Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษา ทช31003

ศิลปศึกษา ทช31003

Published by อธิปัตย์ คําโอภาส, 2021-02-03 01:17:46

Description: มัธยมศึกษาตอนปลาย

Search

Read the Text Version

91 โอกาสความกา วหนาในอาชีพ นกั ออกแบบเครื่องเฟอรนิเจอรควรศึกษากลยุทธทางการตลาดเพื่อทําธุรกิจสวนตัว อาจสรางเว็บไซต แสดงสินคาท่ีออกแบบใหผ ซู ือ้ จากทั่วโลกเขาชมและสั่งซื้อได ควรสงสินคาเครื่องเรือนไปแสดงในงานตาง ๆ ท่ีจดั ขึน้ อาชีพทเี่ กี่ยวเน่อื ง ผสู งออกเฟอรนิเจอร ผอู อกแบบสนิ คาของขวัญ หรือของเลนสําหรับเด็กหรือของขวัญงานเทศกาลใน ตางประเทศ สถาปนกิ 3. นักออกแบบเสอ้ื ผาแฟชน่ั (Fashion - Designer) ลกั ษณะภาพแสดงการออกแบบเส้อื ผา แฟช่นั ของนกั ออกแบบอาชีพ ลักษณะของงานทที่ ํา ผูประกอบอาชีพนักออกแบบเส้ือผาแฟช่ัน จะมีหนาที่คลายกับนักออกแบบเครื่องประดับหรือ นักออกแบบเครื่องเรือน โดยมีหนาท่ี วิเคราะห ศึกษาวัสดุที่นํามาออกแบบสิ่งทอ ลายผา และเน้ือวัสดุ เพ่ือตัด เย็บ และวิธีการตัดเย็บ ควบคุมการตัดเย็บใหเปน ไปตามแบบท่ีออกไวและสามารถใหคําแนะนําในเรื่องการ แกไ ขขอบกพรอ งของรูปรางแตละบคุ คลโดยมพี ้ืนฐานความเขาใจในศิลปะการแตง กายของไทยโบราณและการ แตง กายแบบตะวันตกยุคตางๆ ในการออกแบบ ตลอดจนในขน้ั ตอนการผลิตสามารถนาํ เทคนคิ ทางเทคโนโลยี ที่มตี อ การสรา งงานศลิ ปม าประยุกตใ ชโ ดยจะมีข้ันตอนการทํางานออกแบบใหผูวาจาง ดงั น้ี

92 1. ตองรวบรวมความคิดขอมลู ทเ่ี ปน สดั สว นจากลูกคาหรือผวู าจาง 2. ศึกษารปู แบบงานทมี่ อี ยูถา สามารถนํากลับมาใชใหมหรือดัดแปลงเพื่อลดระยะเวลาการทํางานและ ตน ทุนการผลิต ในเวลาเดยี วกนั ตองทําการคน ควา วิจยั ดว ย 3. ทาํ การรางแบบครา วๆ โดยคุมใหอยใู นแนวความคดิ ดังกลา วใหไ ดตามความตองการ 4. นําภาพท่ีราง แลวใหผูวาจางพิจารณา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการผลิตรวมท้ังการใช วัตถุดิบ และประเมินราคา 5. นําภาพรางที่ผา นการพิจารณาและแกไขแลว มาสรา งแบบ (Pattern) วธิ ีท่ีจะตองตดั เยบ็ ใน รายละเอียด ปก กุน เดนิ ลาย หรอื อัดพลดี แลว นํามาลงสีตามจริง เขียนภาพและอธิบายวิธีการทําใหละเอียดและชัดเจนท่ีสุด เทาท่ีสามารถจะทาํ ไดเพ่อื ใหชางทําตามแบบได 6. สงแบบหรือชุดท่ีตัดเนาไวใหฝายบริหารและลูกคา หรือผูวาจาง พิจารณาทดลองใสเพื่อแกไข ขอ บกพรองข้ันสุดทาย 7. นําแบบที่ผูวา จา งเห็นชอบทาํ งานประสานกบั ชา งตัดเยบ็ ชา งปก เพอ่ื ใหไ ดผลงานตามที่ลกู คา ตอ งการ สภาพการจางงาน สาํ หรับนักออกแบบเสอ้ื ผาแฟชั่นท่มี คี วามสามารถและผลงานเมอื่ เริ่มทํางานกับบรษิ ัทผลิตและ ออกแบบเส้ือผาอาจไดอตั ราคาจา งเปน เงนิ เดอื นสําหรบั วฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ประโยควิชาชีพและประโยควิชาชีพ ช้นั สูงหรือเทยี บเทา อาจไดร ับอตั ราคาจางขน้ั ตน เปน เงนิ เดอื นประมาณ 8,000 -10,000 บาท สว นผูส ําเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี จะไดรบั เงินประมาณ 9,000 - 10,000 บาท หรืออาจมากกวา ขึ้นอยูกบั ฝมอื การ ออกแบบและประสบการณข องนกั ออกแบบแตล ะคน มีสวสั ดกิ าร โบนสั และสิทธิพิเศษอ่นื ๆ ขึน้ อยูก บั ผล ประกอบการของเจา ของกจิ การ สวนมากนักออกแบบเสื้อผาหรือแฟช่ันจะมีรานหรือใชบานเปนรานรับออกแบบตัดเส้ือผาเปนของ ตนเองเปน สวนใหญเ น่ืองจากเปน อาชีพอิสระทีม่ รี ายไดดี สําหรับนักออกแบบประจําหองเสื้อหรือรานเสื้อใหญๆ หรือโรงเรียนสอนตัดเสื้อที่มีผลงานแสดง เปนประจาํ นน้ั เปน ผทู มี่ ปี ระสบการณส ูงและตองมผี ูสนับสนนุ คา ใชจา ยในการแสดงผลงานและคอลเล็คช่ันของ ตนเอง สภาพการทาํ งาน ผปู ระกอบการนักออกแบบเสื้อผาแฟช่ันในสถานท่ีประกอบการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปจะปฏิบัติหนาที่ เหมือนในสาํ นักสรา งสรรคท ั่วไปท่คี อ นขา งเปน สัดสว น มอี ปุ กรณ เครื่องใชในการออกแบบ เชน โตะเขยี นแบบ หนุ ลองเสอ้ื ขนาดตางๆ ตามทต่ี ัดเย็บ ผา กระดาษสรางแพทเทิรน และสสี าํ หรับลงสี เพื่อใหภาพออกแบบเหมือน จรงิ อาจมีเครอื่ งคอมพวิ เตอรชว ยในการออกแบบและใหส ีไดเ ชน กันหรอื สแกนภาพที่วาดแลวลงในคอมพวิ เตอร เพ่ือชวยใหการนําเสนอตอ ลกู คาสมบูรณย่ิงขนึ้ ในกรณีผลิตเส้ือผาสําเร็จรูปอาจมีผูชวยทํางานในการสรางแบบ (Pattern)

93 คุณสมบัตขิ องผูป ระกอบอาชีพ ผูสนใจในอาชพี นักออกแบบเสอ้ื ผา แฟชน่ั ควรมคี ณุ สมบัตทิ ั่วๆ ไปดังน้ี 1. มีความคิดสรา งสรรค มีความชอบและรักงานดา นออกแบบ มมี ุมมองเร่ืองของศิลปะรักความสวยงาม อาจมพี ้นื ฐานทางดา นศิลปะบา ง 2. มีความกระตือรือรน ชางสงั เกตวา มีความเปล่ียนแปลงอะไรบาง กลาคิดกลาทาํ กลาที่จะถายทอด 3. มคี วามสามารถในการถายทอดความคดิ หรือแนวคดิ ใหผอู นื่ ฟงได ผูทจ่ี ะประกอบอาชพี นักออกแบบเสื้อผาแฟช่นั ควรมีการเตรียมความพรอมในดา นตอ ไปน้ี คือ ผูทม่ี ีคณุ สมบัติขน้ั ตน ดงั กลา ว สามารถเขารบั การอบรมหลกั สูตรระยะสัน้ ในการออกแบบตัดเยบ็ เส้ือผา ไดทีโ่ รงเรยี นหรือสถาบันการออกแบบตดั เย็บเสื้อผาท่ีมีช่ือเสียงทั่วไป ซ่ึงเปดรับผูสนใจเขาเรียนโดยไมจํากัด วุฒิการศึกษาเพราะการออกแบบเส้ือผาขึ้นอยูกับความริเริ่มสรางสรรคประสบการณและการฝกหัดสําหรับ ผูส ําเร็จชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่ตองการศึกษาตอในหลักสูตรปริญญาตรี นอกจากโรงเรียนหรือวิทยาลัย สาย วิช าชี พแลว ยังสาม าร ถสอบ คัด เลือกเขา ศึก ษา ตอร ะดั บอุ ดม ศึก ษา โดย มีค ณะ ศิลปก รร ม มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ไดเปดสาขาวชิ าการ ออกแบบพสั ตราภรณผูท ี่เขารับการศึกษาในสาขาวิชาทางดานน้ี จะไดร ับความรูใ นเรอ่ื งของความรพู นื้ ฐานเกีย่ วกบั การพฒั นาสิง่ ทอและเครื่องแตงกายของไทย ตะวันออก และ ตะวันตก เพ่อื สบื ทอดมรดกและศลิ ปสิ่งทอของไทยในทองถน่ิ ตา งๆนอกจากน้ี ยงั มสี ถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ คณะคหกรรมศาสตรสาขาผา และเครื่องแตงกาย ธุรกิจเส้ือผา ฯลฯ โอกาสในการมงี านทํา ผูที่สําเร็จการศึกษาแลวสามารถนําความรูซ่ึงเปนที่ตองการของตลาดในยุคปจจุบัน คือ สามารถ ออกแบบสิ่งทอสาํ หรบั อุตสาหกรรมระดบั ตา งๆ ได มีความรูในเร่อื งการบรหิ ารการตลาด และการใชเทคโนโลยี ท่จี าํ เปนตอ อตุ สาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผาสําเร็จรปู ในวงการแฟชั่นในประเทศไทยยังไมสามารถเปนศูนยกลางของการออกแบบแฟช่ันไดแตกลับเปน ศูนยกลางของวัตถุดิบอยางเชนผาไหมและการผลิตเส้ือผาเพื่อการสงออกภายใตยี่หอสินคาตางประเทศและ เสือ้ ผาสาํ เรจ็ รูป เพราะมีคา แรงราคาถกู อยา งไรก็ตาม ในชวงทศวรรษท่ีผา นมาในวงการออกแบบเสื้อผา ไทยถอื วา มีความสาํ เร็จในระดับหนึ่งที่ การผลติ เส้ือผาสําเร็จรูปภายใตย่ีหอไทยไดมีการสงออกไปขายในตางประเทศบางแลว เชน Fly Now หรือใน เรือ่ งของการสนบั สนุนการออกแบบลายผาไหมท่ีมลี ายเปนเอกลักษณและการใหสีตามที่ลูกคา ในตางประเทศ ตองการ และสามารถสงออกได นักออกแบบแฟชัน่ ในตางประเทศหลายสถาบันตางก็ใหความสนใจแนวการแตงกาย วัฒนธรรมและ การใชชวี ิตอันเปน เอกลักษณของชาวเอเชียมากขึ้น ดังนั้นนักออกแบบแฟชั่นไทยควรหันมาสนใจ วัตถุดิบใน ประเทศและคิดสรา งสรรคง านทเ่ี ปน เอกลักษณและโดดเดน เพราะแรงงานและวัตถุดิบในประเทศยังมีราคาถูก ตลาดสิ่งทอไทยในตางประเทศ เชน เสอ้ื ผาถกั สาํ เร็จรูป เสอ้ื ผาทอสําเรจ็ รูปยังมศี ักยภาพในการสงออกสูง

94 นอกจากนรี้ ฐั บาลและแนวโนม ของคนไทยกาํ ลงั อยูในระหวางนยิ มเลือกใชส ินคาไทยโดยเฉพาะเสื้อผา สาํ เรจ็ รูปและผลติ ภณั ฑเครอ่ื งนงุ หม ท่ไี ดม าตรฐานการสงออกนบั เปนโอกาสอันดีที่นักออกแบบแฟช่ันสามารถ สรา งสรรคงานไดเ ตม็ ทหี่ รือมแี นวคดิ รปู แบบการสรา งสรรคงานใหม หรือแนวโนมใหมที่มีเอกลักษณโดดเดน ในการใชวสั ดุในทองถนิ่ มาประยกุ ตใ ช ขยายแหลงวตั ถุดบิ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตพยายามใหตนทุนการผลิต ตอ หนวยตํ่ามากที่สุด เพ่ือคงตนทุนการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปของไทยไวเผชิญกับการเปดเสรีสิ่งทอในป 2548 เพราะเวลานั้นผูนําดานการตลาด แฟชั่นและเทคโนโลยีการผลิตเทาน้ันท่ีสามารถจะครองตลาดส่ิงทอได ในตางประเทศหรือแมแตตลาดเส้ือผาบริเวณชายแดนไทยที่คูแขงขันสามารถนําเสื้อผาเขามาตีตลาดไทยได นักออกแบบแฟชัน่ จงึ เปน สวนสาํ คญั ที่จะตองรกั ษาฐานตลาดของไทยไวท้งั ในเชิงรกุ ในการผลิต สรางเครือขาย ทั้งระบบขอมูลขา วสาร และเครือขา ยจาํ หนา ยสินคา โอกาสความกา วหนาในอาชีพ ปจจัยท่ีทําใหผูท่ีประกอบอาชีพนักออกแบบแฟชั่น-นักออกแบบเส้ือผา (Fashion-Designer) ประสบ ความสาํ เร็จและกา วหนาในอาชีพกค็ อื การคงไวซึ่งการเปน นกั ออกแบบเส้อื ผาหรือแฟชน่ั ดีไซเนอรไ ว ซ่ึงตองใช โอกาสเวลา และคาใชจายในการผลิตและการแสดงผลงานท่ีมีตนทุนตํ่าใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ เต็มศกั ยภาพ นกั ออกแบบแฟชนั่ ไมควรย่ําอยูกบั ทีค่ วรมคี วามคิดเชงิ รกุ มากกวารบั เพียงคาํ สั่งจากลูกคา ควรศึกษาหา ความรทู ีเ่ กย่ี วขอ งกับการประกอบอาชพี และควรสรา งโอกาสใหต นเอง เชน การศึกษาภาษาตางประเทศเพิ่มเติม ศึกษาดานการตลาด ความตองการของลูกคากลุมเปาหมายลูกคาใหม เสาะหาแหลงตลาดวัตถุดิบเพ่ิม ประสิทธิภาพการผลิตที่ครบวงจร สรา งแนวโนมแฟชั่น ศึกษารูปแบบของสนิ คาจากตางประเทศ และขอกีดกัน ทางการคาซง่ึ เปน ปจ จยั ในความกาวหนาทันโลก และยืนอยูในอาชพี ไดนานและอาจสรางผลงานท่ีคนไทยภูมิใจ หนั มาใสเ ส้อื ผา ท่ผี ลติ โดยนกั ออกแบบเส้ือผาไทยกันท่วั ประเทศ อาชีพที่เก่ยี วเนอ่ื ง ครู – อาจารยใ นวิชาท่เี ก่ียวของ เจาของรานหรือหองเส้ือ เจาของโรงเรียนสอนออกแบบตัดเย็บเส้ือผา นกั ออกแบบเคร่ืองประดับ

95 กจิ กรรม 1. ใหผเู รยี นเขยี นอธิบายลักษณะอาชพี ดานการออกแบบ ตกแตง ที่อยูอาศัย ออกแบบเครื่องเรือน และ ออกแบบแฟชั่นตามที่ผูเรียนเขาใจ 2. ใหผูเรียนอธิบายถึงคุณสมบัติของผูท่ีจะประกอบอาชีพดานการออกแบบตกแตงท่ีอยูอาศัย ออกแบบเคร่อื งเรอื น และออกแบบแฟชั่น ตามท่ีผเู รยี นเขาใจ นาํ คําอธิบายในขอ 1 และ ขอ 2 เขา รวมอภิปรายแสดงความคดิ เห็นในกลมุ การเรียนของผเู รยี น

96 บรรณานกุ รม กาํ จร สนุ พงษศร.ี ประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะตะวันตก. กรงุ เทพฯ : คาลเดยี เพรสบคุ , ๒๕๕๒. จรี พนั ธ สมประสงค. ประวัตศิ ิลปะ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๓๓. จีรพันธ สมประสงค. ศลิ ปะประจาํ ชาต.ิ กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๓๓. จีรพนั ธ สมประสงค. ทัศนศิลป ม.๑ – ๒. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๓. จรี พันธ สมประสงค. ศิลปะกบั ชวี ติ . กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๔๑. ชะลดู น่ิมเสมอ. องคประกอบศลิ ป. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๙. ทวีเดช จวิ๋ บาง. ความคดิ สรา งสรรคศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๗. ประเสริฐ ศิลรัตนา. สนุ ทรยี ะทางทัศนศลิ ป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๒. ประเสรฐิ ศิลรตั นา. ความเขา ใจศลิ ปะ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๕. มานพ ถนอมศรี และคณะ. ศลิ ปะกบั ชวี ติ ๔. กรงุ เทพฯ : บรัท สาํ นกั พิมพแม็ค จาํ กดั , ๒๕๔๒. มะลฉิ ตั ร เอือ้ อานนท. สุนทรยี ภาพและศลิ ปวิจารณ. กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พแหงจุฬาลงลงกรณ มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๓. วริ ณุ ต้งั เจรญิ , อํานาจ เยน็ สบาย. สรา งสรรคศลิ ปะ ๔. กรุงเทพฯ : อักษราเจรญิ ทัสน, ม.ป.ป. วชิ าการ, กรม. ทฤษแี ละการปฏบิ ัตกิ ารวิจารณศิลปะ, กรุงเทพฯ : องคการคา ครุ สุ ภา, ๒๕๓๓. วชิ าการ, กรม. ศลิ ปะกบั ชีวติ ม.๑-๖. กรงุ เทพฯ : องคการคา ครุ สุ ภา, ๒๕๓๖. วริ ัตน พชิ ญไพบูลย. ความเขา ใจศิลปะ, กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๒๔. วิรตั น พชิ ญไพบลู ย. ความรูเ กยี่ วกบั ศิลปะ, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๐. วิญู ทรพั ยป ระภา และคณะ. ศิลปะกับชีวติ ม.๑-๖, กรุงเทพฯ : ประสานมติ ร, ๒๕๓๕. ศลิ ป พรี ะศร.ี ทฤษฎอี งคป ระกอบ, กรงุ เทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๔๔๗. สดุ ใจ ทศพร และโชดก เกง เขตรกจิ . ศลิ ปะกบั ชีวติ ม.๑-๖. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๖. อารี สทุ ธิพันธ. ศลิ ปะนิยม. กรุงเทพฯ : กระดาษสา, ๒๕๒๘.

97 ทีป่ รกึ ษา คณะผูจัดทาํ 1. นายประเสรฐิ บญุ เรือง เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชยั ยศ อิ่มสวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน. ทป่ี รกึ ษาดา นการพฒั นาหลกั สูตร กศน. 3. นายวชั รินทร จาํ ป ผูอ ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ ขา ราชการบํานาญ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ ขา ราชการบาํ นาญ ผูเ ขียนและเรียบเรยี ง ขา ราชการบํานาญ กศน. เฉลมิ พระเกยี รติ จ.บุรีรมั ย 1. นายวิวฒั นไชย จนั ทนสคุ นธ สถาบนั กศน. ภาคใต สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก 2. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผูบรรณาธิการ และพัฒนาปรับปรงุ 1. นายวิวฒั นไ ชย จนั ทนสุคนธ 2. นายจํานง วันวิชยั 3. นางสรญั ณอร พฒั นไพศาล 4. นายชยั ยันต มณสี ะอาด 5. นายสฤษดชิ์ ัย ศิริพร 6. นางชอทพิ ย ศริ พิ ร 7. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป คณะทาํ งาน 1. นายสุรพงษ ม่นั มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศรญิ ญา กลุ ประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วฒั นา

98 ผพู มิ พตนฉบบั กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางสาวปยวดี คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพิพฒั น กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลนิ ี ธรรมธษิ า กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวอลศิ รา บานชี กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ผูออกแบบปก ศรีรตั นศิลป 1. นายศุภโชค

99 ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 2 คณะทีป่ รกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน. อ่มิ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. นายประเสริฐ จําป รองเลขาธิการ กศน. นายชยั ยศ จนั ทรโอกุล ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดา นพัฒนาส่อื การเรียนการสอน นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดา นการเผยแพรทางการศกึ ษา นางวทั นี ธรรมวธิ กี ลุ หัวหนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก นางชลุ ีพร งามเขตต ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางอัญชลี นางศุทธินี ผพู ฒั นาและปรบั ปรุงคร้ังที่ 2 นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นายกติ ตพิ งศ จันทวงศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางสาวผณินทร แซอ งึ้ นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วฒั นา

100 คณะผปู รับปรงุ ขอมูลเก่ยี วกับสถาบันพระมหากษตั ริยป พ.ศ. 2560 ท่ปี รกึ ษา 1. นายสุรพงษ จาํ จด เลขาธกิ าร กศน. 2. นายประเสรฐิ หอมดี ผูต รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปฏบิ ัติหนาท่รี องเลขาธิการ กศน. 3. นางตรนี ชุ สุขสุเดช ผอู ํานวยการกลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ผูปรับปรงุ ขอมลู ม่ันมะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นายสุรพงษ คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 4. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวาง กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ิชยั กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook