44 เรือ่ งท่ี 1 การวิเคราะหทาํ ความเขาใจและรูจักตัวตนทแ่ี ทจ ริง ลกั ษณะบงช้คี วามสําเรจ็ ของการเรียนรู 1. รจู กั และจําแนกองคประกอบตวั ตนที่แทจ รงิ ของตนเองได 2. บอกหนาทอ่ี งคประกอบของตัวตนได แผนปฏบิ ตั ิการเรยี นรู ลักษณะบง ชีค้ วามสาํ เรจ็ กิจกรรม การวดั ผล ประเมินผล ส่ือการเรยี นรู ของการเรยี นรู 1. รจู ักและจําแนก เรยี นรูดว ยตนเอง ความเขา ใจองคประกอบ เอกสารหมายเลข 9 องคประกอบตวั ตน 1. ใหผเู รียนศกึ ษาเอกสาร รวมในตวั ตนของเรา ใบความรเู รือ่ งตัวตนที่ ที่แทจ ริงของตนเองได ใบความรู เรื่องตัวตนที่แทจริง แทจ รงิ ของตนเอง ของตนเองใหเ ขาใจ 2. บอกหนา ทีอ่ งคประกอบ 2. ใหผ เู รียนวเิ คราะห บอกหนาที่และ ตัวตนของตนเองได ความเขา ใจตวั ตน ตามเอกสาร ปรากฏการณค วามคิดตอ ใบความรอู ยางเครงครดั องคประกอบตวั ตนที่ 3. ประเมนิ ตนเองวา ความรทู ี่เกดิ แทจ ริงของตนเองได จากใจของตนเองเปนจรงิ หรอื ไม
เอกสารหมายเลข 10 : ใบความรู เรอื่ ง ตวั ตนทีแ่ ทจ ริงของตนเอง 45 กรอบแนวคิด 2 ตัวตนของเราประกอบดวย กายและใจ 3 ความรูส ึก 1 รปู กาย ใจ ความจาํ ได หมายรู การคดิ ปรงุ แตง 4 การรบั รู 5 โครงสรา งของตัวตนทแี่ ทจรงิ มีการทาํ งานท่ีสอดประสานกันท้ังทางบวกและทางลบท่ี ทําใหค นเรามีความแตกตางกัน คนท่ีประสบความสําเร็จมักจะเปนบุคคลท่ีมีความสามารถควบคุมกาย และใจใหอยกู ับสมมติคานิยมของสังคมชุมชนได ผูท่ีไมสามารถควบคุมไดมักจะเปนบุคคลท่ีตกอยูใน สภาพคลอยตามความอยากของกายและใจ พึ่งพาตนเองไดจากความคิดดังกลาวอาจสรุปไดวา องคป ระกอบท้ัง 5 ประการนี้ สามารถพัฒนายกระดบั คณุ คาขึน้ ไดด วยตนเองดวยการเรียนรูทําความรูจัก และรูเทา ทันตลอดเวลา รูปกาย เปน องคประกอบของอวัยวะตาง ๆ ท้ังภายนอกและภายใน ทําหนาท่ีสอดประสานกัน พรอ มทํางานตามที่ใจสงั่ การ โดยคณุ ภาพของการกระทําเปนตวั บง ช้สี มรรถภาพทางใจ ความรูสกึ เปน องคป ระกอบแรกของใจท่ีจะตอบสนองออกมาเปนความรูสกึ พอใจ ความรูสกึ เฉย ๆ และความรสู ึกไมพ อใจตอสภาวะแวดลอ มทเ่ี ปนอยู ชอบ – สุข – พึงพอใจ ความรสู ึก เฉย ๆ ไมช อบ – ทกุ ข – โกรธ
46 ความจําไดหมายรู เปนองคประกอบของใจที่ทําหนาที่จดจําหรือลืมความรูสึกตาง ๆ ที่กระทบเขามาทั้ง ทางบวกและทางลบ ชอบ – สขุ – พงึ พอใจ จําได หมายรู จาํ ได ไมชอบ – ทุกข – โกรธ จาํ ไมไ ด การคิดปรุงแตง เปน องคประกอบของใจ ทําหนา ท่ีคดิ ปรุงแตงสรางสรรคอ อกมาเปน ทางบวกหรือทางลบ ปรงุ แตง เชงิ บวก คิดปรงุ แตง ปรุงแตงเชงิ ลบ การรบั รู เปนองคประกอบสุดทายที่ทําหนาที่รับรูจากการเห็น การไดยิน การไดกลิ่น การรูรส และการสัมผัส การเหน็ การรบั รู การไดยิน การไดกล่ิน การรูร ส การสมั ผสั ปฏิบัตกิ ารวเิ คราะหทําความเขา ใจตัวตน จากความเขาใจในองคประกอบของตัวตนท่ีแทจริง เปนความเขาใจแบบรูจําได แต ความรู ความเขาใจตองเกดิ จากภายในตัวตนที่แทจ ริงของเราดวยตนเอง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. องคประกอบทีเ่ ราจะเรยี นรตู นแบบดา นการนกึ คิดตรึกตรองจากตวั เราเอง คอื 1.1 ความรูสกึ 1.2 การจาํ ได หมายรู 1.3 การคิดปรุงแตง 1.4 การรับรู 2. การเตรียมการ ควรใชส ถานท่ีสงบ สภาพอากาศสิ่งแวดลอ มสบาย ๆ มสี ่งิ รบกวนนอย 3. วิธกี าร
47 3.1 ความรสู กึ ใหผ ูเรียนมองสภาพแวดลอม (กลมุ คน ตน ไม ทศั นียภาพ) เมือ่ สายตา กระทบสิ่งสนใจใจเราจะเกิดความรสู ึกชอบ – ไมช อบ หรอื เปน ความสขุ – ความทุกข หรอื พงึ พอใจ – โกรธ หรอื วา เฉย ๆ ใชห รอื ไม ทําหลาย ๆ กรณี ใจเรามคี ําตอบใหเ ราวา ส่ิงกระทบนร้ี ูสกึ อยา งไร เชน รูสึกชอบ พอใจ จากน้ัน ก็เปรยี บเทยี บไปฟงเสยี งตาง ๆ ท่จี ะเกิดขึน้ วา มคี วามรูสกึ เชน เดียวกับการมองหรอื ไม 3.2 การจาํ ได หมายรู ใหผ ูเรียนนกึ ถึง บุคคล เหตุการณที่เราพึงพอใจ หรือไมพอใจ เราจะนกึ เหน็ เปนภาพในใจ ปรากฏการณน ้นั เปนสงิ่ ที่เรามคี วามจาํ ไดห มายรู 3.3 การคดิ ปรงุ แตง ใหผูเ รียนมองหรอื ฟง เสียง บคุ คล สถานท่ี สิง่ แวดลอมตาง ๆ จะ เกดิ ความรสู ึก จากนั้นปรงุ แตงตอไปวา ส่ิงที่คดิ นั้น จะเปน ทางบวกหรือทางลบ ปรากฏการณน้จี ะเปนการ นําส่ิงท่ีรับรูมาประมวลกับประสบการณเดิม ผลการปรุงแตงมักจะอาศัยความจําไดหมายรูของ ประสบการณเ ดิม 3.4 การรับรู ใหผูเรียนสังเกต การมอง การฟงของตนเอง จะเปนกระบวนการ ตอ เนอื่ ง ตารบั รูภาพ การจําไดหมายรจู ะประมวลใหใ จบอกตนเองวา คืออะไร 4. สรุปปรากฏการณของตนเอง ทําเปน เชนนี้หรือไม 4.1 รูจ ักเขาใจอยางกระจา งเกีย่ วกบั องคประกอบทางใจของตวั เราเอง 4.2 องคประกอบทางใจสามารถฝกใหตอบสนองออกมาทางบวก หรือทางลบได โดย ใชกรณศี ึกษาทเี่ ปน จริงในสภาวะแวดลอ มของเราเปนเครือ่ งมือในการเรียนรู 4.3 ถาใจเราตอบสนองออกมาเชิงบวกมาก ๆ เราสามารถพัฒนาตนเองอยูกับอาชีพ สังคม ส่ิงแวดลอมตาง ๆ ไดอ ยา งย่งั ยืน กจิ กรรมที่ 7 ใหผูเรยี นวิเคราะหค วามเขา ใจ ตวั ตนตามเอกสารใบความรูและประเมินตนเองวาความรูท่ีเกิดจากใจ ของตนเองเปน จริงหรอื ไม
48 เรื่องที่ 2 การพัฒนาทักษะการขยายอาชีพใหเปนลกั ษณะนสิ ยั ลักษณะบง ชี้ความสําเรจ็ ของการเรียนรู 1. สามารถพฒั นาใชชอ งทางการรบั รู และกระบวนการตอบสนองการรบั รูได 2. สามารถพัฒนาทักษะการขยายอาชพี และอืน่ ๆ ที่มคี ณุ คาใหเ ปนลักษณะนิสยั ได แผนปฏิบตั ิการเรยี นรู ลกั ษณะบง ชค้ี วามสาํ เรจ็ กิจกรรม การวดั ผล ประเมินผล ส่ือการเรยี นรู ของการเรยี นรู 1. สามารถพัฒนาใชชอ ง ใหผ เู รียนศกึ ษาทําความเขา ใจ - ชอ งทางการรับรูทาง เอกสารหมายเลข 10 ทางการรบั รแู ละ เก่ยี วกบั ชอ งทางการรับรู และ ตาและหู ใบความรูเรือ่ งการ กระบวนการ กระบวนการตอบสนองการรับรู - กระบวนการตอบสนอง พฒั นาทกั ษะการขยาย ตอบสนองการรับรูได จากเอกสารใบความรู การรับรู อาชพี ใหเ ปนลักษณะ นสิ ยั 2. สามารถพฒั นาทักษะ 1. ใหผ ูเรียนทําความเขา ใจระบบ การขยายอาชีพและ การพฒั นาส่ือการรบั รทู ่ีมี อ่นื ๆ ทีม่ คี ณุ คา ใหเ ปน คุณคาใหเปนลักษณะนิสัย ลกั ษณะนิสยั ได 2. ปฏิบัติการวิเคราะหแ ละพัฒนา - ผลการวเิ คราะหแ ละ ทักษะการขยายอาชีพใหเปน พฒั นาทกั ษะการขยาย ลักษณะนสิ ัย อาชพี ใหเ ปน ลักษณะ นิสัย
49 เอกสารหมายเลข 11 : ใบความรู เรอื่ ง การพฒั นาทกั ษะการขยายอาชพี ใหเ ปนลักษณะนสิ ยั ความคิดรวบยอด การสรางลักษณะนิสยั ใหกับตนเอง เปดชองทางการรบั รู ตวั ตน ใชก ระบวนการ ตอบสนองการรบั รู - ความรทู กั ษะ ตา – รเู ห็น ขอมลู สมอง เกิด พอใจเห็นคณุ คา - ประมวลผล ในอาชีพ หู – รูฟง ความรสู กึ เฉย ๆ ตัดสนิ ใจ - สงิ่ มคี ณุ คาตอชีวิต จมูก – รูกลิ่น ไมช อบ - ทาํ จนมคี วาม จําได ชํานาญยึดติด หมายรู จาํ ได เปน ลกั ษณะนสิ ยั ไมจ าํ ปาก – รรู ส นึกคดิ คดิ สรา งสรรคเชงิ บวก กาย – รสู ัมผสั ปรงุ แตง คดิ เชงิ ลบ จากแผนภูมิ บอกภาพคิดรวบยอดไดวา การสรางลักษณะนิสัยใหเกิดในตนเอง ตองเริ่มตนท่ี ปจจยั นําเขา คอื ความรูทกั ษะในอาชพี หรือส่งิ ที่มีคุณคาตอชีวิต จากน้ันกระบวนการสรางลักษณะนิสัย จะเรม่ิ ตนที่ตวั ตนของเราตอ งเปดชองทางการเรียนรู ไดแก การมอง การรับฟง การรูกลิ่น การรูรส และ การรสู ัมผสั ชองทางเหลานี้จะทําใหเราไดขอมูล ขอมูลเหลานี้จะถูกนําเขามาสูกระบวนการตอบสนอง การรบั รูท ่เี ร่มิ ตนจากสมองรับขอมูลเขามาสูองคประกอบดานความรูสึกจะรับรูและแสดงออกในความ พอใจ (เฉย ๆ หรือไมพ อใจ กจ็ ะหลดุ ออกไป) สงตอ ไปยงั องคประกอบดานการจําได หมายรู จะประมวลวา มีความจําอะไรทเี่ กี่ยวของจะตอบสนองแสดงออกจําไดเหน็ ความสําคัญ (จําไมได สาระที่เขามาก็จะหยุดลง หรือหลุดออกไป) แลวสงตอไปยังองคประกอบดานนึกคิดปรุงแตง จะประมวลคิดสรางสรรค เปน สงิ่ ใหมห รือแนวทางการทาํ งาน ดงั นั้น ถาเราไดย อ นกลบั มาเรม่ิ ตนใหมอีกครั้ง เราจะพบวากระบวนการ ตอบสนองการรบั รู จะทาํ งานอยางรวดเร็ว ถา ทําซํ้าอีก อตั ราความเรว็ ในการตอบสนองจะรวดเร็วข้นึ โดย ลาํ ดับจนตวั ตนติดยึด ถา จะทาํ อะไรเก่ียวกับเรือ่ งนจ้ี ะตอบสนองอยางเปนอตั โนมัติหรือเปนลกั ษณะนสิ ยั
50 วธิ ีการสรางลักษณะนสิ ัย ตอบสนองการเรียนรู เปด ชอ งทางการเรยี นรู บนฐานทม่ี อี คตนิ อ ยทส่ี ุด อยา งมวี จิ ารณญาณ 1. ตารูเ ห็น มองวเิ คราะห 1. ความรูสกึ 2. จาํ ได หมายรู 3. คิดปรุงแตง - ดาํ รงงานอาชพี วิเคราะหใหเ ห็นโครงสรา ง เม่ือรับรแู ลว จาํ สง่ิ ท่รี ูส ึกชอบ สิง่ ท่รี เู หน็ รบั วา ขยายให โครงสรา งหลกั และ เกิดความรูสกึ ไมชอบเกย่ี วขอ งกบั มคี วามสาํ คัญ ความม่ันคง ความสมั พันธเชอ่ื มโยง ชอบ ไมช อบ อะไร อยา งไร จงึ สรางสรรค - ดํารงสงั คม ไปยงั องคป ระกอบตาง ๆ บนฐานของใจ สําคญั แคไ หน ใหคณุ คาสูงขึน้ อยางสันติสขุ สรุปเปนความรู ทมี่ อี คตนิ อ ยที่สุด 2. หูฟง ฟงอยา งจบั ประเดน็ เช่อื มโยง ความสัมพันธ ระหวา งประเดน็ สรปุ เปน ความรู จากแผนภูมิ จะพบวา เคร่อื งมือสําคญั ของการสรา งลกั ษณะนิสัย คือ (1) ความมวี จิ ารณญาณ และ (2) การควบคมุ อคติภายในตนเองใหล ดนอ ยท่ีสดุ จึงเปน ตวั ผันแปรตอการสรางลักษณะนิสยั 1. การเปด ชองทางการเรียนรู โดยผา นทางดวงตา หูฟง จมูกรกู ลน่ิ ล้นิ รูรส กายรูสัมผัส ตวั เราจะตองรวบรวม สบื คนขอมูลใหล ะเอียดรอบคอบอยางมีวิจารณญาณ โดยเฉพาะสิ่งรับรูที่เปนทาง ธรรม คอื การรับรส การรบั กลนิ่ และการรับสัมผสั จะตอ งแยกคุณลกั ษณะท่ีโดดเดน และคุณลักษณะรอง และผลกระทบใหช ดั เจน ตัวอยาง การชิมนํ้าทับทิมเปนรปู ธรรมและนามธรรม 1. รูปธรรม สีของนา้ํ ทับทมิ สแี ดงสดใส กระทบกบั ความรสู ึกรา เริง 2. นามธรรม (1) รสฝาด ทาํ หนาเปร้ียวตามมาและอมหวานในตวั ใหค วามรูสกึ ม่ันคง (2) กล่ินนาํ ออกมาตอนแรกเปน กลน่ิ ของดอกการเวก หอมสดใส เม่อื ลมหายใจ สะทอนกลบั มาเปน กล่นิ ออ นโยนคลายดอกกุหลาบ ทาํ ใหจิตใจ สดช่ืนและ อบอุน ตวั อยา ง การรับรใู นการชิมน้าํ ทบั ทิม เปน การรายงานขอ มลู อยางมวี ิจารณญาณใหความละเอียด เพียงพอตอ การตอบสนองท่ีมคี วามเทยี่ งตรงตอไปได
51 2. การตอบสนองการรับรู เม่อื ขอมูลจากการรบั รูผ านเขา มาทางสมอง กระบวนการตอบสนองจะทาํ งานทันที โดย 1. ความรูสึก เมื่อขอ มูลเขา มากระทบความรูส กึ จะตอบสนองออกมาวา พอใจ หรอื ไมพอใจ 2. ความจําได หมายรู เมอื่ ขอมูลเขา มาพรอม ๆ กัน องคป ระกอบความจําจะตอบสนองประมวลวา ขอ มลู ใหมเขา มามคี วามเกยี่ วขอ งกบั ขอมูลเกา อะไรบาง 3. การคิด ปรงุ แตง เมือ่ ขอ มูลเขา มาผานขนั้ ตอนความรสู กึ และความจาํ ผลตอบสนองจะกระทบ กบั การคดิ ปรุงแตง ในอนั ทจี่ ะปรุงแตงในทางสรา งสรรคห รือในทางกลบั กนั กระบวนการตอบสนองการรับรดู งั กลา วจะตองเปนกระบวนการที่มีอคตินอยที่สุดหรือไมมีเลย การทําใหอ คตมิ ีนอ ยหรือไมม ีนนั้ สามารถทาํ ไดดว ยการวางจิตใจใหสงบลง คิดไตรตรองอยูกับ กระบวนการตอบสนองการรับรูเพียงอยางเดียว จะเกิดสมาธิใหเราดําเนินการคิดท้ัง 3 องคประกอบไดอ ยา งเท่ยี งตรงมากขนึ้ โดยลาํ ดับ จงึ อาจสรปุ การใชทักษะขยายอาชพี ใหเ ปนลกั ษณะนิสยั ไดด งั นี้ เปด ชองทางการรับรูดา น การอา น ศกึ ษา ความรู ทกั ษะการขยายอาชีพ ปฏิบตั ิการวเิ คราะห เรม่ิ ตนนกึ คดิ ในใจ กระบวนการตอบสนองการรบั รูจะเรม่ิ ระบบทกั ษะการขยาย วิเคราะหระบบอยาง ไปพรอม ๆ กบั การวเิ คราะหระบบอาชพี อาชพี อยางมี เปน ขัน้ เปนตอน วิจารณญาณ ดว ยการ - องคป ระกอบดานความรสู กึ จะเกดิ นกึ รู อยูใ นทีส่ งบใน ในใจวาเห็นดวย หรือไมเ ห็นดว ยกบั การวเิ คราะห อิริยาบถทส่ี บาย ๆ - พรอ มกนั นน้ั องคประกอบดานความจาํ หมายรู ก็จะประมวลประสบการณภูมิหลงั ทีจ่ ําได - ขณะเดยี วกนั องคป ระกอบดา นการคดิ ปรงุ แตง ก็จะนกึ คดิ เหน็ วา ควรสรางสรรค อยางไร แผนภูมิสรปุ ดงั กลาว เปนกระบวนการทางสมาธทิ จ่ี ะสรางใหเรามีทักษะการคิดอยางมี วิจารณญาณและรอบดาน จะทําใหค วามคิดของเราปราศจากอคติ ผลการคดิ วิเคราะห จะมีโอกาสถูกตอง มากข้ึน ถาใชกระบวนการน้ีมีความถี่มากยิ่งข้ึน ตัวตนของเราจะพัฒนาทักษะการทํางานใหเกิดเปน ลกั ษณะนสิ ัยได และปรบั ไปสูส่งิ ใหมที่ดีกวาไดงายใหการคิดมีประสทิ ธภิ าพสงู สงเขาสูภมู ิปญญาในทสี่ ุด
52 กิจกรรมท่ี 8 ใหผูเรียนวิเคราะหและพัฒนาทักษะการขยายอาชีพใหเปนลักษณะนิสัยในอาชีพของตนเอง หรืออาชพี ที่สนใจมา 1 อาชีพ
53 บทท่ี 4 ความหมาย ความสาํ คัญของการขยายอาชพี ผลการเรียนรูท ่ีคาดหวงั อธิบายความหมาย ความสาํ คญั ความจําเปนในการขยายอาชีพใหมีผลิตภัณฑหรืองาน บรกิ าร สรา งรายไดพ อเพยี งตอ การดาํ รงชวี ิต มเี งินออมและมีทนุ ในการขยายอาชพี ขอบขา ยเนือ้ หา เร่ืองที่ 1 ความหมายของการจัดการขยายอาชีพ ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เร่ืองที่ 2 ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพเพ่ือความม่ันคงตามแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง สื่อประกอบการเรียนรู 1. เอกสารหมายเลข 12 ใบความรู เรื่อง ความหมายของการจัดการขยายอาชีพเพ่ือ ความมนั่ คงตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. เอกสารหมายเลข 13 แบบประเมินความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของการจัดการ ขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. เอกสารหมายเลข 14 ใบความรู เรื่อง ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพตาม แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เอกสารหมายเลข 15 ใบความรู เร่ือง การประเมินตนเองเกี่ยวกับการรับไดของ ความสาํ คญั ในการจดั การขยายอาชพี ตามกระบวนการคดิ เปน
54 เรอื่ งที่ 1 ความหมายของการจัดการขยายอาชพี ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ลักษณะบง ชค้ี วามสาํ เร็จของการเรยี นรู 1. บอกความหมายของการจัดการขยายอาชพี 2. บอกความหมายของความม่ันคง 3. บอกความหมายของการจัดการขยายอาชพี เพ่อื ความม่ันคงตามแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง แผนปฏิบัตกิ ารเรียนรู ลกั ษณะบง ชค้ี วามสาํ เรจ็ ของ กจิ กรรม การวัดผล ประเมินผล ส่ือการเรยี นรู การเรยี นรู 1. บอกความหมายของการ อา นเอกสารหมายเลข 11 : ทดสอบความเขา ใจ เอกสารหมายเลข 11 จัดการขยายอาชพี ใบความรู เรอ่ื ง ความหมาย ความหมายของการจดั การ ใบความรู เรอ่ื ง ความหมาย ของการจดั การขยายอาชีพ ขยายอาชีพ เพื่อความมัน่ คง การจัดการขยายอาชพี เพอ่ื เพื่อความมัน่ คงตามแนวคิด ตามแนวคดิ ปรัชญาของ ความมัน่ คงตามแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 2. บอกความหมายของ ประเมินความเขาใจตนเอง ผลการประเมินความเขา ใจใน เอกสารหมายเลข 12 ความมนั่ คง ตามเอกสารหมายเลข 12 กรณีตวั อยา งในเอกสาร แบบประเมนิ ความเขาใจ หมายเลข 12 เก่ียวกบั ความหมายของการ จดั การขยายอาชพี ตาม แนวคดิ ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง
55 เอกสารหมายเลข 12 : ใบความรู เรอ่ื ง ความหมายของการจัดการขยายอาชพี เพอ่ื ความมน่ั คง ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายตามพจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ดงั น้ี 1. การจดั การ หมายถึง กรรมวธิ ีในการสงั่ งาน ควบคุมงาน ดาํ เนนิ งาน 2. ขยายอาชีพ หมายถึง การทาํ ใหการทํามาหากนิ แผกวางออกไป 3. ความม่ันคง หมายถึง เกยี่ วกับการเกดิ ความแนน และทนทานไมกลับเปน อนื่ 4. การจดั การขยายอาชพี เพ่อื ความมั่นคง หมายถงึ กรรมวธิ ีในการควบคุมการดาํ เนินงานทํามาหากินใหแผ กวางออกไปดวยความทนทานไมกลบั เปนอน่ื 5. เศรษฐกิจ หมายถงึ งานเก่ียวกบั การผลิต การจําหนายจายแจกและการบรโิ ภค ใชส อยสิ่งตาง ๆ ของชุมชน 6. พอเพียง หมายถึง เทา ที่ตอ งการ ควรแกค วามตองการ เต็มความตอ งการ 7. ปรัชญา หมายถึง วชิ าดว ยหลกั แหงความรู ความจรงิ 8. เศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หมายถึง หลักแหงความรู ความจริงของงานเกี่ยวกับการผลิต การจําหนายจายแจกและการบริโภคใชสอยส่ิงตาง ๆ ของชุมชน เปน ไปตามตอ งการ ดังน้ัน การจัดการขยายอาชีพ เพื่อความม่ันคงตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จงึ อาจใหค วามหมายไดวา “กรรมวิธีในการควบคุมการดาํ เนนิ งานทํามาหากินใหขยายกาวออกไปใหเกิด ความแนนและทนทานไมก ลับเปนอน่ื ตามหลักความรู ความจริงของงานเก่ียวกับการผลิต การจําหนาย จา ยแจกและการบรโิ ภคใชสอยสิ่งตา ง ๆ ของชมุ ชนเปนไปตามตอ งการ”
56 เอกสารหมายเลข 13 : แบบประเมินความเขา ใจเกยี่ วกับความหมายของการจดั การขยายอาชพี ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. อานกรณตี ัวอยา งแลวตอบคาํ ถามดวยตนเอง “ ลุงอนิ ปลกู ขาวโพดหวาน ขนาดรองกวาง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอง อยา งตอเน่อื งไดผลผลิตสัปดาหละ 250 กิโลกรัม ขายใหกับลูกคาประจํา มีรายได 2,500 บาทคอนขาง แนน อน แตป น ลี้ ูกเขา เรยี นระดบั อุดมศึกษา 2 คน จะตอ งมีรายจายเพิ่มอีกเดอื นละ 10,000 บาท ลุงอินหาตลาดขาวโพดหวาน ไดลูกคาเพ่ิมสามารถรับซ้ือขาวโพดหวานตามปริมาณท่ี เพ่ิมข้ึนไดตามตองการ อยูมาไมนานเพื่อนบานหลายครอบครัวเอาอยางปลูกขาวโพดหวานขาย ทําให ขา วโพดมีปรมิ าณมาก ราคาตก ลงุ อนิ เห็นวา เพือ่ นบา นตา งก็ยากจน หากปลอ ยใหสภาพเหตกุ ารณเปนเชนน้กี ็จะพากัน ขาดทุน เสียหาย ลุงอินประเมินปริมาณขาวโพดหวานท่ีผลิตไดและมีคุณภาพปานกลางกับของลุงอิน ประมาณสัปดาหละ 3,000 กิโลกรัม จึงตัดสินใจไปพบพอคาขายสงรายใหมตองการขาวโพดหวาน ปริมาณมาก หากลุงอินสามารถรวบรวมผลผลิต ควบคุมคุณภาพใหไดมาตรฐานท่ีตองการและจัดการ สง มอบใหไดจะรับซื้อกิโลกรัมละ 15 บาท ลุงอินจึงเจรจารับซื้อขาวโพดหวานของเพื่อนบานใหราคา กิโลกรัมละ 10 บาท หักคาขนสงกิโลกรัมละ 1 บาท ลุงอินไดกําไรกิโลกรัมละ 4 บาท เดือนหน่ึงจะมี รายได 48,000 บาท พอเพยี งใชจ ายดํารงชวี ติ สงลูกเรยี นได ทีด่ ินท่เี คยปลกู ขา วโพดและวางเปลา จํานวน 20 ไร ลุงอินปลูกไมป า ตนยางนา ตนสัก เปน ไมโตไวได 2,000 ตน อีก 15 ปขางหนาจะสามารถตัดโคน ขายไดต น ละ 5,000 บาท คาดวา จะไดเ งินประมาณ 10 ลานบาท ” จากเรือ่ งราวของลงุ อนิ ทา นมคี วามเขาใจอยางไร 1. การดําเนินงานปลกู ขาวโพดหวานขนาดรอ งกวาง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอง เปรียบไดกบั ขอใด ก. ความม่นั คง ข. การขยายอาชีพ ค. การจดั การ ง. ความพอเพยี ง 2. มีรายได สปั ดาหละ 2,500 แนน อน สอดคลองกบั ขอใดมากทสี่ ุด ก. ความมน่ั คง ข. การขยายอาชพี ค. การจดั การ ง. ความพอเพยี ง
57 3. ลุงอินหาตลาดขา วโพดหวานเพ่ิมขน้ึ เกย่ี วของกบั ขอ ใด ก. ความมั่นคง ข. การขยายอาชพี ค. การจัดการ ง. ความพอเพยี ง 4. เพื่อนบานเอาอยางปลกู ขา วโพดหวานกนั มาก ราคาตก เก่ยี วขอ งกบั ขอ ใด ก. ความไมม นั่ คง ข. การขยายอาชพี ค. การจัดการ ง. ความพอเพียง 5. ลุงอนิ ไปพบพอ คา ขายสงรายใหญ เกี่ยวของกับขอ ใด ก. ความมน่ั คง ข. การขยายอาชพี ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง 6. การรวบรวมผลผลิต การควบคุมคุณภาพผลผลิต การจัดการรายไดกับสมาชิกเพื่อนบาน ขอ ใดถูกตองมากทีส่ ดุ ก. ความมน่ั คง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกจิ ง. ความพอเพยี ง 7. ลงุ อนิ ใหร าคาขาวโพดหวานของเพอ่ื นบา น กิโลกรมั ละ 10 บาท ขอ ใดถกู ตองมากท่สี ุด ก. ความมน่ั คง ข. การขยายอาชพี ค. เศรษฐกจิ ง. ความพอเพยี ง 8. รายไดเดือนละ 48,000 บาทของลุงอนิ สอดคลองกับขอ ใดมากทีส่ ดุ ก. ความมนั่ คง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง
58 9. รายไดจ ากการปลูกไมป า 20 ไร เปนเงิน 10 ลานบาท อีก 15 ปขางหนาของลุงอินตรงกับขอ ใดมากทส่ี ุด ก. ความม่ันคง ข. การขยายอาชพี ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง กจิ กรรมที่ 9 ใหผูเรียนรวมกันอภิปรายทําความเขาใจแบบประเมินกรณีตัวอยางหมายเลข 12 แลวสรุปให เหตผุ ลเปน ขอ ๆ เรอ่ื งท่ี 2 ความสาํ คัญของการจัดการขยายอาชพี เพ่ือความมน่ั คงตามแนวคิดปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ลกั ษณะบงชีค้ วามสําเรจ็ ของการเรียนรู ลกั ษณะบง ชีค้ วามสําเร็จของ กจิ กรรม การวดั ผล ประเมนิ ผล สื่อการเรยี นรู การเรียนรู 1.ยอมรบั วา การขยายอาชีพ 1.อานเอกสารหมายเลข 13 1. ทดสอบความเขา ใจ เอกสารหมายเลข 13 ทาํ ใหต นเอง เพิ่มผลผลติ เพื่อทาํ ความเขาใจเก่ยี วกบั ความสําคญั ของการจัดการ ใบความรู เรอื่ ง ความสาํ คญั เพิม่ รายไดแ ละชอ งทาง ความสําคญั ของการจัดการ ขยายอาชีพตามแนวคดิ ของการจดั การขยายอาชีพ อาชพี เปดกวา งออกไป ขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ตามแนวคดิ ปรัชญาของ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี ง 2. ผลการวิเคราะหก ําหนดวลี 2.ผูเรยี นวิเคราะหก าํ หนดวลี ความสําคญั การจดั การ ความสาํ คญั การจดั การ ขยายอาชีพ ขยายอาชีพ 2.เห็นวา การขยายอาชีพทาํ ให อา นเอกสารหมายเลข 14 ให ผลการวิเคราะห เอกสารหมายเลข 14 มสี ่งิ บรโิ ภคสรางความ เขา ใจ แลววิเคราะหผ ลการ ผลการประเมนิ ตนเอง ใบความรู เรื่อง การประเมิน พอเพียงใหกับชมุ ชน ประเมนิ ตนเองเก่ยี วกบั สาระ ตนเองเกย่ี วกับการรบั ได ชว ยลดรายจาย สรางงาน การรบั ได ความสาํ คญั การ ของความสาํ คญั ในการ สรางรายไดใ หก บั ชุมชน จัดการขยายอาชพี ตาม จัดการขยายอาชพี ตาม กระบวนการคิดเปนพรอ มท้ัง กระบวนการคิดเปน สรุปผล
59 แผนปฏิบตั กิ ารเรียนรู เรยี นรูด ว ยตนเอง ดงั นี้ 1. อา นเอกสารหมายเลข 13 : ใบความรู เรื่อง ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพ ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ประเมนิ ตนเองตามเอกสารหมายเลข 14 : แบบประเมินตนเองเกย่ี วกับการรับไดของ ความสาํ คญั ในการจัดการขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
60 เอกสารหมายเลข 14 : ใบความรู เรื่อง ความสาํ คญั ของการจัดการขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั ความสําคัญของการจดั การขยายอาชพี ในเชงิ วชิ าการมผี กู ลาว ไวมากพอสมควรแลว ผเู รียนสามารถคน ควาได แตการระบคุ วามสาํ คัญในเรอื่ งใด ๆ ยอมผันแปรไปตาม ประสบการณเชิงประจักษของแตละบุคคลหรือกลุมคนไมมีอะไรแนนอน เรามีหนาท่ีจะตองระบุ ความสาํ คัญในส่งิ ขางหนาและประเมนิ ตัดสนิ ใจดว ยตวั เราเอง เชน เดยี วกบั การระบคุ วามสําคญั ของการจดั การขยายอาชีพเพอื่ ความมน่ั คงไมมใี ครบอก สง่ิ ท่ถี กู ตอ งใหใครได เราจงึ มีความจาํ เปน ท่จี ะตอ งนาํ ตนเอง ระบุความสําคัญไดด วยตนเองมากกวาการใช ขอ มลู จากภายนอก ตามเอกสารใบความรูฉ บับน้ี จงึ ขอนําเสนอหลักการคดิ วเิ คราะห หาความสําคัญของ การจัดการขยายอาชีพดวยตนเอง ดังน้ี 1. ตองเร่ิมตนจากความหมายของภาษาโดยยึดพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 พบวา “ ความสาํ คัญ” มคี วามหมายตามลักษณะคําวิเศษณ คือ (1) เปน พิเศษกวาธรรมดา (2) มีคณุ คา (3) มีช่ือเสียง “ การจดั การขยายอาชพี เพ่ือความมั่นคง” มคี วามหมาย คือ (1) การสัง่ งาน ควบคุมงาน ดาํ เนินงาน (2) ทําใหข ยายกวา งออกไป (3) ทาํ ใหม น่ั คง 2. ใหน ําองคประกอบความหมายของคาํ ทั้งสองประโยคมาวเิ คราะหร ะบคุ วามสัมพันธ ดังตัวอยางนี้ ตัวอยาง : ตารางวเิ คราะห สรางวลี เหตกุ ารณจ ากความสัมพันธระหวางประโยชน ความสําคญั ลักษณะทตี่ างออกไป มีคณุ คา เกื้อกูล ช่อื เสียง ยอมรับ การจัดการ เปนพเิ ศษกวาธรรมดา ขยายอาชีพ มัน่ คง การสั่งงาน ควบคมุ งาน และดาํ เนินงาน การทาํ ใหขยาย กวา งออกไป ทําใหมนั่ คง
61 ตารางดงั กลา วขางตน ใชดําเนินการวิเคราะหความสัมพันธแลวระบุเปนวลี เหตุการณ บนฐานของเหตุและผลตามประสบการณข องผเู รียน ดงั ตัวอยา งน้ี ตัวอยาง การวิเคราะห กําหนด วลี ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพตามเหตุผลและ ประสบการณข องผเู รยี น ความสาํ คัญ ลกั ษณะทีต่ างออกไป มีคณุ คา เก้อื กูล ช่ือเสียง ยอมรบั การจัดการ เปนพเิ ศษกวาธรรมดา ขยายอาชีพ ม่ันคง การสั่งงาน เปนการเพิ่มกจิ กรรมบน ทาํ ใหประสิทธิภาพการ การยอมรับของบคุ ลากร ควบคุมงาน ฐานการควบคมุ ดําเนิน ใชทรัพยากรการ ในองคก รสูงขน้ึ และดําเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั ทที่ าํ อยู ดาํ เนินงานไดผ ลผลติ สงู ขึ้น การทาํ ใหข ยาย - มผี ลติ ภัณฑอ อกสู มพี นั ธมิตรทางธรุ กิจ การยอมรบั ในธุรกจิ กวางออกไป ตลาดเพ่ิมขน้ึ เพิม่ ข้ึน ขยายกวางออกไป - ฐานลกู คาขยาย ทาํ ใหม น่ั คง กลยุทธธรุ กิจถกู เครอื ขายลกู คามคี วาม องคความรกู ารผลิต ปรับเปล่ียนใชส ราง เชื่อมัน่ มคี วามภกั ดใี น การตลาด ยกระดบั ความม่นั คงในธรุ กจิ การซอื้ ขายมากข้นึ คณุ คาเปน ทนุ ในการ แขงขัน 3. นาํ ผลการวิเคราะห กําหนด วลี ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพที่วิเคราะห ไดม าพิจารณาทบทวนหาขอ บกพรอ งและพฒั นา เรากจ็ ะพบวา ความสาํ คัญของการ พัฒนาอาชีพประกอบดว ย (1) เปนการเพ่ิมกิจกรรมอาชีพบนฐานการจดั การอาชีพหลกั ทีท่ ําอยู (2) ทําใหประสิทธิภาพการใชทรัพยากรดําเนนิ งาน สามารถสรา งผลผลติ เพิ่มสงู ขึ้นได (3) ทําใหผรู ว มงานมคี วามเช่อื มน่ั วา ธรุ กิจเจรญิ กา วหนา สามารถอยูรวมทํางานได อยา งมั่นคง (4) มีผลติ ภัณฑเพม่ิ ขึ้น สามารถขยายฐานลกู คา ออกไปไดก วา งขึน้ (5) มพี นั ธมิตรทางธุรกิจเพม่ิ ขนึ้ (6) วงการธรุ กิจยอมรบั กวา งออกไป (7) กลยทุ ธทางธรุ กิจถูกปรับเปล่ียนใชส รางความม่นั คงในธรุ กจิ (8) เครอื ขายลูกคาและพันธมติ รทางธุรกจิ มคี วามเช่ือม่นั มีความภกั ดีในการซือ้ ขาย มากขนึ้ (9) องคค วามรดู า นการผลติ และการตลาดยกระดบั คุณคาใชเปนทุนในการแขงขัน
62 สรุป จะเห็นวาการคิดการพจิ ารณาความสําคัญน้ัน จําเปนที่เราจะตองมองเห็นดวยตัวเราเอง และนาํ ไปเทยี บเคยี งกบั ความเหน็ ทางวิชาการกจ็ ะทําใหเ รามีโอกาสตัดสนิ ใจไดถ ูกตอ งมากยง่ิ ข้ึน นําไปสู ความสาํ เร็จทย่ี ง่ั ยืนได กจิ กรรมท่ี 10 ใหผูเ รียนวเิ คราะหกําหนดวลีความสําคญั การจดั การขยายอาชีพตามเหตผุ ลจากประสบการณข องตนเอง หรอื สมั ภาษณพ ดู คยุ กับผปู ระสบความสาํ เร็จในอาชพี ทีส่ นใจ โดยบนั ทึกลงในตารางดงั ตวั อยางหนา 56 เอกสารหมายเลข 15 : ใบความรู เร่ือง การประเมินตนเองเกี่ยวกับการรับไดของความสําคัญ ในการจดั การขยายอาชีพตามกระบวนการคดิ เปน การประเมินเพอ่ื ตัดสนิ ใจ รับความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ความสําคญั ของการจดั การขยายอาชพี ตามกระบวนการคดิ เปน ท่ผี เู รยี นวเิ คราะหข ึ้นเองนั้น สามารถทําไดห ลายวิธี เชน (1) การนําผลวิเคราะหไปแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูมีประสบการณแลวสรุปขอบกพรอง ความคดิ เหน็ ทรี่ ับไดมาพัฒนาสาระความสําคญั (2) ประเมินตนเองดว ยการวิเคราะหขอ มลู ดานตนเอง สงั คม สง่ิ แวดลอม และวชิ าการ ในเอกสารใบความรูนจี้ ะใหค วามคดิ ความเขาใจ การประเมิน และพฒั นาสาระความสําคญั ของการจัดการขยายอาชพี ดว ยตนเอง ดังน้ี 1. กรอบการประเมินตัดสนิ ใจ ตามกระบวนการคิดเปน ประกอบดว ย 1.1 ขอมูลดา นตนเอง มีตวั แปรทีใ่ ชค ิด ตดั สินใจ 2 เรื่อง คอื (1) ความม่นั ใจทีจ่ ะทําได (2) ความมคี ณุ คา ประโยชนต อการขยายอาชพี 1.2 ขอมูลดา นสังคม สิง่ แวดลอ ม มีตวั แปรท่ีใชค ิด ตดั สินใจ 2 เร่ือง คอื (1) ผเู ก่ยี วของเห็นสอดคลอ ง (2) ผูเกย่ี วขอ งสวนใหญยอมรับ 1.3 ขอมลู ดา นวชิ าการ มีตวั แปรท่ใี ชค ิด ตัดสินใจ 2 เร่ือง คือ (1) ความสอดคลองกับความเหน็ ทางวชิ าการ (2) มขี อมลู และแหลง เรยี นรูเ พยี งพอ 2. ลักษณะแบบประเมินอยางงาย โดยใชตารางมิติสัมพันธระหวางกรอบการประเมิน กบั สาระความสาํ คญั ทผ่ี ูเรยี นวเิ คราะหข ึ้น ดังตัวอยา งนี้
63 เอกสารตัวอยาง : การวเิ คราะหผ ลการประเมนิ ตนเองเกยี่ วกบั การรบั ไดข องสาระความสําคัญในการจัดการ ขยายอาชีพทผี่ ูเ รยี นวิเคราะหขน้ึ เอง ดา นตนเอง ดา นสังคม ดา นวิชาการ รวม สาระความสาํ คญั ของการ ความมน่ั ใจ มีคณุ คา คะแนน ผูเกย่ี วของ ผเู ก่ยี วของ สอดคลอ งกับ มีขอมูล จดั การขยายอาชพี ที่ผเู รียน ที่จะทําได ประโยชนต อ เหน็ สอดคลอ งดวย สว นใหญยอมรบั ความเห็นทาง และแหลง วิเคราะหไ ด การขยายอาชพี วิชาการ เรยี นรเู พียงพอ ใช ไมใ ช ใช ไมใ ช ใช ไมใ ช ใช ไมใ ช ใช ไมใช ใช ไมใช 54 1. เปนการเพม่ิ กิจกรรม อาชีพบนฐานอาชพี หลัก - - - - - - 5 ท่ที าํ อยู 2. ทาํ ใหป ระสิทธภิ าพการ ใชท รัพยากรดําเนนิ งาน - - - - - - 6 สามารถสรางผลผลิต เพิ่มขนึ้ 3. ทําใหผ ูรว มงานมคี วาม เชื่อมั่นวา ธรุ กิจกาวหนา - - - - - - 6 อยูรว มงานได 4. มีผลติ ภณั ฑเ พมิ่ ข้นึ ขยายฐานลกู คา ออกไปได - - - - - - 6 กวางขน้ึ 5. มพี นั ธมติ รทางธุรกิจ - - - - - - 6 เพ่มิ ขนึ้ 6. วงการธุรกิจยอมรบั - - - - - - 4 กา วออกไป 7. เกดิ กลยทุ ธท างธุรกจิ ใชสรางความมน่ั คงใน - - - - - - 5 ธรุ กิจได 8. เครือขา ยลูกคา และ พนั ธมิตรทางธรุ กจิ มี - - - - - - 6 ความเชื่อมนั่ ภักดใี นการ ซอื้ ขาย 9. องคความรูยกระดับ คุณคา ใชเ ปนทนุ ในการ - - - - - - 6 แขงขัน รวม 9 98 79 8 50 ตนเอง = 18 สังคม = 15 วชิ าการ = 17
64 3. การแปรผลและใชผล มีตัวอยางดงั นี้ 3.1 การแปรผล จากตารางตวั อยางขางตนและสามารถแบงผลจากการวิเคราะหได ดงั น้ี (1) มิติทางดานสังคม สิ่งแวดลอม สรุปไดวา มีสาระท่ีผูเกี่ยวของเห็นวา ไมสอดคลองและไมน า จะยอมรบั ได 2 สาระ คือ ก. ทาํ ใหป ระสิทธิภาพการใชทรัพยากรดําเนินงานสามารถสรางผลผลิต เพม่ิ ขนึ้ ข. วงการธุรกิจยอมรบั กวางขวางออกไป (2) มติ ทิ างวชิ าการ พบวา ขอมลู แหลงวิชาการที่เก่ียวของกับการเพ่ิมกิจกรรม อาชีพบนฐานอาชีพหลักที่ทาํ อยู มไี มพ อเพยี ง (3) หากพจิ ารณาภาพรวม จะพบวา มีคะแนนรวม 48 คะแนน เปนคะแนนใน ระดบั สงู คิดเปนรอยละ 88.8 จึงอาจสรุปไดวา ความสําคัญของการขยาย อาชพี ทผ่ี ูเรยี นวิเคราะห สามารถรับไดวา เปน ความสําคัญจริง 3.2 การนาํ ไปใช ผลการวิเคราะห พบวา สามารถรับเปนความสําคัญจริง ทําใหมี ความม่นั ใจมองเห็นคณุ คาประโยชนนาํ ไปกําหนดเปาหมายการบริหารจัดการ ขยายอาชพี ไดอ ยา งเชือ่ ม่ัน จึงอาจสรปุ ไดว า การบงช้ีความสําคญั ของการดาํ เนินกิจกรรมใด ๆ ควรจะเปนการระบุ โดยตรงของผูประกอบการหรอื ผเู รียน การใชค วามคิดของผูร ู ความคดิ ทางวชิ าการ ควรเปนเพียงขอมูลที่ นํามาใชเ ปรยี บเทียบกับการคิด วเิ คราะหข องเราเอง กจิ กรรมที่ 11 ใหผ ูเรียนวเิ คราะหผลการประเมนิ ตนเองเก่ียวกับการรบั ไดของสาระความสําคัญการจดั การขยาย อาชีพของตนเอง หรืออาชีพท่ีผูเรียนสนใจตามกระบวนการคิดเปน พรอมแปรผลและสรุปผลโดยยึด ตารางและรูปแบบตามตวั อยางหนา ท่ี 61
65 บทที่ 5 ความรูเบ้อื งตนเก่ียวกบั การบริหารจดั การในการขยายอาชีพ ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับการบริหารจัดการ ไดแกการทําแผนธุรกิจ การจัดการความเส่ียง การจดั การการผลติ การจัดการตลาด และบัญชีธรุ กิจ เพ่อื สามารถนําสูการปฏิบตั ิทําแผนธรุ กิจในบทตอ ไป ขอบขายเนอ้ื หา การบรหิ ารจดั การ 1) การทาํ แผนธรุ กิจ 2) การจัดการความเสย่ี ง 3) การจัดการการผลติ 4) การจัดการการตลาด 5) บัญชธี รุ กจิ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู 1. เอกสารหมายเลข 16 ใบความรู เรอื่ ง การบรหิ ารจดั การในการขยายอาชพี
66 เอกสารหมายเลข 16 ใบความรเู ร่อื งการบรหิ ารจดั การในการขยายอาชีพ 1) การทาํ แผนธรุ กจิ 1.1 ความหมายของแผนธุรกิจ แผนธุรกิจ คือแผนงานทางธุรกิจที่แสดงกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติในการลงทุน ประกอบการ โดยมจี ุดเร่ิมตนจากจะผลิตสินคาและบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบัติอยางไรบาง และ ผลจากการปฏิบตั อิ อกมาไดม ากนอ ยแคไหน ใชงบประมาณและกําลังคนเทา ไร เพ่ือใหเกิดเปนสินคาและ บรกิ ารแกลูกคา และจะบรหิ ารธรุ กิจอยางไรธรุ กิจจึงจะอยรู อด (แหลงท่มี า : มาณพ ชิวธนาสนุ ทร. แผนธรุ กิจ SMEs. สํานกั พัฒนาธรุ กจิ อตุ สาหกรรมและผูประกอบการ, กรมสงเสริมอตุ สาหกรรม, กระทรวงอตุ สาหกรรม. 2547) 1.2 การศกึ ษาวเิ คราะหช ุมชนเพื่อการพฒั นาอาชพี การวเิ คราะหช ุมชน หมายถึง การนําเอาขอมูลท่ัวไปของชุมชนท่ีเราอาศัยอยู ซ่ึงอาจจะเปน หมบู าน ตาํ บล หรืออาํ เภอก็ไดข ึน้ อยกู บั การกําหนดขอบเขตของชมุ ชนวาจะนาํ ขอ มูลของชุมชนในระดับ ใดมาพิจารณา โดยการจาํ แนกขอมูลดา นตาง ๆ เพือ่ ใหทราบถึงประเดน็ ปญ หา และความตอ งการทแี่ ทจรงิ ของชุมชน เพื่อจะนํามากําหนดแนวทางการขยายอาชีพใหตอบสนองตรงกับความตองการของคนใน ชุมชน โดยเฉพาะเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ รายไดของประชากรตอคน ตอครอบครัว เปนอยางไร ลักษณะของการประกอบอาชีพของประชากรเปน อยางไร รวมถึงขอมูลอ่ืนท่ีเก่ียวของ ไดแก ขอมูลดาน การตลาด แนวโนมของความตองการของการตลาด นโยบายของรัฐที่จะเอื้อประโยชนตอการผลิตหรือ การประกอบอาชีพ เปน ตน ขอมูลเหลานจ้ี ะชว ยใหเราวางแผนการดําเนินการพฒั นาอาชีพไดร อบคอบขึ้น การวิเคราะหขอมูล โดยวิเคราะหสภาพการภายใน ภายนอกของชุมชน โดยใชเทคนิค SWOT (SWOT Analysis) การศึกษาความตองการของชุมชนเปนการสํารวจความตองการของชุมชนเพ่ือใหทราบถึง จุดเดน จดุ ดอย อปุ สรรคหรอื ความเส่ียงและโอกาสในดานตา ง ๆ ของขอ มลู และความตองการของชุมชน ทัง้ นีโ้ ดยใชเ ทคนิค SWOT ในการวเิ คราะหชุมชน มดี งั น้ี S (Strengths) จดุ แขง็ หรอื จุดเดนของชมุ ชน W (Weaknesses) จุดออนหรอื ขอดอยของชมุ ชน O (Opportunity) โอกาสที่จะสามารถดําเนินการได T (Threats) อปุ สรรคหรือปจ จยั ที่เปน ความเส่ยี งของชมุ ชนที่ควรหลีกเลีย่ ง ในการปฏิบตั ิ
67 ในการวเิ คราะหชุมชน อาจจะเขยี นเปนตารางวเิ คราะหไดด ังนี้ ปจ จยั ภายใน S (จุดแข็ง ) W (จุดออ น) ปจ จัยภายนอก O (โอกาส) T (อปุ สรรคหรอื ความเสี่ยง) การวิเคราะหขอมูล ผูวิเคราะหควรพิจารณาจําแนกขอมูลในดานตาง ๆ โดยใหสมาชิกใน ชุมชนหรือกลุมอาชีพน้ันรวมกันชวยวิเคราะห หากพบขอมูลสวนใดที่เปนจุดเดนของชุมชนหรือกลุม อาชีพน้นั ใหใสขอ มลู ในชอ ง S หากพบขอมลู ใดที่เปน จดุ ออ นหรือขอดอ ยของชมุ ชนหรอื กลุมอาชพี ใหใส ขอมูลในชอง W หากสวนใดที่เปนโอกาสชองทางของชุมชน เชน ความตองการสินคาของประชาชน นโยบาย หรือจุดเนนของรัฐหรือของชุมชนทเี่ ปนโอกาสดีใหใ สในชอ ง O และในขณะเดียวกันขอมูลใดที่ เปน ความเสี่ยง เชน ขอ มูลเก่ียวกับการกระทําผิดกฎหมาย หรือความตองการของชุมชนไมมีหรือมีนอย ขาดแคลนวัตถดุ บิ หรือปจจยั การผลิต เปน ตน ใหนําขอ มูลใสใ นชอง T ทาํ เชนนี้จนครบถวน หากสวนใด ขอ มลู ไมชดั เจนเพียงพอกต็ องสํารวจขอ มลู เพ่ิมเตมิ ได จากนนั้ นําขอมูลไปวิเคราะหเพื่อกําหนดทางเลือก ในการพฒั นาอาชพี หรือทางเลอื กในการแกป ญ หาอีกคร้งั หนึง่ กอ นทจี่ ะกาํ หนดเปนวสิ ัยทัศนต อ ไป 1.3 การกาํ หนดวสิ ัยทศั น พันธกจิ เปา หมายและกลยุทธใ นการวางแผนขยายธรุ กจิ ของชมุ ชน วิสัยทัศน เปนการกําหนดภาพในการประกอบอาชีพในอนาคต มุงหวังใหเกิดผลอยางไร หรือกลาวอกี นยั หนึ่งคือการมองเปาหมายของธรุ กิจวา ตองการใหเ กิดอะไรขึน้ ขา งหนา โดยมขี อบเขตและ ระยะเวลากําหนดทีแ่ นนอน ในการกําหนดวสิ ัยทศั นเ ปนการนําเอาผลการวเิ คราะหข อมูลชมุ ชนและขอมูล อาชีพของผปู ระกอบการ มาประกอบการพิจารณาอยางรอบคอบเพ่ือการตัดสินใจท่ีดี มีความเปนไปได เพ่อื นาํ ไปสคู วามสาํ เร็จของธุรกจิ ในที่สดุ พันธกิจ คือ ภาระงานท่ีผูประกอบการจะตองดําเนินการใหเกิดผลสําเร็จตามวิสัยทัศนที่ กําหนดไวใ หไ ด ผูประกอบการจะตองสรางทมี งานและกําหนดภารกิจของสถานประกอบการใหชัดเจน ครอบคลุมทง้ั ดา นการผลิตและการตลาด การวเิ คราะหพ ันธกิจ ของสถานประกอบการ สามารถตรวจสอบวาพันธกิจใดควรทํากอน หรือหลัง หรือพันธกิจใดควรดํารงอยูหรือควรเปล่ียนแปลง ผูประกอบการและทีมงานจะตองรวมกัน วิเคราะห เพื่อกําหนดพันธกิจหลักของสถานประกอบการ ผูประกอบการและทีมงานจะตองจัดลําดับ ความสําคัญของพันธกจิ และดาํ เนินการใหบรรลุเปาหมายใหได เปาหมายหรือเปาประสงค เปาหมายในการขยายอาชีพ คือการบอกใหทราบวา สถานประกอบการน้ันสามารถทําอะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะส้ัน หรือ ระยะยาว 3 ป หรอื 5 ปก็ได การกําหนดเปาหมายของการขยายอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและ
68 ประเมินผลได การกําหนดเปาหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดก็จะยิ่งดี เพราะทําใหมี ความชดั เจนจะชวยใหก ารวางแผนมคี ุณภาพยิ่งขึน้ และจะสงผลในทางปฏิบตั ไิ ดดียิ่งขน้ึ กลยุทธใ นการวางแผนขยายอาชีพ เปนการวางแผนกลยุทธในการขยายอาชีพหรือธุรกิจน้ัน ๆ ใหส าํ เรจ็ ตามเปาหมายทีว่ างไว การวางแผนจะตองกําหนดวิสัยทัศนเปาหมายระยะยาวใหชัดเจน มีการ วเิ คราะหส ่งิ ทีจ่ ะเกิดขึ้นในอนาคต และมีการทํางาน วางระบบไวคอนขางสูงเพื่อใหมีความคลองตัวใน การปรับเปล่ียนไดตามสถานการณที่เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ท้ังนี้ เพื่อใหผูประกอบการและทีมงาน สามารถพัฒนาอาชพี ใหม ปี ระสทิ ธิภาพและมีความกาวหนาไดใ นอนาคต ข้ันตอนกระบวนการวางแผน ข้ันตอนของกระบวนการวางแผนในการขยายธรุ กจิ ของชมุ ชน มดี งั น้ี 1. ข้ันการกําหนดวัตถุประสงคตองใหชัดเจน เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติหรือการดําเนิน กิจกรรมตา ง ๆ 2. ขั้นการกําหนดวัตถุประสงคการกําหนดวัตถุประสงคตองมีความชัดเจนวาจะทําเพ่ืออะไร และวตั ถปุ ระสงคนน้ั จะตอ งมคี วามเปนไปไดหรือไม และสามารถวัดผลได 3. ขั้นการตัง้ เปาหมายเปน การระบุเปาหมายทจี่ ะทําวา ตั้งเปาหมายในการดําเนนิ การไวจ ํานวนเทาใด และสามารถวัดไดในชวงเวลาส้ัน ๆ 4. ข้ันการกําหนดข้ันตอนการทํางาน เปนการคิดไวกอนวาจะทํากิจกรรมอะไรกอนหรือหลัง ซึ่งการกําหนดแผนกิจกรรมนจี้ ะทาํ ใหการดําเนนิ งานบรรลุตามวตั ถุประสงคไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 5. ข้นั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามแผน ซง่ึ จะตองดาํ เนินการอยา งตอเน่ืองจึงจะไดผ ล 6. ขั้นการปรบั แผนการปฏิบัตงิ าน ในบางครงั้ แผนทวี่ างไวเ มอ่ื ไดดําเนนิ การไประยะหน่ึง อาจจะ ทําใหส ถานการณเปลย่ี นไป ผูประกอบการจึงควรมีการปรับแผนบางเพื่อใหสอดคลองกับความเปนจริง มากขนึ้ และการดาํ เนนิ งานตามแผนจะมปี ระสิทธิภาพขนึ้ 1.4 การวางแผนปฏบิ ตั ิการ การวางแผนปฏิบัติการเปนข้ันตอนสุดทายของการทําแผนธุรกิจเพ่ือการพัฒนาอาชีพที่มี รายละเอยี ดมาจากแผนกลยุทธ มากําหนดเปน โครงการ/กิจกรรมท่ีจะตองดําเนินการ โดยจะตองกําหนด วตั ถปุ ระสงค เปา หมาย ระยะเวลา และผูรบั ผิดชอบ โดยผูเรียนและผูนําชุมชนตอ งชวยกันกาํ หนด 2) การจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ความเสี่ยง คอื ความไมแ นนอนตอ การประสบกบั เหตุการณ หรือ สภาวะที่เราตองเผชิญ กบั สถานการณอ ันไมพ งึ ประสงคโ ดยมคี วามนา จะเปน หรือโอกาสในสง่ิ นน้ั ๆ เปน ศูนย 2.1) ความหมาย การจัดการความเส่ียง (Risk Management) หมายถึง กระบวนการในการระบุ วิเคราะห(en:risk analysis) ประเมิน (en:risk assessment) ดูแลตรวจสอบและควบคมุ ความเสยี่ งท่สี มั พันธ
69 กับกิจกรรม หนาท่ีและกระบวนการทํางาน เพื่อใหองคกรลดความเสียหายจากความเสี่ยงมากท่ีสุด อันเนื่องมาจากภยั ที่องคกรตองเผชิญในชวงเวลาใดเวลาหน่ึงหรอื เรยี กวา อุบตั ภิ ยั (accident) ความเส่ียง (Risk) มีความหมายในหลากหลายแงมุม เชน - ความเสี่ยงคอื โอกาสท่เี กดิ ขนึ้ แลวธรุ กิจจะเกดิ ความเสยี หาย (chance of loss) - ความเส่ยี งคือความเปนไปไดท จ่ี ะเกดิ ความเสยี หายตอ ธรุ กิจ (possibility of loss) - ความเสี่ยงคือความไมแนนอนของเหตุการณที่จะเกิดข้ึน (uncertainty of event) - ความเสี่ยงคอื การคลาดเคล่อื นของการคาดการณ (dispersion of actual result) - ความเสี่ยง คือ ความไมแนนอนของเหตุการณ ซึ่งไมสามารถคาดเดาไดวาจะ เกิดขึน้ เมือ่ ใด แตค วามเสยี่ งนั้น ๆ จะมีแนวโนม ที่เกิดข้นึ ไมมากก็นอ ย ภยั (peril) หมายถึง สาเหตุของความเสียหายซ่ึงภัยสามารถเกิดข้ึนไดจากภัยธรรมชาติ เชน เกดิ พายุสึนามิ นา้ํ ทวม แผนดนิ ไหว เปน ตน ภยั นอกจากจะเกิดขนึ้ ไดจ ากภยั ธรรมชาติแลว ภัยน้ันยัง เกดิ ขนึ้ จากการกระทาํ ของมนุษย เชน อัคคีภัย จลาจล ฆาตกรรม เปนตน สําหรับสาเหตุสุดทายที่จะเกิด ภัยไดนั้นคือภัยที่เกิดข้ึนจากภาวะเศรษฐกิจ เพราะภัยท่ีเกิดจากภาวะเศรษฐกิจ เปนอีกสาเหตุท่ีสําคัญ เพราะเมือ่ เกิดขึ้นแลว คนทัง้ ประเทศ หรอื ทั้งภูมิภาคจะไดรับผลกระทบอยางกวา งขวาง สภาวะที่จะทําใหเกิดความเสียหาย (hazard) หมายถึง สภาพเงื่อนไขที่เปนสาเหตุท่ี ทําใหความเสียหายเพ่ิมสูงขึ้น โดยสภาวะตาง ๆ นั้น สามารถแบงออกไดเปนสภาวะทางดานกายภาพ (physical) คือ สภาวะของโอกาสทจ่ี ะเกิดความเสยี หาย เชน ชนิดและทําเลท่ีต้ังของส่ิงปลูกสราง อาจเอื้อตอ การเกิดเพลิงไหม สภาวะทางดานศีลธรรม (moral) คือ สภาวะของโอกาสทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ จากความไมซอ่ื สตั ยตอ หนาท่กี ารงาน เชน การฉอ โกงของพนักงาน และสภาวะดา นจิตสํานกึ ในการปองกนั ความเสี่ยง (morale) คือ สภาวะที่ไมประมาทและเลินเลอ หรือการไมเอาใจใสในการปองกันความเสี่ยง เชน การที่พนักงาน ปลอ ยใหเ ครือ่ งจกั รทาํ งานโดยไมควบคุม 2.2) องคประกอบการจดั การความเส่ียง 2.2.1) การระบุช้ีวาองคกรกําลังมีภัย เปนการระบุชี้วาองคกรมีภัยอะไรบางที่มา เผชญิ อยู และอยใู นลักษณะใดหรือขอบเขตเปนอยางไร นับเปนขั้นตอนแรกของการจัดการความเส่ียง 2.2.2) การประเมนิ ผลกระทบของภัย เปนการประเมินผลกระทบของภัยท่ีจะมีตอ องคกรซงึ่ อาจเรยี กอกี อยางหนึ่งวา การประเมินความเส่ียงที่องคกรตองเตรียมตัวเพ่ือรับมือกับภัยแตละ ชนดิ ไดอยา งเหมาะสมมากท่สี ดุ
70 2.2.3) การจัดทํามาตรการตอบโตตอบความเส่ียงจากภัย การจัดทํามาตรการตอบโต ตอบความเสีย่ งเปน มาตรการที่จัดเรยี งลําดบั ความสําคัญแลวในการประเมินผลกระทบของภัย มาตรการ ตอบโตทนี่ ิยมใชเพ่ือการรบั มอื กบั ภยั แตล ะชนิด อาจจําแนก ได 5 มาตรการ ดงั นี้ (1) มาตรการขจดั หรือลดความรนุ แรงของความอันตรายของภยั ที่ตอ งประสบ (2) มาตรการที่ปองกนั ผรู ับภัยมใิ หต องประสบภยั โดยตรง เชน ภัยจากการที่ ตอ งปน ไปในทีส่ งู ก็มมี าตรการปอ งกันโดยตองติดเข็มขัดนิรภัย กันการพลาดพลั้งตกลงมา หรือภัยจาก ไอระเหยหรอื สารพษิ ก็ปองกนั โดยออกมาตรการใหสวมหนา กากปองกนั ไอพิษ เปนตน (3) มาตรการลดความรนุ แรงของสถานการณฉกุ เฉนิ เชน กรณีเกดิ เพลิงไหม ในอาคาร ไดมีการขจัดและลดความรุนแรง โดยออกแบบตัวอาคารใหมีผนังกันไฟ กันเพลิงไหมลุกลาม ไปยงั บริเวณใกลเ คยี ง และมกี ารติดต้งั ระบบสปริงเกอร กจ็ ะชวยลดหรือหยดุ ความรนุ แรงของอุบตั ิภยั ลงได (4) มาตรการกูภยั ก็เปนการลดความสญู เสยี โดยตรง (5) มาตรการกลับคืนสภาพ ก็เปนอีกมาตรการในการลดความเสียหาย ตอเนื่องจากภัยหรืออบุ ัตภิ ยั แตละครั้งลงได การรบั มือกบั ภยั 5 มาตรการ (1) การเตรียมความพรอ ม (Readiness) องคก รตองเตรยี มความพรอมระบบการบริหาร ความเส่ยี งใหมคี วามพรอ มในการจัดทาํ มาตรการขจดั หรือควบคุมภัยตา ง ๆ เอาไวลว งหนา (2) การตอบสนองอยา งฉบั ไว (Response) เมือ่ เกดิ อบุ ตั ภิ ยั ข้ึนระบบตองมีสมรรถนะ ที่ดพี อในการตอบโตภัยแตละชนดิ อยา งไดผ ลและทนั เวลา (3) การชวยเหลือกูภัย (Rescue) เปนกระบวนการปกปองชีวิตและทรัพยสินของ องคก รทีไ่ ดผ ลและทนั เวลา (4) การกลบั เขา ไปทํางาน (Rehabilitation) เม่อื อุบัตภิ ยั สิน้ สดุ ลงแลวตองกลับเขาไป ทเี่ ดิมใหเ รว็ ที่สุดเพ่อื การซอมแซม การเปลี่ยนใหม หรือการสรา งขนึ้ ใหม (rebuild) เพื่อใหอาคารสถานที่ พรอ มท่ีจะดําเนนิ กิจการตอ ไปได อาจรวมไปถึงการประกันภัยดวย (5) การกลบั คืนสูสภาวะปกติ (Resumption) องคกรสามารถเปดทาํ การ หรอื ดําเนิน ธุรกิจตอ ไปตามปกติไดเ สมอื นวาไมมีอบุ ัตภิ ัยมากอน การตอบสนองอยางฉับไว (Response) กับการชวยเหลือกูภัย (Rescue) อาจดูเหมือน เปน เร่ืองเดียวกัน แตความจริงแลวแตกตางกัน เชน กรณีเกิดอัคคีภัย อุปกรณดับเพลิงอัตโนมัติรวมถึง
71 fire alarm คือข้ันตอนของการตอบสนองอยางฉับไว (Response) แตไฟฉุกเฉินและเครื่องชวยหายใจ เพอ่ื ใหพนักงานสวม เพื่อหนีออกจากอาคาร เปนข้นั ตอนของ การชว ยเหลือกูภยั (Rescue) 2.3 การวเิ คราะหป จ จยั ความเส่ียงทางธุรกิจ การวิเคราะหปจจัยความเสี่ยง ทางธรุ กิจ จะใชธ รุ กิจที่เราอยเู ปนตัวตงั้ แลวมองสิง่ แวดลอ มรอบธุรกิจและตัวธุรกิจเองวา มีอะไรบางที่ เปนจุดสาํ คญั และถาจุดนัน้ สําคญั ถึงขนาดทเ่ี รียกวา ถาเกิดผลกระทบเลวรายกับจุดน้ีแลว ธุรกิจของเรา อาจมปี ญหาไดจดุ นี้ คอื Critical point ประโยชนของการวเิ คราะหปจ จยั ความเสี่ยง การวิเคราะหปจจัยความเสี่ยงนอกจากเกิดประโยชนกับธุรกิจแลวยังสงผลถึงองคกรและ ลูกคาทีม่ าใชหรือขอรับบรกิ ารอีกดวย ซ่ึงพอสรปุ ได ดังน้ี 1. สามารถสรางเสริมความเขาใจการดําเนินการของธุรกิจและจัดทําแผนธุรกิจท่ี ใกลเ คยี งความเปนจริง มากข้นึ ในเร่อื งการประมาณการคาใชจาย และระยะเวลาดําเนินการ 2. เพิ่มพนู ความเขาใจความเสย่ี งในธรุ กจิ มากขึ้น โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ผลกระทบที่จะเกิด กับธุรกจิ หากจดั การความเส่ยี งไมเ หมาะสมหรือละเลยการบรหิ ารความเสี่ยงนนั้ 3. มีอิสระในการพิจารณาความเส่ียงของธุรกิจซึ่งจะชวยใหการตัดสินใจจัดการ ความเสี่ยงใหมีประสิทธิผลและประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ 4. ทําใหยอมรับความเสี่ยงไดมากขึ้น และสามารถไดประโยชนจากการยอมรับ ความเสยี่ งน้ันไดมากข้นึ ดว ย 2.4 การประเมนิ ความเสย่ี ง กระบวนการประเมินความเสีย่ ง มีดังตอ ไปนี้ 2.4.1 กาํ หนดความเส่ียงโดยตรวจสอบวา ในธุรกจิ ของเรามเี รือ่ งใดท่เี ปน ความเสยี่ งบา ง ซ่งึ มปี ระเดน็ ตาง ๆ ทส่ี ามารถวางกรอบในการกําหนดความเส่ยี งเปน ดาน ๆ 5 ดาน ดงั น้ี 1) ดานการตลาด เชน การเปลยี่ นแปลงของสินคา การเปล่ียนแปลงราคาสินคา อัตราดอกเบ้ยี อัตราแลกเปลย่ี น ความผันผวนราคาหนุ การแขงขันทางตลาด 2) ดานการผลิต เชน วัตถุดิบ กําลังการผลิต ตนทุนการผลิต เทคโนโลยี เครื่องจกั ร ความปลอดภัย ความผิดพลาดในขัน้ ตอนการผลติ 3) ดานการเงิน เชน ความเปลี่ยนแปลงดานสนิ เชอ่ื ความเปลีย่ นแปลงสินทรัพย ท่ีใชคํา้ ประกันสนิ เชื่อ สภาพคลอง 4) ดานบุคลากร เชน ความรูความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ความรับผิดชอบ การทุจริต ความสามคั คี อตั ราการลาออก
72 5) ดา นศักยภาพ เชน ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภัยธรรมชาติ ทําเลท่ีตั้ง ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี ีวติ ทรัพยากรมนษุ ย 2.4.2 เมื่อสามารถกําหนดความเส่ียงไดแลว ตองประเมินอีกคร้ังวาความเสี่ยงน้ัน รุนแรงระดับใด และ จดั ลาํ ดบั ความเส่ียง ตามลาํ ดบั ความรนุ แรง 1) การประมาณระดับความรุนแรงของความเส่ยี ง การประมาณระดับของความ เส่ยี งเพื่อประกอบการตดั สนิ ใจในการดําเนินการแกไข เมือ่ ประเมินแลวนาํ ขอ มลู มาเรยี งลําดับความเสี่ยง ซึง่ การประมาณความเสยี่ งดไู ดจาก การเรียงลําดบั ของความรุนแรงของส่ิงท่ีจะเกิดข้ึน(ผลกระทบ) และ การเรียงลําดับของโอกาสท่ีจะเกิดขน้ึ ของเหตกุ ารณ ดงั น้ี 1.1) ความรุนแรงของอนั ตราย ลกั ษณะความรุนแรง - ระดับความรนุ แรงมาก - ระดบั ความรนุ แรงปานกลาง - ระดบั ความรุนแรงนอย การพิจารณาระดับความรนุ แรง ระดบั ความรนุ แรงหรือผลกระทบทเ่ี กิดจากเหตุการณท่ี เกดิ ข้นึ หรือคาดคะเนวาจะเกดิ เหตุการณน ้ัน ๆ และเมือ่ เกิดข้ึนแลวจะเกิดความรุนแรง หรอื ผลกระทบกบั สิ่งตาง ๆ และความเสียหายที่จะเกิดข้ึนในดานตาง ๆ เชน ดานทรัพยสิน เงิน ดานเวลา ดานบุคคล ดานลกู คา และดา นภาพลกั ษณ แลว พจิ ารณาวา ความรุนแรงอยใู นระดบั ใด
73 ตวั อยา ง การกาํ หนดเกณฑใ นการพจิ ารณาระดบั ความรนุ แรง ความเสยี หาย ระดับความรนุ แรง มาก ปานกลาง นอย 1. ดานทรัพยสิน/ 1,000,000 บาทขน้ึ ไป 100,000 บาทขึ้นไปแต ตํา่ กวา 100,000 บาท เงนิ ไมเกิน 1,000,000 บาท 2. ดานเวลา < 15 วนั 3- 5 วนั 1-3 วัน 3. ดานบุคคล - บาดเจบ็ สาหัส/พกิ าร - บาดเจ็บไมส าหสั - บาดเจบ็ เลก็ นอ ย - โทษใหอ อกข้ึนไป - โทษตัดเงินเดือน - โทษตกั เตอื น 4. ดา นลูกคา ความพึงพอใจ ความพงึ พอใจ ความพึงพอใจ ตาํ่ กวา 60% 60 – 74 % 75 – 79 % 5. ดานภาพลกั ษณ สงผลในระดับองคก ร สง ผลในระดบั ฝาย สง ผลในระดับพนกั งาน 1.2) โอกาสทีจ่ ะเกดิ อนั ตราย - โอกาสมาก - โอกาสปานกลาง - โอกาสนอย โอกาสท่ีจะเกิดหมายถึงความนาจะเปนที่จะเกิดเหตุการณท่ีนํามาพิจารณาเกิดขึ้น มากนอ ยเพยี งใด ซึง่ จะมโี อกาสทจ่ี ะเกิด ดงั นี้ ตัวอยาง การกาํ หนดเกณฑใ นการพจิ ารณาระดับของโอกาสทีจ่ ะเกดิ ขึ้น ระดบั ของโอกาส ความนาจะเปน โอกาสทจ่ี ะเกดิ 1. โอกาสมาก 1:100 - เกดิ ภายใน 1 ป 2. โอกาสปานกลาง 1:1000 - เกดิ ภายใน 1 – 2 ป 3. โอกาสนอย < 1 : 100000 - เกิดภายใน 2 – 5 ป
74 ตวั อยาง การประเมนิ เพื่อจดั ลําดับของระดับของความรนุ แรงของความเสย่ี ง ความเส่ยี ง ระดบั ความรุนแรงของความเส่ยี ง มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอย 1. ดานการตลาด 2. ดานการผลติ 3. ดา นการเงนิ 4. ดานบคุ ลากร 5. ดา นศกั ยภาพ ตัวอยา ง การกาํ หนดเกณฑก ารประเมินเพื่อจดั ลาํ ดับความสาํ คัญของความเสย่ี ง ลาํ ดับท่ี ความเส่ียงจะตอ งถกู ขจัดใหห มดสนิ้ ไป หรอื ลดความเสี่ยงนัน้ ในทันทที นั ใด 1 (ระดับมากที่สุด) 2 ความเสย่ี งที่จาํ เปน ตอ งตรวจสอบอยา งใกลชดิ และอาจตองมแี ผนปฏบิ ัตกิ ารเพือ่ ปองกนั ไมใ หเ กดิ ผลกระทบตอธรุ กจิ (ระดับมาก) 3 ความเสี่ยงทจ่ี าํ เปนตองตรวจสอบ แตเขมงวดนอยและแผนการลดความเสี่ยงมี ความเรงดว นนอย(ระดบั ปานกลาง) 4 ความเสย่ี งในระดับนีอ้ ยูในระดับต่ําสดุ และตอ งการความเอาใจใสนอ ย แตไมค วร ละเลยทัง้ หมด(ระดับนอ ย) การจัดลําดับความสําคัญของความเส่ียงชวยใหเจาของธุรกิจ และสมาชิกทีมงานให ความสนใจหรอื เนน การบริหารความเสีย่ งที่มผี ลกระทบตอธุรกิจมากทสี่ ุด 2.5 การกําหนดมาตรการแกไขและปองกันความเสี่ยง เมื่อจัดลําดับความสําคัญของ ความเสีย่ งไดแลว ใหพ ิจารณาจุดวกิ ฤตแตละประเดน็ ทีเ่ ปน ความเสย่ี ง ดังน้ี 2.5.1 สาเหตุของการเกดิ จดุ วกิ ฤตนัน้ ๆ 2.5.2 ผลกระทบของจุดวิกฤตทจ่ี ะเกดิ กบั ธรุ กจิ เปน อยา งไร 2.5.3 การเกดิ จดุ วกิ ฤตนนั้ จะมีอะไรเปน ตวั บอกเหตุ 2.5.4 มแี นวโนมวา จะเกิดจดุ วิกฤตนั้นกับธรุ กจิ ของเรา องคก รจะปอ งกันอยา งไร 2.5.5 ถา จุดวกิ ฤตนัน้ มาถึงแลว องคก รจะมีมาตรการอะไรมาแกไข
75 2.6 การประเมนิ ผลของมาตรการแกไขและปอ งกนั ควรใหทีมงานที่ทําแผนธุรกิจ วิเคราะห ประเดน็ ตอ ไปน้ี 2.6.1 ความเสี่ยงเรื่องใดที่เราผานเลยไปแลว และเราผานไปไดอยางไร และมี มาตรการอะไรที่เคยใชไดผ ล 2.6.2 ความเสีย่ งเรือ่ งใดทีก่ ําลังเผชิญอยู และมาตรการแกไ ขทเี่ ราใชอ ยู มกี ารประเมิน หรอื ไมว า มาตรการแกไ ขน้ัน ใชไดผ ลหรอื ไม ถาใชไ มไ ดผลเราตอ งปรับกลยทุ ธอ ยา งไร 2.6.3 ความเสย่ี งเรื่องใดทีก่ าํ ลังจะมาถึง มาตรการปองกันที่วางไวไดลงมือทําแลว หรือยงั ถา ทําแลวเปน อยางไร ตอ งปรบั กลยุทธใ หมห รือไม 2.6.4 ความเส่ียงเร่ืองใดท่ียังมาไมถึง องคกรไดศึกษาความเปนไปไดหรือไมวา มาตรการปองกนั ท่เี ตรียมไว จะไดผลดีหรอื ไม หรอื เคยใชไดผลในองคก รอ่นื ๆ หรอื ไม 2.6.5 กําหนดความถ่ีในการประเมินผลมาตรการแกไขและปองกันเปนระยะ ๆ เพอ่ื จะไดคอยปรบั แผนกลยุทธใ หม เมื่อเหน็ วา ไมไ ดผ ล 2.7 การวางแผนการบริหารความเสยี่ ง (Risk Management Planning) การวางแผนการบริหารความเสี่ยง มีวัตถุประสงคที่สําคัญคือ การตัดสินใจเลือก วธิ ีการและแผนกจิ กรรมจัดการความเส่ยี งของธุรกจิ ดงั นน้ั กจิ กรรมจะครอบคลุมและมีความสัมพันธกับ การบริหารความเสี่ยง เพ่ือใหการดําเนินการธุรกิจบรรลุเปาหมายที่กําหนดและเพ่ือใหการดําเนินการ ธุรกิจเกดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล จงึ ตอ งมีการวางแผนกิจกรรมบรหิ ารความเสย่ี ง พรอ มทงั้ จัดสรร งบประมาณและทรพั ยากรตา ง ๆ ในการดําเนินงาน เพือ่ ใหการบรหิ ารความเส่ียงบรรลุวัตถุประสงคและ เปาหมายท่ีต้งั ไว องคประกอบของแผนบริหารความเสย่ี ง องคป ระกอบ รายละเอยี ด 1. ช่ือความเสยี่ ง เขยี นอธบิ ายสัน้ ๆ วา ประเด็นทีเ่ ปนความเส่ยี ง คอื อะไร 2. ลําดับความเส่ียงเพ่ือการปฏิบัติ ระบุระดบั ของความเส่ยี ง 3. ประเภทของความเสยี่ ง ระบุวา เปนความเส่ียงประเภทใด 4. การควบคมุ ความเสี่ยงในปจจุบนั ระบแุ นวทางการควบคมุ ความเสยี่ งในปจ จุบนั 5. แผนปฏิบัตกิ ารเพอื่ ควบคมุ ความเสีย่ ง ระบุแนวทางการดาํ เนนิ งาน เปา หมาย เวลา ผูรบั ผิดชอบ
องคประกอบ 76 6.ตวั ช้วี ดั ความคืบหนา และความสําเรจ็ รายละเอียด 7.แนวทางการตรวจสอบและรายงาน ระบุวาถาทําตามตวั ชว้ี ดั แลว ความสาํ เรจ็ จะลดลง หรือไม ระบคุ วามคืบหนา ในการดําเนนิ การ (รอ ยละ) ตัวอยาง แผนการบรหิ ารความเสย่ี ง ลําดบั ท่ี รายการความเส่ยี ง ผลเสีย/ กจิ กรรม ตัวชีว้ ัด ระยะเวลา ผูรบั ผดิ ชอบ ผลกระทบ ความสําเร็จ ดําเนินการ 2.8 การติดตามประเมนิ ผลการบรหิ ารความเสี่ยง ซึง่ เปนขัน้ ตอนสาํ คญั ในการศกึ ษาปญ หา และอุปสรรค ในการปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยง และชวยใหทีมงานบริหารความเส่ียงไดขอมูล เพ่ิมเติม เพอ่ื นาํ ไปปรบั ปรงุ วธิ กี ารจดั การความเสี่ยงใหมปี ระสิทธภิ าพสงู ข้ึน ท้ังนี้ การบริหารความเสี่ยงเปนงานที่ตองทําอยางตอเน่ือง ความเส่ียงแตละประเภท เปล่ียนไปตามความเปลี่ยนแปลงของโลก การบริหารความเส่ียงจึงตองไดรับการประเมินผล และ ปรับปรุงใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน การประเมินผลจึงไมใชขั้นตอนสุดทายของการบริหาร ความเส่ยี ง แตเ ปนขน้ั ตอนท่นี ําไปสรู ะบบการบริหารความเสยี่ ง ท่ีมีความตอเน่อื งและทนั ตอเหตกุ ารณ 3) การจัดการการผลติ ความหมายของการจดั การการผลติ การบริการ และการควบคุมคณุ ภาพ การจัดการการผลิต หมายถึง กระบวนการท่ีดําเนินงานผลิตสินคาตามข้ันตอนตาง ๆ อยา งตอ เนอ่ื งและมกี ารประสานงานกัน เพอ่ื ใหบรรลเุ ปา หมายขององคก รหรือกิจการ การบริการ หมายถึง กระบวนการท่ีเนนการใหบริการแกลูกคาโดยตรง โดยการทําให ลูกคาไดรับความพงึ พอใจ มคี วามสขุ และไดรับผลประโยชนอยา งเตม็ ที่
77 การควบคุมคุณภาพ หมายถึง การจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหผลิตภัณฑตอบสนองความ ตองการและสามารถสรา งความพึงพอใจใหก ับลูกคาบนแนวคิดพื้นฐานวา เมื่อกระบวนการดี ผลลัพธที่ ออกมากจ็ ะดตี าม การจัดการเก่ียวกับการควบคมุ คณุ ภาพการผลติ การควบคุมคุณภาพน้ัน มีวัตถุประสงคเพ่ือใหสินคาหรือผลิตภัณฑหรือการบริการบรรลุ จดุ มงุ หมายดงั ตอไปน้ี 1. สินคา ที่สั่งซ้อื หรือสงั่ ผลติ มีคุณภาพตรงตามขอ ตกลงหรือเงอ่ื นไขในสัญญา 2. กระบวนการผลิตดําเนินไปอยางถูกตองเหมาะสม 3. การวางแผนการผลติ เปน ไปตามทก่ี ําหนดไว 4. การบรรจุหีบหอดีและเหมาะสม หมายถึงสามารถนําสงวัสดุยังจุดหมายปลายทางใน สภาพดี ข้ันตอนการควบคุมคณุ ภาพการผลิต แบง ออกเปน 4 ขน้ั ตอน คอื 1. ขัน้ การกาํ หนดนโยบาย ในข้ันนจ้ี ะเปนการกําหนดวัตถุประสงคกวาง ๆ เชน ระดับสินคา ขนาดของตลาด วิธีการจําหนาย ตลอดถึงการรับประกัน ขอกําหนดเหลาน้ีจะเปนเครื่องช้ีนําวากิจการ จะตองทาํ อะไรบา ง เพือ่ ใหบรรลวุ ัตถุประสงคที่ไดวางเอาไว 2. ข้ันการออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบผลิตภัณฑในท่ีน้ี หมายถึง การกําหนด คุณลักษณะของผลิตภัณฑ การออกแบบผลิตภณั ฑจงึ ตองมีความสัมพันธกับระบบการผลิต 3. ข้ันตอนการควบคุมคุณภาพของการผลิต การควบคุมคุณภาพการผลิต แบงออกเปน ข้ันตอนยอย 3 ข้ัน คือ การตรวจสอบคุณภาพของชิ้นสวน การควบคุมกระบวนการการผลิต และการ ตรวจสอบคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ โดยในการตรวจสอบท้ัง 3 ขัน้ นี้ สว นใหญจ ะใชเทคนิคการสุมตัวอยาง เพราะผลติ ภณั ฑทผี่ ลติ ไดนัน้ มีจาํ นวนมากไมอาจจะทําการตรวจสอบไดอยางท่วั ถงึ ภายในเวลาจาํ กัด 4. ข้นั การจําหนาย การควบคมุ คณุ ภาพ จะมีลักษณะเปนการใหบริการหลังการขาย ซึ่งใน ระบบการตลาดสมยั ใหมถอื วาเปน เรือ่ งสําคัญมาก เพราะสินคาบางชนดิ โดยเฉพาะอยางยิ่งสินคาประเภท เคร่อื งมือ เคร่ืองจักรหรืออุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงมีวิธีการใชและการดูแลรักษาที่คอนขางยุงยาก ผูผลิตหรือผูขายจะตองคอยดูแล เพ่ือใหบริการหลังการขายแกผูซ้ืออยูเสมอ เพื่อสรางความพึงพอใจ ซง่ึ จะมผี ลตอความเชือ่ มั่นและความกาวหนา ทางธรุ กจิ ในอนาคต การใชนวตั กรรมและเทคโนโลยใี นการผลิต การใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต เปนการพัฒนาความสามารถในการผลิต ผลิตภัณฑของมนุษย ชวยในการแกปญหาและสนองความตองการของมนุษยอยางสรางสรรค โดยนํา ความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี เพ่ือสรางและใชสิ่งของเครื่องใช วิธีการใหการดํารงชีวิตมี คณุ ภาพดยี ่ิงข้นึ
78 นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ท่ียังไมเคยมีใชมากอนหรือ เปน การพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดิมท่ีมีอยแู ลว เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงที่มนุษยพัฒนาขึ้น เพื่อชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ เชน อปุ กรณ เครื่องมือ เครือ่ งจักร วัสดุ หรือแมกระท่ังสิ่งท่ีไมไดเปนส่ิงของท่ีจับตองไดหรืออาจเปนระบบ หรือกระบวนการตา ง ๆ เพ่อื ใหก ารทํางานบรรลผุ ลเปา หมาย เทคโนโลยจี ะมปี ระโยชนอ ยา งมาก เมื่อผูใชมกี ารนาํ ไปใชไดอยางถูกวิธีและเหมาะสม และ จะเกดิ ผลกระทบอยางมากมาย เม่อื ผใู ชนาํ เทคโนโลยีไปใชแบบผิด ๆ ดวยความไมรู หรือใชเทคโนโลยี มากเกินกวา ความจําเปน กระบวนการเทคโนโลยใี นการผลิต กระบวนการเทคโนโลยีเปนกระบวนการท่ีเกี่ยวของกับการแกปญหา โดยการใชความคิด ริเร่มิ อยา งสรางสรรคและรอบคอบ เพือ่ สรา งผลิตภัณฑท กี่ อใหเ กิดประโยชนตามความตองการของมนษุ ย อยางมีประสิทธิภาพ หลักการเบ้ืองตนของกระบวนการทางเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ สามารถแบง ออกเปน ข้นั ตอน ไดดังน้ี 1. กําหนดปญหาหรือความตองการ 2. สรา งทางเลือกหรือวธิ กี าร 4. ออกแบบและลงมอื สราง 3. เลือกวธิ กี ารทเ่ี หมาะสม 5. ทดสอบและประเมนิ ผล ปรับปรุงแกไข แผนภมู ิ กระบวนการเทคโนโลยใี นการออกแบบผลติ ภัณฑ
79 การเลือกใชเ ทคโนโลยีอยางสรา งสรรค การเลือกใชเ ทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอ ชีวติ สังคม สง่ิ แวดลอมและงานอาชีพ มีหลักการ ดังตอ ไปนี้ 1. การวิเคราะหเปรียบเทียบผลิตภัณฑหรือวิธีการที่ไดจากเทคโนโลยีตาง ๆ ท้ังทางดาน คณุ ภาพ รปู แบบ วัสดุ ความสะดวกในการใช ความคมุ คา โดยกอ นที่จะตดั สนิ ใจเลอื กเทคโนโลยีใดมาใชนั้น ผปู ระกอบการหรอื เจาของกิจการ ควรนําคุณลักษณะท่ัวไป คุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีมาศึกษา เปรยี บเทียบกอนการตัดสนิ ใจเลือก 2. เมื่อมีการเลือกใชเทคโนโลยีสําหรับการสรางและพัฒนาผลิตภัณฑ เพ่ือสนองตอความ ตอ งการของมนุษยแ ลว ยอ มตอ งมีผลกระทบตอสังคมและส่ิงแวดลอมตามมาดวย ดังน้ันผูประกอบการ หรอื เจาของกิจการตองศึกษาทบทวนวาเทคโนโลยีที่กําหนดใชนั้นมี ขอดี ขอเสียและผลตอสังคมและ สง่ิ แวดลอ มท่ีจะไดร บั นนั้ เปน อยา งไร 3. ตดั สินใจเลอื กและใชเ ทคโนโลยที ม่ี ีผลดตี อ สังคมและสง่ิ แวดลอ มในทางสรา งสรรคมากทสี่ ดุ การลดตน ทุนการผลติ และการบริการ การดําเนินงานธุรกิจทุกประเภท ใหสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคง จําเปนที่ผูประกอบการ หรือเจาของธุรกิจตองหาวิธีการลดตนทุนการผลิตและการบริการ โดยแนวคิดในการลดและควบคุม ตน ทุนการผลติ นนั้ มหี ลักการดังน้ี 1. ศึกษาวเิ คราะหแ ละสาํ รวจสถานภาพปจจุบันของการผลติ คือแรงงาน วัตถุดิบ ตนทุนการผลิต เม่ือรปู จ จัยการผลิตแลว ทําใหส ามารถหาขอ บกพรอ งและหาวิธลี ดตน ทุนได 2. วิเคราะหหาสาเหตุของตนทุนสูญเปลาที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินคา และการบริการ หมายถึง การเสียคาใชจ ายแตไ มไ ดกอ ใหเกิดประโยชนตอธุรกจิ 3. ปฏิบตั กิ ารลดและควบคุมตนทนุ การผลติ ในสวนของคาใชจ ายท่ีไรประสิทธิภาพ มีความ สูญเปลา โดยดําเนนิ การตอเนอ่ื งใหบรรลผุ ลสําเร็จ การดําเนนิ ธรุ กจิ ตอ งเผชญิ กบั ขอ จาํ กดั หลายอยา งที่เปน อปุ สรรคและเปน เหตุใหตนทนุ การผลิต สูงข้ึน จากหลายปจจัย คือ ตนทุนแรงงานมีแนวโนมสูงขึ้น ตนทุนวัตถุดิบแพงขึ้น โดยเฉพาะการนํา วัตถุดิบจากภายนอกเขามา ทําใหตนทุนการผลิตสูงข้ึน เชน คานํ้ามัน คาไฟฟา คูแขงขันมีมากข้ึนและ ทวีความรุนแรงมากขึน้ จําเปน ทีผ่ ปู ระกอบการหรือเจาของธุรกิจตองลดตนทุนการผลิตตอหนวยสินคาที่ ผลิตจะมผี ลใหไดก าํ ไรมากข้ึน ดังน้ันผูประกอบการตองปรับวิธีการทําธุรกิจ เพื่อลดตนทุนการผลิตให ต่ําลง โดยกําหนดเปาหมายการผลิตใหเหมาะสมเพื่อความอยูรอด มีการปรับปรุงโครงสรางใน การประกอบธรุ กิจพฒั นาระบบการสงเสรมิ การขาย ซึง่ เปนกุญแจสาํ คญั สูความสาํ เรจ็
80 ปจจัยในการลด และควบคมุ ตน ทนุ การผลติ ในการผลิตสนิ คา ตนทนุ การผลิตจะสูงหรอื ตา่ํ น้นั ข้นึ อยกู บั ปจ จัยตาง ๆ หลายประการดงั นี้ 1. ผูบรหิ ารตอ งมนี โยบายและโครงการเพ่ือลดตนทุนการผลิตอยางจริงจังและชัดเจนไมวา จะเปนนโยบายดานคณุ ภาพมาตรฐานระดับสากล เชน ISO , การสนับสนุนศักยภาพของบุคลากร ฯลฯ หรอื ระบบและวิธกี ารลดตน ทุน ซึง่ ตอ งดาํ เนินการอยางจรงิ จังและตอเนื่อง 2. สรางจติ สํานึกพนักงาน ใหมจี ิตสาํ นกึ ทีด่ ีตอ โครงการลดตนทุนการผลิต จงึ จะไดรับความ รวมมอื และประสบความสําเร็จได 3. มมี าตรการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพของการบรหิ ารจดั การธุรกจิ อยางจริงจงั ทุกปจจัยที่กลาวมามีความสําคัญเทากันหมด แตการดําเนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมี คุณภาพผูบริหารธุรกิจตอ งกําหนดเปาหมายและการดําเนินงานอยางจรงิ จัง และตองมีการจดั ทาํ ขอมูลและ วดั ประสิทธภิ าพของการลดตน ทนุ อยา งตอเน่อื ง 4) การจดั การการตลาด การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซ่ึงจะตองมีการวางแผน การผลติ การโฆษณา การประชาสมั พันธ การวจิ ยั การตลาด การสงเสริมการขาย การทําฐานขอมูลลูกคา การกระจายสินคา การกําหนดราคา การจัดจําหนาย ตลอดจนการดําเนินกิจการทุกอยางเพื่อสนอง ความตองการ และบรกิ ารใหแ กผซู อื้ หรอื ผูบรโิ ภคพอใจ ทั้งในเรื่องราคาและบริการ การจดั การการตลาดเก่ยี วของกับเรื่องตา ง ๆ ดงั น้ี 1. การโฆษณา หมายถึง การนําเสนอหรือสงเสริมความคิดในการขายสินคาหรือบริการผาน ส่อื ตา ง ๆ มีผูอุปถัมภเปนผูเสียคาใชจายในการโฆษณา โดยมีวัตถุประสงคของการโฆษณา เพื่อใหเกิด ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับสินคา และงานบรกิ าร เปน การใหข าวสารและชกั จงู ใหซอ้ื สนิ คา และซือ้ บริการ สื่อที่ใชในการโฆษณามีหลายประเภท เชน นิตยสาร หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ปายโฆษณา การโฆษณาทางไปรษณีย เปนตน ส่ือโฆษณาแตละประเภทจะมีจุดเดนและจุดดอยแตกตางกัน ดังน้ัน การเลอื กส่อื โฆษณาควรคํานึงถงึ วัตถปุ ระสงค ดงั น้ี 1) สามารถเขาถงึ กลุมเปา หมายใหมากท่ีสุดเทาทจ่ี ะมากได 2) สือ่ น้ันมีประสทิ ธิภาพและไดผ ลสูงสดุ 3) เสียคาใชจ า ยต่ําทสี่ ดุ 2. การประชาสัมพันธ หมายถึง การติดตอสื่อสารเพ่ือสงเสริมความเขาใจที่ถูกตองรวมกัน ตลอดจนสรางความสัมพันธอันดีตอกันระหวางลูกคากับผูผลิต เพื่อใหเกิดความเชื่อถือศรัทธา ความ คิดเหน็ ทัศนคติทด่ี ตี อ องคการ การประชาสมั พันธ ไดแ ก ขา วแจกสําหรบั เผยแพร การแถลงขา ว 3. การสงเสริมการขาย หมายถึง กิจกรรมการสงเสริมการตลาดนอกเหนือจากการโฆษณา การขายโดยบุคคล และการประชาสัมพันธ เปนการชวยกระตุนความสนใจ การซื้อของผูบริโภคหรือ
81 บุคคลอ่ืนในชองทางการจัดจําหนาย การจัดแสดงในงานแสดงสินคา การแจกของแถม การลดราคา การชงิ โชค การแขง ขนั การแจกคปู อง 4. การวิจัยการตลาด หมายถึง การศึกษาปจจัยภายนอกและภายในเกี่ยวกับการตลาด ทําให ผูประกอบการมีขอมูลในการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจและสามารถบอกรายละเอียดในการ ดําเนินงานไดอ ยา งชดั เจน การวจิ ัยการตลาดหรอื การศกึ ษาตลาดควรวเิ คราะหพฤติกรรมผูบริโภคมาปรับใช ดังนี้ 1. ผูบริโภคของกิจการคือใคร ใชหลักการแบงสวนตลาดเขามาประกอบการพิจารณา คือ หลักภูมศิ าสตร หลักประชากรศาสตร หลักจติ วทิ ยา หลกั พฤติกรรมศาสตร 2. ตลาดตองการซ้ืออะไร ผูประกอบการจะตองศึกษาวาผูบริโภคตองการอะไรจากผลิตภัณฑ ทีซ่ ือ้ เชน บางคนใชร ถยนตราคาแพง เพราะตองการความภาคภูมิใจ บางคนเลือกรับประทานอาหารใน รานหรูหรา นอกจากเขาตอ งการความอรอยจากรสชาติของอาหารแลวเขายังตองการความสะดวกสบาย การบริการที่ดี เปนตน นักการตลาดจะตองวิเคราะหดูวาผูบริโภคตองการซื้ออะไรเพื่อท่ีจะจัด องคป ระกอบของผลิตภณั ฑใ หครบถว นตามที่เขาตอ งการ 3. ซื้ออยางไร ผูประกอบการตองศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจในการซ้ือของผูบริโภค กระบวนการการตัดสินใจในการซ้ือน้ีจะเริ่มจากความรูสึกวาตองการสินคาน้ัน จนไปถึงความรูสึก หลังการซื้อ กระบวนการดงั กลา วนจ้ี ะกนิ เวลามากหรอื นอ ย ยากหรอื งา ยเพียงใดขึ้นอยูกับชนิดของสินคา ตัวบุคคลท่ีทําการซ้ือ ผูตัดสินใจซื้อ การสงเสริมการตลาด ฯลฯ แตละขั้นของกระบวนการซ้ือใชเวลา ไมเ ทา กนั และบางครงั้ การซอื้ อาจจะไมไ ดดาํ เนินไปจนจบกระบวนการก็ได เพราะผบู ริโภคเปลย่ี นใจหรอื เกดิ อุปสรรคมาขดั ขวางทําใหเลิกซือ้ หรอื อาจตองทอดระยะเวลาในการซื้อออกไป 4. ทําไมผบู รโิ ภคจงึ ซ้อื เปนการพิจารณาถึงวตั ถปุ ระสงคห รอื จุดมงุ หมายของการซ้อื 5. เม่ือไรผูบริโภคจะซื้อ นักการตลาดจําตองทราบถึงโอกาสในการซ้ือของผูบริโภค ซ่ึงจะ แตกตางกันตามลักษณะสินคาน้ัน ๆ เพื่อวางกลยุทธทางตลาดไดเหมาะสมกับพฤติกรรมการซ้ือของ ผบู รโิ ภค 6. ผูบริโภคจะซอื้ ที่ไหน เปนการถามเรื่องชองทางการจําหนาย แหลงขายท่ีเหมาะสมกับสินคา โดยพจิ ารณาดูวาสนิ คา ชนดิ นีผ้ บู ริโภคมกั จะซอ้ื จากท่ีไหน ซ้อื จากหา งสรรพสินคา ใหญ หรือจากรานขาย ของชาํ ใกลบ าน เปนตน 7. ใครมีสวนรวมในการตัดสินใจซ้ือ เปนการถามเพ่ือใหทราบถึงบทบาทของกลุมตาง ๆ ท่ีมี อิทธพิ ลหรอื มีสวนรว มในการตดั สินใจซื้อ โดยสรุป ผูประกอบการและนักการตลาดจะตองศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค เพื่อทราบลักษณะความตองการของผูบริโภค เพื่อจัดสวนประสมทางการตลาด ไดแก ดานผลิตภัณฑ ดานการสงเสริมการตลาด ดานแผนการจัดจําหนายและแผนราคาใหเหมาะสม 8. การวางแผนการตลาด หมายถึง การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมาย สรางความนาเชื่อถือใหกับ กิจการและผทู ่ีจะรว มลงทุน สามารถอธิบายวิธกี ารที่จะดึงดูดและรักษาลูกคา ท้ังรายเการายใหมไ วไ ด
82 9. การทําฐานขอมูลลูกคา หมายถึง ขอมูลจะชวยในการกําหนดสวนตางของการตลาด การ กําหนดกลยุทธ การตลาดทางตรงไมว าจะเปน กลยทุ ธการสรางสรรคง านโฆษณา กลยุทธส ือ่ ตลอดจนใช ในการวิเคราะหข อมูลตา ง ๆ เปนสิ่งสําคัญสําหรบั การทาํ ตลาดทางตรง เพราะกิจการจะไมส ามารถสอ่ื สาร หรือเขาใจถึงกลมุ ลกู คา ท่คี าดหวังได หากปราศจากขอมูลลกู คา วัตถุประสงคก ารทําฐานขอ มูลลูกคา มดี ังนี้ 1) เพ่ือใหทราบถึงความสําคญั ของการจดั ทาํ บัญชรี ายช่ือลูกคา 2) เพื่อใหท ราบถึงวธิ กี ารเบอ้ื งตนในการจัดทาํ บญั ชีรายชอื่ ลกู คา 3) เพ่ือใหเขา ใจถงึ ประเภทของฐานขอมูล 4) เพอ่ื ใหทราบถงึ องคประกอบของฐานขอ มูลลูกคา 10. การกระจายสินคา ในวงการธรุ กจิ ปจจบุ ันนกั การตลาดใหความสาํ คญั เกย่ี วกับการกระจายสนิ คา ไมน อยกวาตวั แปรอน่ื ๆ ในดา นการตลาด หากผลิตภัณฑเปนที่ตองการของตลาด แตระบบการกระจาย สินคาไมดี เชน สงสินคาผิดพลาด ลาชา ผิดสถานท่ี เปนตน เปนความสูญเสียอันยิ่งใหญ เพราะทําให ยอดขายลดลงและสญู เสยี ลูกคา จดุ ประสงคข องการกระจายสินคา คอื การจัดสง สนิ คาใหลูกคาไดถูกตอง ไปยังสถานท่ีท่ีถูกตอง ในเวลาทเ่ี หมาะสม โดยเสยี คาใชจ า ยนอ ยท่สี ุด ตลอดจนการใหบรกิ ารลูกคา ท่ดี ีทส่ี ุด บทบาทและความสําคัญของการกระจายสินคา เปนการเชอื่ มโยงระหวางผผู ลติ กับผูบริโภค หรือ กลาวไดว าการทน่ี ําสนิ คาออกจาํ หนา ยใหผบู ริโภคทนั ตามเวลาทีต่ องการกระจายสินคา จึงมคี วามสาํ คญั ท่ี ผูประกอบการจะตองระมัดระวังในเร่ืองตอไปน้ี 1) สนิ คาท่ถี กู ตอ ง 2) เวลาทีถ่ ูกตอ ง 3) จาํ นวนทีถ่ กู ตอง 4) สถานท่ที ถี่ ูกตอ ง 5) รูปแบบที่ตองการ การจดั การกระจายสนิ คา คอื การนาํ สินคา ไปถึงมือผูบรโิ ภคหรือลกู คา ซ่งึ กระจายสนิ คาเกี่ยวของ กับการงานในหนาที่อื่น ๆ ไดแก การเริ่มตนจากการพยากรณการขายซึ่งเก่ียวกับการวางแผนการจัด จําหนาย และวางแผนการผลิต สวนการกระจายสินคา หมายถึง การบริหารระบบการขนสงระบบ ชองทางการจัดซ้ือ ระบบชองทางการจัดจําหนาย ระบบสินคาคงคลัง เพื่อใหไดมาซ่ึงประสิทธิภาพใน การจัดซื้อวัสดุ วัตถุดิบเพื่อการผลิต และเพื่อใหไดมาซ่ึงประสิทธิภาพทางการตลาดที่จะขายสินคา สาํ เร็จรูปและบรกิ ารสูมอื ผูบรโิ ภค 1) การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ จะทําใหพ นกั งานทุกคนไดร ูวา จะปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายใน ระยะเวลาไดอยางไร แผนการตลาดเปนเอกสารที่เขียนขึ้น เพ่ือใชเปนเสมือนหนังสือนําทางสําหรับ กจิ กรรมทางการตลาดแกผ ูจ ดั การฝา ยการตลาด
83 แผนการตลาดจะระบวุ ตั ถุประสงค และกจิ กรรมทตี่ องทําเพ่อื ใหบรรลุวัตถปุ ระสงคน น้ั การตลาด ถือเปนกิจกรรมที่ยากที่สุด ท่ีพนักงานและผูบริหารเขาใจรวมกันและทําเพ่ือนําไปสูเปาหมายรวมกัน การเขียนแผนการตลาดที่ชัดเจนเปนงานที่ตองใชเวลา แตเปนพ้ืนฐานในการส่ือสารภายในองคการ แผนการตลาดจะทําใหพ นกั งานทุกคนทราบวา ตนมีความรับผิดชอบอะไร ตองทําอะไร มีกรอบเวลาใน การปฏบิ ัตงิ านอยา งไร แผนการตลาดบง บอกวตั ถุประสงคและแนวทางการจัดสรรทรพั ยากรเพอื่ ใหบ รรลุ วตั ถปุ ระสงค แผนการตลาดเปนกรอบความคิดและใหทิศทางเชิงกลยุทธ สวนการนําไปปฏิบัติเปนการ ทํางานในลกั ษณะท่ีจดั การกับปญหา โอกาส และสถานการณ แผนการตลาดแสดงขั้นตอนงานท่ีเรียงเปน ลําดับกอ นหลงั กจ็ รงิ แตข ้นั ตอนเหลา น้นั อาจเกิดขึ้นพรอมกนั หรอื ประสานกันกไ็ ด การเขียนแผนมีหลาย รูปแบบ ขนึ้ อยกู ับองคก ร พันธกิจ วตั ถุประสงค กลุมเปา หมาย และสว นประสมทางการตลาดขององคกร นนั้ 2) การนําแผนไปปฏิบัติและการควบคุม เปนกระบวนการท่ีผูทําการตลาด ตองดําเนินงานตาม แผนการตลาดท่ีวางไว ดวยความมั่นใจวาสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ซ่ึงรายละเอียดในแผนจะระบุ กิจกรรม เวลา งบประมาณ ซ่ึงตอ งมีการสือ่ สารทด่ี ี เมื่อนาํ แผนการตลาดไปปฏิบัติแลว จะตองมีการประเมิน เพอ่ื ใหท ราบวา ไดดาํ เนินการบรรลุตาม วัตถุประสงคเ พียงใด มีอะไรท่ีควรแกไข การวางแผนมีความสัมพนั ธใกลชิดกบั การควบคมุ เนอื่ งจากแผน ไดระบถุ ึงส่ิงท่ีองคก รตอ งการบรรลุ 3) บัญชธี รุ กิจ 3.1 ความหมายของบญั ชีธรุ กจิ บัญชีธุรกิจ หมายถึง ระบบประมวลขอมูลทางการเงิน การจดบันทึกรายการคาตาง ๆ ที่เก่ยี วกบั การรบั – จา ยเงนิ ส่งิ ของ และสทิ ธิทมี่ มี ลู คา เปนเงินไวในสมุดบัญชอี ยางสมาํ่ เสมอ เปนระเบียบ ถูกตอ งตามหลกั การและสามารถแสดงผลการดาํ เนนิ งานและฐานะการเงินของกจิ การในระยะเวลาหนึง่ ได 3.2 ความสําคญั ของการทําบัญชี 1. เปน เครอ่ื งมอื วดั ความสําเรจ็ ในการดําเนนิ ธรุ กจิ โดยพจิ ารณาจากผลการดําเนินงาน ฐานะทางการเงินของธุรกิจ และความมั่นคงของธุรกิจ จะบันทึกบัญชีรายการตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในการ ดําเนินธุรกิจ เชน การลงทุน การรับ การจาย โดยไมนําสวนท่ีเปนของสวนตัวเขามาบันทึกดวย ส่ิงที่ บันทึกไวจะสามารถนํามาจัดทําเปนรายงานทางการเงินได เชน งบดุล งบกําไร ขาดทุน ซ่ึงเปนภาพ สะทอ นในการดาํ เนินธุรกิจ 2. เปนเครื่องมือชวยในการวางแผนและตัดสินใจธุรกิจ สามารถนํามาวิเคราะหความ เปนไปไดข องการลงทุนทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคต ดังน้ัน หากมีการบันทึกท่ีถูกตอง จะทําใหสามารถพัฒนา กจิ การใหเ จริญกา วหนา อยางยง่ั ยนื 3. เปนเครื่องมือในการวางแผนกําไร และควบคุมคาใชจายของบริษัท ชวยในการ ตดั สนิ ใจกําหนดราคาสนิ คา ชว ยในการควบคมุ ตนทนุ การผลิต และสามารถวิเคราะหปรับปรุงรายจายที่ ไมจําเปนออก รวมถงึ ชว ยในการวางแผนการดาํ เนินงานไดอยางถูกตอ ง เหมาะสมกบั ทรพั ยากรที่มอี ยู
84 3.3 ประเภทและขั้นตอนของการทาํ บญั ชีธรุ กจิ บัญชีรับ – จาย การทําบัญชีรายรับ – รายจาย หมายถึง การจดบันทึกเหตุการณตาง ๆ เกย่ี วกับการเงนิ หรอื อยา งนอยท่ีสุดบางสวนเกี่ยวของกับการเงิน โดยผานการวิเคราะห จัดประเภทและ บันทึกไวในแบบฟอรมท่ีกําหนดเพ่ือแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของกิจการในชวง ระยะเวลาหน่งึ การจดบันทึกการปฏิบตั งิ านและการทําบญั ชีรายรบั – รายจาย เปนการชวยความทรงจํา และถามีการจดบันทึกกิจการตาง ๆ อยางมีระบบ การลงบัญชีที่ดี มีความเขาใจในการจดบันทึก และ การสรปุ ขอ มลู ใหเ หมาะสมแลวสามารถนาํ ขอ มูลทีไ่ ดรบั มาใชประโยชนในการตัดสินใจทําการปลูกพืช ใหส อดคลองกบั ความตองการของตลาด แนวโนม ของราคา ตลอดจนเหตุการณตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอ การดาํ เนินกจิ กรรมไดอ ยา งเหมาะสมย่ิงขน้ึ ทาํ ใหผผู ลติ ทราบไดวากจิ การของตนเปนอยา งไร และวิธีการ อยางหนึ่งท่ีจะแสดงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานวามีรายรับ – รายจายอยางไร ชวยในการ ประเมินผลการดาํ เนินงานวามกี ําไร หรือขาดทุนอยางไรอกี ดวย รูปแบบการบันทึกการทําบัญชีรายรับ – รายจา ย ดังตัวอยาง ตวั อยาง แบบฟอรม การทาํ บญั ชีรายรบั – รายจาย แบบบญั ชีรายรับ - รายจา ย วนั เดอื น ป รายรับ จาํ นวนเงนิ วนั เดอื นป รายจา ย จํานวนเงนิ บาท สต. บาท สต. บญั ชีทรัพยสิน – หน้ีสนิ เปน การบนั ทกึ รายการทรัพยส นิ หนส้ี ินตาง ๆ เชน ทด่ี ิน เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกลตาง ๆ อุปกรณ การเกษตร ปจจัยการผลิต จํานวนผลผลิต ผลผลิตท่ีคงเหลือ ตลอดจนหน้ีสินตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในการ ดาํ เนนิ การผลิต ในการบันทกึ ทรพั ยส ิน – หนสี้ นิ ตาง ๆ เพ่ือจะนาํ ไปใชสรุปฐานะทางการเงินของตนเอง และเปนขอ มลู ที่จะใชในการคาํ นวณหารายไดตอ ไป โดยสรปุ เปนฤดูกาลเพาะปลูก หรือส้ินปใหกําหนด เปน มลู คา จาํ นวนเงิน ดงั ตัวอยา ง บัญชที รพั ยสิน – หนส้ี นิ
85 บัญชที รัพย – หนีส้ ิน รา นขายขนมเบเกอร่ี วนั เดอื น ป ทรัพยสนิ จํานวน จํานวน วนั เดอื น ป หนส้ี นิ จาํ นวน จาํ นวน หนว ย เงิน 5 ม.ค. 53 หนว ย เงิน 1 ม.ค. 53 รายการ 300,000 รายการ 100 ตร.ว 400,000 15 มี.ค. 53 1 400,000 25 ม.ี ค. 53 รถยนต 100 ตร.ว 500,000 กเู งนิ ซ้ือทด่ี ิน 30 ม.ี ค. 53 ทดี่ นิ 5,000 ฯลฯ รา นคา 1 อปุ กรณท าํ เบเกอรี่ 1 ชุด ฯลฯ
86 กจิ กรรมท่ี 12 ใหผูเรยี นศกึ ษาใบความรู เรือ่ ง การบรหิ ารจัดการในการขยายอาชีพใหเขา ใจ แลว สรุปแตละเร่ือง ใหส อดคลอ งกบั อาชพี ของตนเองหรอื อาชพี ทส่ี นใจมาพอสังเขป 1. การทําแผนธรุ กจิ …………………………………………………………………………………………………… …..……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 2. การจดั การความเสย่ี ง …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 3. การจัดการการผลติ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 4. การจดั การการตลาด …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 5. บญั ชธี ุรกจิ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
87 บทที่ 6 การจดั ทําและพัฒนาระบบการขยายอาชพี ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผลการเรียนรูท่คี าดหวงั สามารถดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงแผนธุรกิจดานการจัดการการผลิตหรือการบริการ และ ดานการจดั การการตลาด ตามแนวคิดของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ขอบขายเน้ือหา เรอื่ งที่ 1 องคป ระกอบของระบบขยายอาชพี ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เร่ืองที่ 2 การจดั ทาํ แผนธรุ กิจ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู 1. เอกสารหมายเลข 17 ใบความรู เร่ือง องคป ระกอบของระบบขยายอาชพี ตามแนวคดิ ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. เอกสารหมายเลข 18 ใบความรู เรอื่ ง การประยุกตหลักเศรษฐกิจพอเพียงกับประสบการณ ตนเอง จัดทาํ กรอบความคิดเหน็ ธุรกจิ ท่ีเหมาะสมกบั ตนเอง 3. เอกสารหมายเลข 19 คมู ือจดั ทําแผนธรุ กจิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเหมาะ กับตนเอง
88 เรื่องท่ี 1 องคประกอบของระบบขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ลักษณะบง ช้ีความสําเรจ็ ของการเรยี นรู 1. ชี้แจงภาพรวมขององคป ระกอบในระบบการขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. บอกความสัมพนั ธระหวาง ความมเี หตผุ ล ความพอดี และภมู ิคุมกันทน่ี ําไปสูการจัดทําแผน ธรุ กิจของการขยายอาชพี 3. บอกเหตผุ ลเชงิ สัมพันธใ นการใชค วามรอบรูเ พ่อื จัดการการตลาดและการผลิต 4. บง ชล้ี ักษณะการใชคุณธรรมขบั เคลอื่ นธรุ กิจ ลกั ษณะบง ชี้ความสาํ เรจ็ ของ กจิ กรรม การวดั ผล ประเมินผล สื่อการเรียนรู การเรียนรู 1. ช้แี จงภาพรวมของ 1. อานเอกสารหมายเลข 16 1. ทดสอบความเขา ใจ เอกสารหมายเลข 16 องคประกอบในระบบการ เรอ่ื ง องคประกอบของระบบ 2. สงั เกต การแสดงความ ใบความรู เรื่อง ขยายอาชพี ตามแนวคิด ขยายอาชพี ตามแนวเศรษฐกจิ คดิ เหน็ องคป ระกอบของระบบ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี ง แลวคิดความคิดรวบ 3. ประเมินความเปน ไปไดใ น ขยายอาชพี ตามแนวคิด 2. บอกความสมั พันธร ะหวาง ยอดเปน ของตนเอง เกีย่ วกับ การนาํ ไปใชจริง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ความมเี หตุผลความพอดี และ 1.1 ความพรอ มของระบบ 4. องคค วามรทู ่ีเกดิ ขนึ้ ใหม พอเพียง ภมู คิ ุมกนั ที่นาํ ไปสกู ารจัดทาํ การขยายอาชีพตามปรัชญา แผนธรุ กิจของการขยายอาชพี ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. บอกเหตผุ ลเชิงสมั พนั ธใ น 1.2 ความสัมพนั ธระหวา ง การใชค วามรอบรู เพ่อื จัดการ ความมเี หตผุ ล ความพอดี และ การตลาดและการผลิต ภูมิคุม กนั กบั การจัดตําแหนง 4. บง ชี้ลักษณะการใช ธุรกจิ การขยายอาชีพ คุณธรรมขบั เคลื่อนธุรกิจ 1.3 เหตผุ ลเชิงสัมพันธใ น การใชค วามรอบรู เพ่อื จัดการ การตลาดและการผลิต 1.4 สาระคณุ ธรรมทใี่ ช ขบั เคลอ่ื นธรุ กจิ 2. ผเู รยี นนาํ ความรทู ่ีสรุปจาก เอกสารหมายเลข 16 ไป แลกเปลีย่ นเรยี นรกู บั ผรู ู ผเู ช่ยี วชาญและผูประกอบการ
ลักษณะบง ชค้ี วามสาํ เร็จของ กจิ กรรม การวดั ผล ประเมนิ ผล 89 การเรยี นรู ส่อื การเรยี นรู กับประสบการณของตนเอง เปนความรใู หม 3. ผเู รียนนาํ ความรูใหมที่เกดิ จากการบูรณาการมา ตรวจสอบ ทดลองปฏบิ ัติการ หาความรู ความจริงกับตนเอง 4. ผเู รยี นดาํ เนินการประเมนิ ความเปน ไปไดในการ นาํ ไปใชจ รงิ แลวสรุปเปน องคความรขู องตนเอง
90 เอกสารหมายเลข 17 : ใบความรเู รอ่ื ง องคป ระกอบของระบบขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ภาพรวมขององคประกอบระบบการขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระบบตาง ๆ ท่ัวไปมักจะประกอบดวยการจัดปจจัยนําเขา กระบวนการดําเนินงานผลผลิต และการประเมนิ พัฒนา ดงั น้ันการจดั ทําระบบขยายอาชีพตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือ พัฒนาเศรษฐกิจของผูเรียน ครอบครัวชุมชนใหมีความพอเพียงไดดวยการนําเปาหมายความคิดของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาอา งองิ ประยุกตเปน ระบบดาํ เนินการ ซง่ึ มีลักษณะภาพรวมดังนี้ 1 2 3 4 5 ใชเหตผุ ล ใชหลกั ความ สรา งความ วเิ คราะหปญ หา พอดจี ดั ทําแผน ใชหลักภูมิคมุ กนั ใชห ลักคณุ ธรรม ความตอ งการ ธรุ กจิ ทเี่ หมาะสม วิเคราะหค วามเสีย่ ง รอบรู ขบั เคลือ่ น ควบคุม ใหกับ ประเมนิ และพัฒนา - ลกู คา แผนธรุ กจิ ทีป่ ระเภทตางๆ ตนเอง - ผลติ ภัณฑ ขยายอาชีพ การ - ผลิตภณั ฑ - ชองทางตลาด วเิ คราะหและ แผนจดั การ ขับเคลือ่ น เขา สตู ลาด - ทนุ จดั การความเส่ียง การตลาด - องคค วามรู ดานแผนกลยทุ ธ ธรุ กิจ - ฐาน แกผานรจตัดลกาาดร ลกู คา ขยายตัว การผลิต - พันธมิตร ทางธุรกจิ เพม่ิ แผนภมู ิ : แสดงระบบการขยายอาชพี ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากแผนภูมิขา งตนทําใหท ราบวา ระบบการขยายอาชีพตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีข้นั ตอนดังนี้ 1. ข้ันตอนการใชเหตุผล วิเคราะห ปญหาความตองการ ของการขยายอาชีพ เพ่ือได ขอ มูลสารสนเทศที่เปนเหตเุ ปนผล ดว ยการศึกษาสาํ รวจ ตรวจสอบเหตุการณ สรุปจําแนกขอมูลเชิงเหตุผล ดานตาง ๆ เชน (1) ลูกคา (2) คุณภาพผลิตภัณฑท ่ีลกู คาตองการ (3) ชอ งทางการตลาดเพ่อื การจดั จําหนาย (4) ทนุ ที่มอี ยู ทง้ั เงินทนุ อุปกรณ ทด่ี นิ แรงงาน และองคความรูท่จี ะตองใช 2. ข้ันตอนการใชหลักความพอประมาณความพอดี กําหนดแผนธุรกิจที่เหมาะสม ทําไดจรงิ ตองการนําขอ มูลเชงิ เหตุและผลมาเปน ฐานในการคดิ
91 3. ข้นั ตอนการใชห ลกั ภูมิคุมกัน สรางความมั่นคงลดความเสี่ยงท่ีจะเกิดขึ้นกบั การขยาย อาชพี ดวยการวิเคราะหศักยภาพ เพ่ือจัดการความเสี่ยงกับผลการดําเนินงาน เชน (1) สภาวะแวดลอม ภายใน จุดออน จุดแข็ง ของการดําเนินงานที่เก่ียวของกับ ผลิตภัณฑ คาใชจายตาง ๆ ของกําไร คูแขง สวนแบงตลาด และสมรรถนะของธุรกิจ (2) สภาวะแวดลอมภายนอกดานโอกาสและอุปสรรคท่ี เกยี่ วของ นโยบาย ของฝา ยปกครอง คแู ขง ขัน กฎหมายระเบียบตาง ๆ 4. ขั้นตอนการใชหลักความรอบรู เพ่ือวางระบบการจัดการการตลาดและการจัดการ การผลิต ข้ันตอนนเ้ี ปน การกําหนดกิจกรรมและขน้ั ตอนดําเนนิ กจิ กรรมเปนรายละเอียดของการทํางานท่ี จะตอ งใหผูรวมงานไดร ูเทากนั ทกุ ฝาย จงึ มรี ายละเอยี ดของความรูม ากมายที่จะตองเรียนรู ทําความเขาใจ จัดเปน เอกสารคมู อื ดาํ เนนิ งาน 5. ขั้นตอนการใชห ลักคุณธรรม เพื่อการขับเคล่ือน ควบคุม ประเมินและพัฒนาผลได ทางธุรกิจที่มีลักษณะสังคมชืน่ ชมยนิ ดีและเปน ไปในทางท่ตี อ งการ
92 2. ความสมั พันธ ระหวา งความมีเหตุผล ความพอดี และภูมคิ มุ กัน เพือ่ นําไปสกู ารจัดทาํ แผนธุรกิจของ 2 การขยายอาชีพ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มคี วามประสงคท่ีจะใหประชาชนดําเนินการประกอบอาชีพ ไปอยางมีเหตุผล มีความพอดี มีภูมิคุมกันใหปลอดจากอันตราย ดังน้ันแผนพัฒนาธุรกิจจึงตองมี ความสัมพนั ธก บั หลกั การดังกลาวดังแผนภูมิ 1 เหตผุ ลที่ทาํ ใหเกิด แผนธรุ กิจขยาย ความพอดขี อง ผลสาํ เรจ็ ของอาชพี อาชีพ อาชีพ - ทนุ วสิ ยั ทศั น ความถกู ตอง - ผลติ ภัณฑ พนั ธกจิ ความพอดกี บั ท่ีตอ งการ - ลกู คา กลยทุ ธ - ความสามารถของตนเอง 3 ภูมิคมุ กนั ใหป ลอด จากอนั ตราย - ความรใู นจดุ ออ น จดุ แข็ง โอกาสและอปุ สรรค ของธุรกจิ - ระวังความคาดหวังท่ีคิดวาตนเองไปถึงและ ความกลาเผชญิ หนากบั ส่ิงทีไ่ มต อ งการใหเกดิ - ไมเอาตวั เองเปนศูนยกลาง ยึดหลักการทํางาน รว มกันท่ใี หทกุ คนรเู ทา กัน จากแผนภูมดิ งั กลา วทําใหมองเห็นวา การขยายหรือพัฒนาอาชีพจะตองเร่ิมมาจากการใช ขอ มูล สารสนเทศของเหตุผล หรอื สิ่งท่ที ําใหเกิดผลทางธุรกจิ ไดแ ก ทนุ ลูกคา ผลิตภัณฑ และความสามารถ ของกลมุ หรือบคุ คลท่ีประกอบการอาชพี มากาํ หนดวิสัยทัศน พันธกิจ และกลยุทธดําเนินงานของแผนธุรกิจ ทม่ี คี วามถกู ตอ ง มีความเทา กบั ความตอ งการ หรือความพอดีท่ีควรจะเปน โดยผูประกอบการอาชีพจะตอง เขา ถงึ จุดออ น จดุ แขง็ โอกาสที่ควรจะไดรบั และอปุ สรรคตา งๆ ที่ขวางหนาไมคาดหวงั ทะเยอทะยานเกนิ ตน มคี วามกลาท่ีจะเผชิญหนาแกปญหากับส่ิงที่ไมตองการใหเกิด และยึดหลักการทํางานรวมกันท่ีใหทุกคน รูเทา ทันกันซง่ึ เปน ภูมคิ ุมกัน ใชเ ปนหลกั ในการกาํ หนดแผนพฒั นาธุรกจิ
93 3. ความรอบรกู ับการทาํ แผนขั้นตอนการจดั การการตลาดและการผลติ ข้นั ตอนตอไปจากการทาํ แผนธรุ กจิ เปน ขั้นตอนการจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารธุรกิจ เปนการ กําหนดกิจกรรมและขั้นตอนการดําเนินงานของการจัดการการตลาดและการผลิต เปนขั้นตอนที่ ผูป ระกอบอาชพี จะตองมีประสบการณความรูท ห่ี ลากหลายและซับซอ นไปตามลักษณะธุรกจิ ใหเพียงพอ ผปู ระกอบอาชพี จําเปนทจ่ี ะตองพฒั นาตนเองใหเปนบุคคลรอบรู การผลติ / การตลาด 1. ความรูใ นบทบาทหนาทขี่ องผูป ระกอบอาชพี 2. ความรูการบริหารจัดการทรัพยากรดําเนินงาน อาชีพ 3. ความรกู ารจัดการการผลติ และการตลาด 4. ความรู การควบคุม การวัดผล ประเมินผล คณุ ภาพในอาชพี จากแผนภมู ดิ งั กลาวขางตน จะพบวา หากวิเคราะหกลุมความรูทั้ง 4 ดานดังกลาวขางตน จะมี ความรูมากมายทผ่ี ปู ระกอบอาชพี จะตองเรียนรสู รา งภาวะความเปน ผูรอบรูอยา งตอเน่ือง 4. ลกั ษณะการใชค ณุ ธรรม ขับเคลอ่ื นธุรกิจ คุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง สภาพคุณงามความดีของ การทํามาหากิน การผลิต การจําหนายจายแจก การบริโภค การใชสอยที่มีความขยัน ความประหยัด ความซอ่ื สัตย และความอดทนเปน หลักในการทํางาน ความขยนั ผูประกอบการ ความประหยดั การใชท รัพยากรการดําเนินงาน ความซื่อสัตย การจัดการการผลติ และการตลาด ความอดทน อดกลน้ั การควบคุมคณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162