะเขตเกษตร เศรษฐกิจทีผ่ ลติ อาหารได้รบั ผลกระทบโดยตรง การปรับเปลี่ยนเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีเหมาะสมแทนการปลูกข้าว ได้แก่ การปรบั เปลีย่ นพื้นท่ีเพ่ือปลูกพืช ท่ีมีผลตอบแทนในการลงทุนดีกว่า ได้แก่ ไก่เน้ือ ปลานิล หญ้าเนเปียร์ พืชสมุนไพร เช่น หญ้าหนวดแมว ทองพนั ชงั่ เป็นต้น 2.1) สนับสนุนการปรบั เปลีย่ นจากข้าวในพน้ื ที่ไมเ่ หมาะสม (N) เป็นเกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎี ใหม่ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง การสนับสนุนการศึกษาความเป็นไปได้และผลตอบแทนการลงทุนในการเปล่ียนจากข้าวในพื้นท่ีไม่ เหมาะสม (N) เป็นเกษตรผสมผสาน หรอื สวนผสม เนื่องจากเกษตรกรปลูกข้าวต้นทุนสูง ราคาข้าวตกต่า พ้ืนท่ี ทานาไม่เหมาะสม ผลผลิตได้น้อย ทาให้เกษตรกรขาดทุนจากการปลูกข้าว โดยมีเกษตรกรบางส่วน หันมาทา
81 เกษตรผสมผสาน เพ่ือลดความเสย่ี งจากการปลกู พืชเชิงเด่ียว ช่วยลดต้นทุน ลดปจั จยั การผลิต เช่น ปุ๋ย อาหาร สัตว์ โดยเกษตรกรหันมาปลูกพืชอ่ืน ๆ ท่ีให้ผลตอบแทนสูง ปรับเปลี่ยนได้ (พื้นที่ตนเอง) เช่น พืชผัก (มะเขือ พวง กระเพรา ข่า ตะไคร้ เป็นต้น) พืชไร่ และไม้ผลหรือไม้ยืนต้น (มะนาว มะพร้าว กล้วย ไผ่ อ้อยคว่ัน เป็น ต้น) การผลิตข้าวเพื่อบริโภคในครัวเรือน ปลูกพืชหลังนาที่เหมาะสมกับพื้นท่ี และให้ผลตอบแทนสูง เพื่อสร้าง รายได้ โดยมีการเลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ไข่ ไก่ชน เป็ด หมูป่า ปลานิล ปลาทับทิม วัว ควาย เป็นต้น และมีการปลูก หญ้าเนเปียรเ์ พือ่ ทาเป็นอาหารสัตว์ ช่วยลดต้นทุนคา่ อาหารสตั ว์ โดยท่ีเกษตรกรแบง่ พน้ื ทีเ่ ปน็ ส่วน ๆ เป็นแหล่ง น้า 30% ที่อยู่อาศัย 10% นาข้าว 30% สวน ไร่ ปศุสัตว์ 30% พร้อมท้ังยังปลูกพืชบารุงดิน เช่น ปอเทือง ถ่ัว โดยที่เกษตรกรมีโรงสีเล็กเพ่ือสีข้าวไว้บริโภคเองในครัวเรอื น และยังสามารถนาราข้าว มาเป็นอาหารสัตว์ ส่วน แกลบก็สามารถนามาทาเปน็ ปุ๋ย โดยมีการสนับสนุนปัจจัยการผลิต เมล็ดพันธ์ุ ต้นพันธุ์ วัสดุ อุปกรณ์ ตามความจาเปน็ มีการอบรมถา่ ยทอดความรู้ให้การทาเกษตรรปู แบบใหม่ การสนบั สนนุ สินเชื่อ 2.2) สนับสนนุ การปรบั เปลย่ี นจากขา้ วในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เป็นปศสุ ัตว์ ได้แก่ ไกเ่ น้อื ปลานลิ เนื่องจากต้นทุนและผลตอบแทนของไก่เนื้อ ปลานิล ได้ผลตอบแทนท่ีดีกว่าการปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่ เหมาะสม (N) ถึงแม้จะมีการลงทุนท่ีสูงกว่า แต่การลงทุนสร้างโรงเรือน การขุดบ่อปลา สามารถอยู่ได้ในระยะ ยาว และบอ่ ปลาสามารถนากุ้งมาเลี้ยงรวมกนั ได้ทาให้เกษตรกรมรี ายไดเ้ พม่ิ ข้ึน การสนับสนุนปัจจัยการผลิตในการปรับเปล่ียนเพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจและลดภาระ ค่าใช้จ่าย เช่น คา่ ลกู พันธุ์ คา่ ใชจ้ า่ ยเบือ้ งต้นในการผลติ เชน่ สนบั สนุนค่าอาหาร คา่ วัคซนี ค่ายารักษาโรค อปุ กรณส์ รา้ งโรงเรอื น การสนับสนนุ หลกั ประกนั ในการปรับเปลยี่ นตามความจาเป็น เช่น การประกนั ภยั พชื ผล การสนับสนุนสินเชอ่ื 2.3) สนับสนุนการปรับเปลี่ยนจากข้าวในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) เป็นสมุนไพร ได้แก่ หญ้าหนวดแมว ทองพนั ชงั่ หญ้าปกั ก่ิง ใบชะพลู ว่านสาวหลง อัคคีทวาร เป็นต้น โดยได้ผลตอบแทนท่ีดีเม่ือเทียบกับข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) อีกท้ังการปลูกสมุนไพรยังมีตลาด รองรับทแ่ี นน่ อน คือ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร มารับถึงสวน หรือจะไปสง่ ท่ีโรงพยาบาล การสนับสนุนปัจจัยการผลิตในการปรับเปลี่ยนเพ่ือเป็นการสร้างแรงจูงใจและลดภาระ คา่ ใช้จ่าย เชน่ คา่ พันธุ์ คา่ ใชจ้ ่ายเบ้ืองตน้ ในการผลิต การแปรรูปเพ่ิมมูลค่า การสนับสนุนเครื่องจักรกลขนาดเล็ก เช่น เคร่ืองตัด เคร่ืองอบ หรือ โรงเรือนเพ่อื ไว้ใชต้ ากสมุนไพรแห้ง การสนบั สนุนสนิ เชอ่ื สรปุ พืน้ ท่ีเปา้ หมายการปรบั เปลยี่ นสินค้าเกษตรทสี่ าคญั (Top 4) จังหวดั ปราจีนบรุ ี สินค้าข้าว ในพ้ืนท่ไี ม่เหมาะสม (N) ปรบั เปลยี่ นเป็น ไก่เนอื้ พื้นทเี่ ป้าหมาย - อาเภอเมือง - อาเภอกบินทรบ์ รุ ี - อาเภอศรมี โหสถ
82 สินคา้ ขา้ ว ในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) ปรบั เปลย่ี นเปน็ ปลานิล พน้ื ท่เี ปา้ หมาย - อาเภอบ้านสร้าง - อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี - อาเภอเมือง - อาเภอศรีมโหสถ สินคา้ ขา้ ว ในพน้ื ท่ีไม่เหมาะสม (N) ปรบั เปลย่ี นเปน็ พชื สมุนไพร พนื้ ท่เี ป้าหมาย - อาเภอเมือง 4.2.2 มาตรการจากภาครัฐเพอ่ื สนับสนนุ ใหม้ ีการปรับเปลย่ี น การปรบั เปล่ียนพ้ืนทไี่ ม่เหมาะสมในการปลูกข้าว (N) ตอ้ งให้เกษตรกรคอ่ ย ๆ ปรบั เปลี่ยน โดยเปน็ การ เริม่ ปรบั เปล่ยี นจากการแบ่งพ้ืนที่ 3-5 ไร่ เพ่ือปรบั เปลย่ี น โดยแบ่งเป็น การปลกู พชื สมุนไพร เชน่ หญ้าหนวดแมว ทองพันชัง่ หญ้าปักก่งิ ใบชะพลู ว่านสาวหลง อัคคีทวาร เป็นตน้ การปลูกพชื ผกั สวนครัว เชน่ มะเขือพวง กระเพรา ข่า ตะไคร้ การปลกู พชื หลงั นา ใช้นา้ น้อย เชน่ พรกิ การปลูกไมย้ นื ตน้ เชน่ มะนาว มะพร้าว กล้วย มะยงชดิ ฯลฯ การเลยี้ งสัตว์ เชน่ ไกไ่ ข่ เป็ด ปลา หมปู ่า วัว ควาย เป็นต้น การปลกู หญา้ เนเปียร์ เพอ่ื เป็นอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์และปลูกหญ้าเนเปียร์มาเป็นอาหารสัตว์เพ่ือลดปัจจัยเร่ืองต้นทุนค่าอาหาร อีกท้ังยังนา มลู สัตว์ท่ีเล้ียงมาเป็นปุ๋ยสาหรบั พืชและบารุงดินได้อีกด้วย และพืชบางชนิดกส็ ามารถเป็นอาหารสัตว์ โดยวงจร การทาเกษตรผสมผสาน เป็นการเพ่ิงพาอาศัยกัน สามารถนาผลผลิตมาบริโภคเองไดใ้ นครัวเรือนและเป็นรายได้ ให้กับเกษตรกร เกษตรผสมผสานจึงเป็นทางออกให้กับเกษตรกรจังหวัดปราจีนบุรี ท่ีสามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง โดยพ่ึงพาตนเองไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยภายนอกที่เกษตรกรควบคุมไม่ได้ และไม่ต้องรับความเสี่ยงจากการปลูกพืช เชิงเด่ียวอย่างเดียว ท่ีต้นทุนสูง และราคาตกต่า ส่งผลให้เกษตรกรขาดทุน การทาเกษตรผสมผสานจึงเป็น ทางเลอื กและทางออกให้กับเกษตรกร ใหม้ อี าหารไวบ้ รโิ ภคในครวั เรือนและสามารถสร้างรายไดต้ ลอดปี ความต้องการการสนับสนุนจากภาครัฐในการปรับเปลี่ยนพน้ื ที่ไม่เหมาะสมในการปลกู ข้าว (N) มาเป็น พชื อ่ืนในพืน้ ทจ่ี ังหวัดปราจนี บุรี (1) การสนับสนุนปัจจัยการผลิต วสั ดุ อุปกรณ์ ตามความจาเปน็ (2) การสนบั สนุนปัจจยั การผลติ ในการปรบั เปลี่ยนเพ่ือเปน็ การสร้างแรงจงู ใจและลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ย เชน่ คา่ เมลด็ พันธุ์ คา่ ตน้ พันธุ์ ค่าใช้จ่ายเบือ้ งต้นในการผลติ (3) การสนบั สนนุ การปรบั รูปแบบแปลงนา ลักษณะที่ 2 ตามแบบของกรมพัฒนาทดี่ นิ (4) การสนับสนุนหลักประกนั ในการปรบั เปลีย่ นตามความจาเปน็ เชน่ การประกนั ภยั พืชผล หรือเงินชดเชย (5) การอบรมถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกร (6) การสนบั สนุนการรวมกลุ่มเกษตรกร (7) การสนบั สนุนตลาดเกษตรกร (8) การสนบั สนนุ สินเชื่อใหเ้ กษตรกร
83 บรรณานุกรม กรมพัฒนาทด่ี ิน. 2560. ข้อมูล Agri-Map [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://agri-map- online.moac.go.th/login (วันท่สี บื ค้นข้อมลู มีนาคม 2560). ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2551. ข้อมูลเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี. กรงุ เทพมหานคร สถานีพฒั นาทด่ี นิ ปราจนี บุรี. 2560. ขอ้ มูลดินจังหวัดปราจนี บุรี. ปราจนี บรุ ี สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2553. ยทุ ธศาสตรแ์ นวทางการพัฒนามันสาปะหลังจังหวดั ชลบรุ ี. กลุ่ม แผนพฒั นาเขตเศรษฐกิจการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 6. สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. แนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสาหรับสินค้าที่สาคัญ (Zoning) อาเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี. สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6. สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2559. แนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสาหรับสินค้าที่สาคัญ (Zoning) อาเภอเมือง จังหวดั ตราด. สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2559. แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรท่ีสาคัญอาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบรุ ี. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 ส่วนแยกจงั หวัดฉะเชิงเทรา.
ภาคผนวก
Search