Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 23.ทักษะการพัฒนาอาชีพ อช21002

23.ทักษะการพัฒนาอาชีพ อช21002

Published by อธิปัตย์ คําโอภาส, 2021-06-09 07:31:08

Description: 23.ทักษะการพัฒนาอาชีพ อช21002

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ทกั ษะการพฒั นาอาชีพ (อช21002) ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิ เป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 28/2555

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ทกั ษะการพฒั นาอาชีพ (อช21002) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 28/2555

คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 เม่ือวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและ ความเชือ่ พน้ื ฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่มี ีกลมุ เปา หมายเปนผใู หญมกี ารเรียนรูและสั่งสมความรู และประสบการณอ ยางตอเน่อื ง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือนนโยบาย ทางการศึกษาเพ่ือเพม่ิ ศกั ยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง รายไดทีม่ ง่ั ค่ังและมัน่ คง เปน บุคลากรท่ีมวี ินัย เปย มไปดวยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม และมจี ติ สาํ นึกรบั ผดิ ชอบ ตอตนเองและผูอ่ืน สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู ทค่ี าดหวงั และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใหม ีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซึง่ สงผลใหตอง ปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและ การเตรยี มพรอ ม เพอ่ื เขา สปู ระชาคมอาเซียน ในรายวชิ าท่มี คี วามเกี่ยวของสมั พนั ธกัน แตย งั คงหลักการและ วธิ ีการเดมิ ในการพัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรูกับกลุม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญา ทองถ่ิน แหลงการเรยี นรูและสื่ออื่น การปรบั ปรุงหนงั สือเรยี นในครัง้ น้ี ไดร ับความรว มมืออยางดียิง่ จากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา และผูเก่ียวของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อตาง ๆ มา เรียบเรียงเนื้อหาใหค รบถว นสอดคลองกบั มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัดและกรอบเน้ือหาสาระ ของรายวชิ า สาํ นกั งาน กศน. ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวาหนังสือเรียน ชุดน้ีจะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอ มรบั ดว ยความขอบคณุ ย่ิง

สารบัญ หนา คํานาํ 1 คําแนะนาํ การใชหนงั สอื เรียน โครงสรา งรายวิชาทกั ษะการพฒั นาอาชพี 2 บทท่ี 1 ทกั ษะในการพฒั นาอาชีพ 15 16 เรอ่ื งท่ี 1 ความจําเปน ในการฝก ทักษะ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด 19 ทใ่ี ชน วตั กรรมเทคโนโลยเี พอื่ พัฒนาอาชพี 22 24 เร่ืองที่ 2 ความหมายความสําคัญของการจัดการอาชีพ 25 เรื่องที่ 3 แหลง เรยี นรู และสถานท่ีฝก อาชพี 26 เรื่องที่ 4 การวางแผนฝก ทกั ษะอาชพี เรือ่ งที่ 5 การฝก ทกั ษะอาชพี 34 บทที่ 2 การทาํ แผนธุรกิจเพอ่ื การพฒั นาอาชีพ 38 เร่อื งท่ี 1 ความหมายและความสําคญั ของการจดั การพฒั นาอาชีพ 41 เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหช มุ ชนเพือ่ การพัฒนาอาชีพ 43 เรื่องที่ 3 การกาํ หนดวสิ ัยทัศน พนั ธกจิ เปา หมาย และกลยุทธในการวางแผน 44 45 พัฒนาธรุ กจิ ของชมุ ชน 51 เร่ืองที่ 4 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 53 เร่ืองที่ 5 การวางแผนปฏบิ ัตกิ าร 57 บทที่ 3 การจดั การความเสยี่ ง 58 เร่อื งท่ี 1 ความหมายของความเสี่ยง และการจดั การความเสย่ี ง 59 เรอ่ื งที่ 2 การวเิ คราะหศ กั ยภาพ และการจัดการความเส่ยี งกับผลการดําเนินงาน 63 เร่ืองที่ 3 การแกปญ หาความเสยี่ ง เรอ่ื งท่ี 4 การวางแผนปฏิบัตกิ ารจดั การความเสี่ยง บทท่ี 4 การจดั การการผลติ การบริการ เร่ืองที่ 1 การจัดการเกี่ยวกับการควบคุมคณุ ภาพการผลติ หรอื การบรกิ าร เรอ่ื งท่ี 2 การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยใี นการผลิต เรอ่ื งที่ 3 การลดตนทนุ การผลติ หรือการบรกิ าร

บทที่ 5 การจดั การการตลาด 66 เร่ืองที่ 1 การจัดการการตลาด 67 เร่อื งท่ี 2 การจัดทําแผนปฏบิ ัตกิ าร 76 80 บทท่ี 6 การขบั เคลือ่ นเพอื่ พฒั นาธรุ กิจ 81 เรอื่ งท่ี 1 การวเิ คราะหค วามเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี 83 เรอ่ื งท่ี 2 การพัฒนาแผนพฒั นาอาชีพ 84 เรอื่ งท่ี 3 ข้นั ตอนการขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาอาชีพ 87 เรอ่ื งที่ 4 ปญหาอปุ สรรคและแนวทางแกไขทเ่ี กดิ จากการขับเคลื่อนแผนธุรกจิ 90 91 บทท่ี 7 โครงการพฒั นาอาชพี 94 เรื่องท่ี 1 ความสาํ คญั ของโครงการพฒั นาอาชีพ 101 เรอ่ื งที่ 2 ขนั้ ตอนการเขียนโครงการพฒั นาอาชีพ 102 เรอ่ื งท่ี 3 การเขียนแผนปฏบิ ัติการ 106 เรอ่ื งท่ี 4 การตรวจสอบโครงการพัฒนาอาชพี บรรณานกุ รม

คําแนะนําการใชห นังสอื เรยี น หนงั สอื เรยี นสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชีพ รหสั อช21002 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน เปน หนังสอื เรียนทจ่ี ัดทําขนึ้ สําหรับผูเรียนทีเ่ ปนนกั ศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนงั สือเรยี นสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชพี ผเู รียนควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขาใจในหวั ขอ และสาระสาํ คญั ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง และขอบขาย เน้อื หาของรายวชิ าน้นั ๆ โดยละเอยี ด 2. ศกึ ษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอยี ด และทํากิจกรรมตามทกี่ ําหนด ถาผเู รียนไม เขาใจควรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจเน้อื หาใหม 3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมทา ยเร่อื งของแตล ะเรอ่ื ง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขา ใจของเนอื้ หาในเร่ืองนั้น ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัตกิ ิจกรรมของแตละเน้อื หา แตล ะเร่ือง ผูเรียนสามารถนาํ ไปตรวจสอบกบั ครแู ละ เพอ่ื น ๆ ทร่ี ว มเรียนในรายวิชาและระดบั เดยี วกนั ได 4. แบบเรียนเลมนี้มี 7 บทเรียน ประกอบดว ย บทท่ี 1 ทักษะในการพัฒนาอาชพี บทที่ 2 การทาํ แผนธรุ กจิ เพ่ือการพฒั นาอาชพี บทที่ 3 การจดั การความเสี่ยง บทท่ี 4 การจดั การผลผลติ การบรกิ าร บทที่ 5 การจดั การการตลาด บทที่ 6 การขับเคลือ่ นเพอ่ื พัฒนาธรุ กจิ บทท่ี 7 โครงการพฒั นาอาชีพ

โครงสรา งรายวชิ าทักษะการพฒั นาอาชพี อช21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการเรยี นรู การประกอบอาชีพจาํ เปน ตอ งพัฒนาอยางตอเน่ืองเพ่ือใหทันกับการเปล่ียนแปลง โดยศึกษา วิเคราะห ทกั ษะในกระบวนการผลิต กระบวนการตลาดในอาชีพที่ประกอบการอยูในขณะน้ัน วามีจุดออน จุดแขง็ อยา งไร เพอ่ื ปรบั ปรุงแกไ ขใหทันกบั การเปล่ียนแปลงน้นั มาตรฐานการเรียนรรู ะดบั มคี วามรู ความเขาใจทักษะในการพัฒนาอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกบนพ้ืนฐานความรู กระบวน การผลิต กระบวนการตลาดท่ีใชนวตั กรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม และประยกุ ตใชภูมปิ ญ ญา มีความรู ความเขาใจและสามารถจัดทําแผนงานและโครงการธุรกิจเพื่อพัฒนาอาชีพ เขา สตู ลาดการแขงขนั ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อสูความเขม แขง็ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั 1. อธิบายทกั ษะท่ีเก่ยี วขอ งในกระบวนการผลิต กระบวนการตลาดท่ใี ชน วัตกรรมเทคโนโลยี ในการพฒั นาอาชีพที่ตัดสนิ ใจเลอื กได 2. เหน็ ความสมั พันธข องการจัดระบบเตรยี มความพรอ มกบั การพฒั นาอาชพี 3. ปฏิบัติการวเิ คราะหทักษะในการพฒั นาอาชีพ 4. อธบิ ายความหมายความสาํ คัญของการจดั การอาชพี เพอื่ พฒั นาอาชพี ได 5. ดาํ เนนิ การปรบั ปรุงแผนธรุ กิจดานการจดั การการผลติ หรอื การบริการ และดานการจัดการ การตลาดตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได 6. อธิบายความสัมพนั ธระหวางระบบการพฒั นาธุรกิจกบั การขบั เคล่อื นธรุ กจิ อยางมคี ณุ ธรรม 7. ปฏิบตั กิ ารจัดทาํ แผนและโครงการพฒั นาอาชีพได ขอบขา ยเนอ้ื หา บทที่ 1 ทักษะในการพฒั นาอาชพี บทที่ 2 การทาํ แผนธรุ กจิ เพือ่ การพฒั นาอาชพี บทท่ี 3 การจดั การความเส่ยี ง บทท่ี 4 การจดั การผลผลติ การบรกิ าร บทที่ 5 การจดั การการตลาด บทท่ี 6 การขับเคล่อื นเพ่ือพฒั นาธรุ กิจ บทที่ 7 โครงการพฒั นาอาชีพ

1 บทที่ 1 ทกั ษะในการพฒั นาอาชีพ สาระการเรยี นรู การประกอบอาชีพจําเปนตองมีการพัฒนาทั้งดานกระบวนการผลิต และกระบวนการตลาด อยางตอเนื่อง เพื่อใหสินคาอยูในตลาดไดนาน โดยนํานวัตกรรมเทคโนโลยีมาประยุกตใชกับภูมิปญญา ใหเหมาะสม นอกจากจะมคี วามรู ความสามารถในทักษะกระบวนการผลิตและกระบวนการตลาดแลว ผูประกอบ ธุรกิจจาํ เปนตองมีความสามารถดานอื่น ๆ ประกอบดวย ไดแก การหาแหลงที่เอื้อตอการพัฒนาอาชีพ ความเขาใจในปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพัฒนาตนเองอยางสม่ําเสมอ จึงจะทาํ ใหอ าชีพมีความเขมแข็ง กอนท่ีจะฝกทักษะเพื่อพัฒนาอาชีพจะตองทราบวา จะฝกทักษะอะไรบาง แลววางแผนการฝกวา จะฝกอยางไร ท่ไี หน เมอ่ื ไร ระหวา งการฝกควรมกี ารจดบันทึกเพอื่ สรปุ เปนองคความรู ตัวชี้วัด 1. อธิบายความจําเปนในการฝกทักษะกระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใชนวัตกรรม เทคโนโลยี 2. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพ และระบบการจัดการเพื่อการพัฒนาอาชีพ โดยประยกุ ตใ ชภมู ปิ ญญา 3. อธบิ ายแหลง เรยี นรทู ี่เออ้ื ตอ การพัฒนาอาชีพได 4. สามารถวเิ คราะหต นเองในการพฒั นาอาชพี ได 5. อธิบายวธิ กี ารวางแผน การฝกทกั ษะเพอ่ื พัฒนาอาชีพได 6. มที กั ษะการบนั ทึกขอ มูล การฝกทกั ษะและขอมลู จากแหลง เรยี นรเู พือ่ พฒั นาอาชีพได ขอบขายเนื้อหา เร่อื งท่ี 1 ความจาํ เปนในการฝกทักษะ กระบวนการผลติ กระบวนการตลาด ท่ใี ชนวัตกรรมเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาอาชีพ เร่ืองที่ 2 ความหมายความสําคญั ของการจัดการอาชพี เรอ่ื งที่ 3 แหลงเรียนรู และสถานทฝ่ี กอาชีพ เรอ่ื งท่ี 4 การวางแผนโดยการกําหนดสิง่ ตาง ๆ เรอื่ งที่ 5 การฝก ทกั ษะอาชพี

2 เร่ืองที่ 1 ความจาํ เปนในการฝกทักษะ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ที่ใชนวัตกรรมเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาอาชีพ 1.1 ความจาํ เปน ในการฝก ทักษะเพ่อื พฒั นาอาชพี การพฒั นาทักษะอาชีพดานตาง ๆ ใหทนั ตอ การเปล่ยี นแปลงของตลาด ไดแก ความรู ความสามารถ ในกระบวนการผลิต และกระบวนการการตลาด การพัฒนาอาชพี มคี วามสําคัญและจาํ เปน ดังน้ี 1. ดานเศรษฐกิจ จากการแขงขันทางธุรกิจท่ีมีการแขงขันทางการตลาดสูง จึงเกิดการรวมกลุม การคาตาง ๆ เชน เขตการคาเสรีอาเซียน เขตเศรษฐกิจยุโรป ดังนั้นการพัฒนาอาชีพจึงจําเปนตองมี การพัฒนาสินคาใหสามารถเขาสูตลาดการแขงขัน และเปนที่ยอมรับของตางประเทศ 2. ดา นสงั คม ประเทศทม่ี ีเศรษฐกจิ ดีจะสงผลใหส ภาพของสงั คมดขี นึ้ เชน ปราศจากโจรผูรา ย 3. ดานการศึกษา ครอบครัวที่มีเศรษฐกิจดีจะสามารถสงบุตรหลานเขารับการศึกษาไดตามความ ตองการ และในอนาคตเยาวชนเหลานี้ก็จะเปนประชากรที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการประกอบอาชีพ สงผลตอเศรษฐกิจ สงั คมใหมคี วามเจริญกา วหนาตอ ไป 1.2 ความจําเปน ในการพฒั นากระบวนการผลิต จากสภาพสงั คมท่ีมกี ารเปล่ียนแปลงอยูต ลอดเวลา สงผลใหความตองการสินคาของผูบรโิ ภคมคี วาม แตกตางกันทั้งทางดานปริมาณและดานคุณภาพ ดังน้ัน การพัฒนาอาชีพจึงมีความจําเปนเพื่อรองรับ การเปล่ียนแปลงดงั กลา ว เทคนคิ และวิธีการในการพัฒนากระบวนการผลติ และกระบวนการตลาด โดยการ นาํ ภูมปิ ญ ญา นวัตกรรม เทคโนโลยี มาประยุกตใชในการพฒั นาการประกอบอาชีพ กระบวนการผลติ เปน การบริหารจัดการดา นทุน แรงงาน ที่ดินหรือสถานที่ใหเกิดผลผลิตหรือสินคา ท่ีมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อใหตรงกับความตองการของตลาด องคประกอบของกระบวนการผลิต นําเสนอไดต ามแผนภูมิ ดังน้ี กระบวนการผลติ องคป ระกอบ ศึกษา วเิ คราะห ทุน แรงงาน สถานที่ การจดั การ สรปุ สง่ิ ทีต่ องพฒั นา แผนภมู ิ กระบวนการผลติ 1. ทุน หมายถึงปจจัยท่ีเปนเงนิ ทุน วสั ดุ อปุ กรณ วัตถุดบิ เครื่องมือเครื่องจกั ร ซงึ่ ตองศกึ ษาวามที ุนใด เขา มาเกี่ยวของ และถาจะปรับปรุงแกไขตองพิจารณาวาตองใชทุนประเภทใดมากนอยเพียงใด

3 ลดจาํ นวนทใี่ ชไปบางไดหรือไม หรือใชส่งิ ทดแทนท่ีมีราคาถกู แทนส่งิ ทมี่ รี าคาแพงไดห รือไม หรอื เนนใช ทนุ ทม่ี ีอยใู นทอ งถนิ่ เพราะถา ใชท นุ จากทีอ่ ื่นจะมคี าใชจ ายสูงข้นึ เชน คาขนสง คา แรงงาน ถา เปนเงินที่ตอง ใชใ นการลงทุนที่ตองไปกูยืม เสียดอกเบี้ยในอัตราท่ีสูงจะทาํ อยางไรถึงจะลดดอกเบ้ียใหตา่ํ ลง ซึ่งจะมี ผลตอการลดตนทนุ 2. แรงงาน หมายถึง แรงงานคน สัตว เครื่องจักรตาง ๆ ท่ีใชในการผลิต ผูเรียนจะตองศึกษา วิเคราะห การใชแรงงานวาใชแรงงานคุมคากับเงินทุนและเวลาหรือไม ใชแรงงานเหมาะสมกับงาน หรือขนาดของพื้นท่ีหรือไม เชน พ้นื ทีน่ อยก็ควรใชแ รงงานคนไมค วรใชเครอ่ื งจักรขนาดใหญ แรงงานท่ีใช มีคณุ ภาพหรือไม มีการใหข วัญกําลงั ใจแกแ รงงานท่ีใชหรือไม 3. สถานท่ี หมายถึง ท่ีดินทํากิน หรือสถานท่ีตาง ๆ เชน หางสรรพสินคา รานคา ซ่ึงเปนสถานที่ ประกอบการ ถาเปนที่ดินทํากินอาชีพเกษตรก็อาจจะพิจารณาวาไดใชที่ดินคุมคากับการลงทุนหรือไม ใชทั้งหมด หรือใชอยางเหมาะสมกับการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวหรือไม มีการทํานุบํารุงที่ดินทํากินบาง หรือไม เชน บํารงุ ดนิ โดยปลกู พืชตระกลู ถ่วั แลวไถกลบเพอื่ บํารุงดิน สาํ หรบั อาชพี บริการ เชน ขายอาหาร เปด รานเสริมสวย ซอมรองเทา นวดแผนโบราณ ซ่ึงตองอาศัย ทําเลท่ีตั้ง เชน อยูในยานชุมชน การเดินทางสะดวกสบาย มีท่ีจอดรถใหลูกคา ส่ิงตาง ๆ เหลาน้ีตองนํามา พิจารณาเพอ่ื พฒั นาใหด ีขึ้น 4. การจัดการ เปนการนําทุน แรงงาน และที่ดินหรือสถานที่ไปบริหารจัดการใหเกิดผลผลิต อยางคมุ คาและไดป ระโยชนสูงสุด ดังนั้น การจดั การจึงเปน สง่ิ สําคัญและจําเปนตอการประกอบธุรกิจ ถามี กระบวนการจัดการท่ีผานการคิด วิเคราะห วางแผนอยางเปนขั้นตอน รอบคอบบนฐานขอมูลที่เปนจริง และตามสถานการณในขณะนั้นก็นับวาไดเปรียบกวาบุคคลอื่น ๆ ท่ีไมไดใหความสาํ คัญ แตทาํ ดวยความ เคยชิน ทําใหข าดการพฒั นาอยางตอเน่ือง จึงทําใหธุรกิจมีแตคงที่หรือถอยหลัง เพื่อใหอาชีพดําเนินตอไปได มรี ายไดใ หครอบครัวมีกนิ มใี ชใ นครวั เรือน ควรตองคาํ นงึ ถงึ การออมเงินเพื่อเปน หลักประกนั ของครอบครัว ตอการดํารงชีวิตของลูกหลานและการศึกษาตอ การประกอบอาชีพจําเปนตองมีการจัดการในการนํา นวัตกรรมหรอื เทคโนโลยีมาใชในการผลิต เพื่อใหผ ลผลติ มีคุณภาพ และมีปริมาณเพยี งพอตอ ความตองการ ของตลาด 1.3 ความจาํ เปนในการพฒั นากระบวนการตลาด เปนการบริหารจัดการดานการตลาด เริ่มต้ังแตการศึกษา ความตองการของลูกคา การกาํ หนดเปา หมาย การทําแผนการตลาด การสงเสริมการขาย การกําหนดราคาขาย การขาย การสงมอบสินคาใหกับลูกคา ผูผลิตก็ตองศึกษาวิเคราะหจุดออน จุดแข็งของกระบวนการตลาด ทกุ ขั้นตอนเพอ่ื นาํ ขอมลู มาใชพ ฒั นาอาชพี การตลาดเปนเรอื่ งยากของผปู ระกอบอาชีพใหม รวมถึงผูท่ีประกอบอาชีพอยูแลว การศึกษาขอมูล และการทําความเขาใจในวิธีการตลาดจะสามารถนํามาปรับใชเพ่ือการพัฒนากระบวนการตลาด สามารถ แสดงกระบวนการไดต ามแผนภูมิ ดงั น้ี

กระบวนการตลาด องคประกอบ 4 ผลิตภัณฑ สนิ คา ศกึ ษา วเิ คราะห ราคา ชอ งทางการจดั จําหนาย สงเสริมการขาย สรปุ สง่ิ ทต่ี องพัฒนา แผนภมู ิ กระบวนการตลาด 1. ผลิตภัณฑ สินคา หมายถึง ผลผลิต ผลิตภัณฑ การบริการ เชน ผลผลิตการเกษตร ผลิตภัณฑ แปรรปู ตาง ๆ หรือเปน สินคา ประเภทบริการ เชน ขายอาหาร เสริมสวย นวดแผนโบราณ ซึ่งผูประกอบการ ตองพิจารณาความตองการของลูกคาอยูตลอดเวลาวา ความตองการน้ันลดลงหรือเพิ่มขึ้น ถาลดลงจะตองมี การศึกษา วิเคราะห ลักษณะของผลผลิต ผลิตภัณฑ เชน รูปลักษณ ความสวยงาม ความต่ืนตาต่ืนใจ ประโยชนของการใชสอย โดยยึดความตองการของกลุมลูกคาเปนสําคัญ สําหรับอาชีพบริการตองให ความสาํ คัญกบั การบรกิ ารดว ย เชน มารยาทการบรกิ าร ความรบั ผิดชอบ การมีมนษุ ยสมั พนั ธ 2. ราคา หมายถึง การต้ังราคาขายสินคา ซึ่งขึ้นอยูกับตนทุนการผลิต เชน คาวัสดุอุปกรณ คาดอกเบ้ยี คา เชาสถานที่ คา แรงงาน คาประชาสมั พนั ธ คาขนสง คา นาํ้ มนั ถาสงไปขายตางประเทศจะมี ราคาแพงกวาขายในประเทศไทย แตอยางไรก็ตามผูขายควรเนนการต้ังราคาใหเหมาะสมกับคุณภาพของ สินคา และควรใหใกลเคียงกับคูแขงขัน ถาสินคาใดคูแขงนอย ผูขายก็ควรตั้งราคาใหยุติธรรมกับผูบริโภค ไมควรเอาเปรยี บลูกคาเกนิ ไป ดงั นั้น ผูป ระกอบการควรศึกษาวิเคราะหวา ราคาของปจจัยการผลิตผันแปรอยางไรลดลงหรือ เพิม่ ขน้ึ หรอื จัดหาวัสดทุ มี่ รี าคาถูกทดแทนวสั ดุท่ีราคาแพงได เพ่อื ใหตนทุนลดลงได หรือสามารถปรับลด อตั ราดอกเบ้ยี คา เชาสถานท่ี คาขนสง หรอื ลดการประชาสัมพันธก็จะทําใหตนทุนการผลิตลดลง ซ่ึงจะมี ผลตอการกาํ หนดราคาขายผลิตภณั ฑ ถากาํ หนดราคาขายตํา่ กวาคูแขง แตปริมาณการขายมากจะดีกวาขาย ราคาแพง ซึง่ ผลกาํ ไรโดยรวมสูงกวากน็ าจะยดึ หลักการน้ี 3. ชองทางการจดั จาํ หนาย เปนการกระจายสินคาใหไปถึงผูบริโภคอยางปลอดภัย ซึ่งมีหลายวิธี เชน การขายผา นคนกลาง การขายปลีก ซึ่งผูประกอบการจะตองพิจารณาความรู ความสามารถและศึกษา ศกั ยภาพของตนเองในการเลอื กชองทางการจดั จาํ หนายสนิ คา ซึง่ ไมจําเปนตอ งมีชอ งทางจาํ หนายสนิ คาเพียง วิธีเดียว อาจใชหลาย ๆ วิธีเพอ่ื ใหเหมาะสม เชน แตเดิมขายผลไมผานคนกลางเพียงอยางเดียว ตอมาเพิ่ม วิธีการขายปลีก ทําใหมชี อ งทางการจัดจําหนายทงั้ ขายผานคนกลางและขายปลีก

5 4. การสงเสริมการขาย เปน การใชเทคนคิ หรือวิธีการใหลูกคารูจักและตองการซ้ือสินคาโดยวิธีตาง ๆ เชน การจัดใหม ีการชงิ รางวัล การมีสวนลด การซือ้ 1 แถม 1 การสงเสรมิ การขายอาจจะประชาสัมพันธโดย วิธีตา ง ๆ เชน แจกแผน ปลวิ ประกาศลงในหนงั สือพมิ พ วทิ ยุ โทรทัศน นอกจากจะสง เสรมิ การขายดวยวธิ ตี าง ๆ แลว การบริการหลังการขายกเ็ ปนเรื่องสําคัญ เพราะการท่ี ลกู คา สั่งซอ้ื สนิ คาครัง้ หนงึ่ น้นั ไมไดหมายความวาผูขายจะขายไดค ร้งั เดยี ว แตห ากมกี ารบริการหลังการขายที่ดี ลกู คาก็สามารถกลับมาซอ้ื ใหม หรอื อาจบอกตอคนอน่ื ๆ ใหม าใชบ รกิ ารก็ได ดงั น้ัน ผปู ระกอบการจะตอง ศึกษา วิเคราะห การสงเสริมการขายท่ีดําเนินการอยูวา มีขอดีขอเสียอยางไร ควรมีการปรับปรุงวิธีการ หรือไมอยางไร ---------------------------------- กิจกรรมที่ 1 แบบวเิ คราะหอ าชพี เพื่อการพัฒนาอาชีพ ใหผ เู รียนแตละคนไปสอบถามผูประกอบอาชีพท่ีผูเรียนสนใจหรืออาชีพท่ีตนเองประกอบการอยู เกี่ยวกับสถานที่ดําเนินงาน และสิ่งที่ควรปรับปรุง ทั้งดานกระบวนการผลิต และกระบวนการตลาด แลวบันทกึ ลงในแบบบนั ทกึ แบบบันทกึ วิเคราะหอ าชพี เพ่ือพัฒนาอาชพี ชอื่ ผปู ระกอบอาชพี ............................................................... อาชีพ.................................................................. ท่ีอยู. ..................................................................................................................................................... เรื่อง สภาพที่ดําเนินงาน สิ่งทค่ี วรปรบั ปรงุ 1. กระบวนการผลติ 1.1 การใชทุน มี ก า ร ใ ช ทุ น ป ร ะ เ ภ ท ใ ด บ า ง แ ล ะ พัฒนาอยางไร มีสภาพ ปญหา อุปสรรค อยางไรและควรปรบั ปรงุ อยา งไร 1.2 การใชแรงงาน แรงงานท่ใี ชงานเปนแรงงานประเภทใด มีปญ หา อุปสรรคอยางไรและควรปรับปรุง อยางไร

เรอื่ ง สภาพทีด่ ําเนนิ งาน 6 1.3 สถานทที่ ํากิน ส่งิ ที่ควรปรบั ปรงุ มีการพัฒนาสถานที่ทํากินมากนอย เพียงใด เปนของตัวเองหรือเชา มีปญหา อปุ สรรคอยางไรและควรปรับปรุงอยา งไร 1.4 การจดั การ มี วิ ธี ก า ร พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร ด า น การวางแผน การดาํ เนนิ การตามแผน มกี าร จดบันทึก มีการทําบัญชีรับ-จายหรือไม และคุมคากับการลงทุนหรือไม มีปญหา อุปสรรคอยางไร และควรปรับปรุงอยา งไร 2. กระบวนการตลาด 2.1 ผลผลิต ผลติ ภณั ฑ การบริการ มีการผลิตสนิ คา และการพฒั นาสินคา ใหตรงกบั ความตองการของลูกคาหรือไม และพัฒนาอยางไร มีปญหา อุปสรรค อยา งไรและควรปรบั ปรุงอยา งไร 2.2 ราคา มีการตั้งราคาและการปรับปรุงการ ตั้งราคาที่เหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด คุมกับการลงทุน และราคาขายของคแู ขงขัน เปนอยางไร มปี ญ หาอุปสรรคอยางไรและ ควรปรบั ปรุงอยางไร 2.3 ชองทางการจดั จําหนา ย มีชองทางการจัดจําหนายและการ พัฒนาชองทางการจัดจําหนายหรือไม อยางไร มีปญหา อุปสรรค อยางไรและ ควรปรบั ปรุงอยางไร 2.4 การสงเสรมิ การขาย มีการสงเสริมการขายและการพัฒนา การสง เสริมการขายหรือไม อยางไร มีปญหา อุปสรรคอยา งไรและควรปรบั ปรงุ อยางไร

7 กจิ กรรมที่ 2 แบบบนั ทกึ แนวทางการพฒั นาอาชีพ ใหผูเรียนรวมกลุมตามอาชีพท่ีไดไปสัมภาษณผูรูหรือผลการวิเคราะหอาชีพของตนเอง ตามใบงานท่ี 1 โดยนําขอมูลที่ไดมาแลกเปลี่ยนความรูซ่ึงกันและกัน แลวใหผูเรียนสรุปเปนแนวทาง การพัฒนาอาชีพของตนเอง พรอมเงื่อนไข (ถามี) เพื่อนําไปสูความเปนไปไดในการพัฒนาอาชีพ ลงใน แบบบนั ทกึ แบบบันทกึ แนวทางการพัฒนาอาชีพ อาชีพ....................................................................................................................... เรอ่ื ง แนวทางการพัฒนาอาชพี เงื่อนไข (ถาม)ี 1. การพัฒนากระบวนการผลติ 1.1 การใชท ุน 1.2 การใชแ รงงาน 1.3 สถานที่ 1.4 การจัดการ

8 เรอื่ ง แนวทางการพฒั นาอาชีพ เง่อื นไข (ถา ม)ี 2. กระบวนการตลาด 2.1 ผลผลิต ผลิตภณั ฑ การบรกิ าร 2.2 ราคา 2.3 ชองทางการจัดจาํ หนาย 2.4 การสงเสริมการขาย

9 1.4 การพัฒนาอาชพี ตอ ยอดและประยุกตใ ชภมู ิปญ ญา ในปจจุบันการพัฒนาอาชีพตอยอดเปนเรื่องสําคัญสําหรับผูผลิต เพราะการท่ีมีผูผลิตจํานวนมาก ทผี่ ลิตสินคา ซา้ํ ๆ กันจะทาํ ใหเกิดตัวเลือกในการบริโภคผลิตภัณฑ ซึ่งเปนการดีสําหรับผูบริโภค แตไมดี สาํ หรับผูผลิตเพราะจะทาํ ใหเกิดสว นแบงตลาดมากขึ้น ดังน้ันผูผลิตตองมีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการ พฒั นาตอ ยอดจากผลิตภณั ฑเดมิ ใหมีความแตกตางและนา สนใจสําหรับผบู ริโภค ภมู ปิ ญ ญา หมายถงึ ความรู ความสามารถ ความชาญฉลาด ทักษะและเทคนิคอนั เกดิ จากพ้ืนความรู ทผ่ี านกระบวนการสืบทอด เลือกสรร ปรับปรุง พัฒนา การสรางงาน ดวยประสบการณที่สะสมมาเปน เวลานานอยางเหมาะสม สอดคลองกบั ยุคสมยั การพฒั นาอาชีพโดยการประยุกตใชภูมิปญญา เปนการนําภูมิปญญามาเชื่อมโยงใหสอดคลองกับ อาชีพเดิม จึงจาํ เปนตองศกึ ษา วเิ คราะห จุดออ น จุดแขง็ ของอาชพี ถึงแมเรือ่ งใดจะเปน จุดแขง็ อยแู ลว ก็ตอง วเิ คราะหวาควรจะพฒั นาอะไรไดอกี สว นจดุ ออนยิง่ ตอ งวิเคราะหอ ยา งรอบคอบถ่ีถวน เพ่ือใหดีข้ึนกวาเดิม เชน ปจจบุ นั นยิ มใชของโบราณ กอ็ าจจะนาํ มาประยุกตใชในการพัฒนาอาชพี เชน มอี าชีพขายกาแฟอยแู ลว ก็อาจจะนาํ วธิ ีชงกาแฟแบบโบราณมาประยกุ ตใช เพือ่ ใหเปน จุดขายและเปน การอนรุ ักษของดีดง้ั เดมิ

10 กิจกรรมที่ 3 ภมู ปิ ญ ญาท่ตี อ งใชใ นการพฒั นาอาชพี ใหผูเรียนวิเคราะหอาชีพที่สนใจวา จะนําภูมิปญญามาประยุกตใชในการพัฒนาอาชีพไดอยางไร ลงในแบบบนั ทึก โดยมผี ูรชู วยพจิ ารณาความเปนไปไดของภูมปิ ญญาท่ีจะนํามาประยกุ ตใ ชในการพัฒนาอาชีพ แบบบันทกึ ภมู ิปญ ญาทีต่ อ งใช อาชีพ ....................................................................................................................... ช่อื ผูรู ........................................................................................................................ ภมู ปิ ญญาทใี่ ช………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ประยุกตใ ชใ นการพัฒนาอาชีพไดอ ยางไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………

11 1.5 ทกั ษะการใชน วตั กรรม เทคโนโลยีเพอ่ื การพฒั นาอาชีพ นวตั กรรม หมายถึง ความคดิ การปฏบิ ัติ หรือสิง่ ประดษิ ฐใหมท่ียังไมเคยใชมากอนหรือเปนการ พัฒนา ดัดแปลง มาจากของเดมิ ทม่ี อี ยแู ลว เทคโนโลยี หมายถึง การใชความรู เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ระเบียบวิธีการ ตลอดจนกระบวนการทม่ี นษุ ยพ ฒั นาขึน้ เพอ่ื ชวยในการทํางานหรือแกปญหาตา ง ๆ เชน อปุ กรณ เครอ่ื งจกั ร วัสดุ หรอื แมกระท่ังสง่ิ ที่ไมสามารถจับตองได การท่ีจะยอมรับหรอื ปฏเิ สธนวัตกรรม เทคโนโลยี อาจจะตองพิจารณาประสิทธิภาพของ นวัตกรรม เทคโนโลยี สว นใหญกจ็ ะดูองคป ระกอบ 4 ดา น คือ 1. ความสามารถในการทาํ งาน 2. ประหยัดคาใชจ า ย 3. ทาํ งานไดรวดเร็ว 4. ไมทาํ ลายส่งิ แวดลอ ม ความสามารถในการทํางาน ไดต รงตามวตั ถุประสงคข องนวตั กรรม เทคโนโลยี ไดม ากนอยเพียงใด แตจาํ เปน ตอ งมีเกณฑช วี้ ัดเพ่อื การยอมรับวาเทาใดจงึ จะยอมรบั ได อาจจะเปรยี บเทยี บกบั ความสามารถเดมิ ท่เี คยใชมา แตอยางไรก็ตามการนํานวตั กรรม เทคโนโลยีมาใชตอ งดีขึ้นกวาเดมิ อาจกําหนดเปนรอยละก็ได เชน การใชเ ครอ่ื งนวดขา วเคร่อื งใหมสามารถนวดขา วไดมากกวา เดิมรอยละ 20 ซง่ึ ยอมรบั ได ประหยัดคาใชจา ย เปนการมงุ ประเมนิ เทียบเคยี งระหวา ง นวตั กรรม เทคโนโลยขี องใหมทีจ่ ะนําเขา มาใชแทนเทคโนโลยีเกา โดยพิจารณาเปรียบเทียบราคานวัตกรรม เทคโนโลยีใหมท่ีตองจายเปนเงิน และ การลดรายจา ยจากเดิม การทํางานไดรวดเร็ว เปนการประเมินเทียบเคียงความรวดเร็วในการทํางานการใชเวลาระหวาง นวัตกรรม เทคโนโลยเี กา กับใหม ไมทําลายส่ิงแวดลอม ผูประกอบการตองคํานึงอยูเสมอวานวัตกรรม เทคโนโลยีจะนํามาใชตอง เปน มติ รกับสิ่งแวดลอม และไมทาํ ใหผูทีอ่ ยูอ าศัยใกลเ คยี งเดอื ดรอ น

12 การประเมินการทํางานของนวตั กรรม เทคโนโลยี การประเมินการทาํ งานของนวัตกรรม เทคโนโลยตี ามองคป ระกอบทัง้ 4 ดา น ซ่งึ จะยอมรับ หรือปฏิเสธการใชนวัตกรรม เทคโนโลยี ผูเรียนจําเปนตองกําหนดลักษณะบงช้ีความสําเร็จ และเกณฑ ตัวชีว้ ดั ความสําเรจ็ ดวยตนเอง ดงั ตัวอยา ง ตวั อยาง การประเมินการทํางานของนวตั กรรม เทคโนโลยตี ามองคประกอบ องคป ระกอบการประเมิน ลักษณะบง ชค้ี วามสําเร็จ เกณฑก ารยอมรับ 1. ความสามารถในการทาํ งาน 2. การประหยัดคา ใชจาย 1. สง่ิ ทนี่ วตั กรรม เทคโนโลยี 1. รอ ยละ 90 ของสิ่งที่ทําได 3. ทาํ งานไดร วดเรว็ ทาํ ได 4. ไมท ําลายส่งิ แวดลอม 2. ประหยัดคาใชจายไดรอยละ 25 2. ประหยัดคาใชจายข้ันต่ําที่ เชน หวานขาวเคยใชแรงคน 10 คน ยอมรั บได ร อยละ 25 จาก ในเวลา 10 วนั จงึ หวา นขาวเสรจ็ โดย คาใชจายเดิม เชนใชรถหวาน แตละคนไดค าแรงคนละ 150 บาท/วัน ขา วเหมารวมคา แรง คานํ้ามัน ดังน้ัน รวมเปนจํานวนเงินที่ตองเสีย และ ค าสึ ก ห รอ ต อง เ สี ย 15,000 บาท คา ใ ช จ า ย ทั้ งหมดเป นเงิ น 11,250 บาท ทําใหมีคาใชจาย ลดลงรอยละ 25 เปนคาใชจาย ทลี่ ดลงซึ่งอยูใ นเกณฑ 3. ทํางานไดเร็วกวาเทคโนโลยีเกา 3. ประหยัดเวลาทํางานขั้นตํ่า รอ ยละ 25 เชน เคยหวานขาวใชเวลา ที่ยอมรับได รอยละ 25 จาก 12 วันในพื้ นท่ี 10 ไ ร แตถาใ ช เทคโนโลยีเดมิ นวัตกรรม เทคโนโลยีใหม จะใช เวลาเพียง 9 วนั เทาน้นั 4. นวัตกรรม เทคโนโลยีไมทําลาย 4. ใชเคร่ืองมือตรวจสอบหรือ สง่ิ แวดลอม สงั เกตระบบนเิ วศในบรเิ วณนน้ั

13 กจิ กรรมท่ี 4 เกณฑก ารประเมนิ ประสิทธภิ าพนวตั กรรม เทคโนโลยี ใหผเู รียนกําหนดเกณฑก ารประเมนิ ประสทิ ธภิ าพนวัตกรรม เทคโนโลยใี นการพัฒนาอาชพี ตามองคป ระกอบการประเมนิ ทก่ี าํ หนด แบบบันทกึ อาชพี ............................................................................................. องคป ระกอบการประเมนิ ลกั ษณะบง ชคี้ วามสําเรจ็ เกณฑการยอมรับ ความสามารถในการทาํ งาน การประหยัดคาใชจาย ทํางานไดรวดเร็ว ไมทาํ ลายส่ิงแวดลอ ม

14 กจิ กรรมท่ี 5 การตดั สนิ ใจเพอ่ื ยอมรบั นวตั กรรม เทคโนโลยี ใหผูเรียนวิเคราะหและกําหนดวาจะนํานวัตกรรม เทคโนโลยีใดบาง มาใชเพ่ือพัฒนาอาชีพ แลว นาํ มาประเมินประสทิ ธภิ าพตามองคประกอบการประเมินลงในแบบบันทึก เพ่ือพิจารณาวาจะยอมรับ ตามเกณฑที่กําหนดหรือไม ตัดสินใจวาจะใชนวัตกรรม เทคโนโลยี พรอมแสดงเหตุผลการตัดสินใจ ประกอบดว ย แบบบนั ทกึ การตัดสนิ ใจเพ่อื ยอมรับนวตั กรรม เทคโนโลยี อาชพี ........................................................................................ นวัตกรรม ผา นเกณฑป ระเมนิ ไมผา นเกณฑ การตดั สินใจ เหตผุ ล เทคโนโลยี (องคป ระกอบ) ประเมนิ (องคป ระกอบ)

15 เรอ่ื งที่ 2 ความหมาย ความสาํ คัญของการจัดการอาชพี การจัดการอาชีพ หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมงานอาชีพ นับต้ังแตการวางแผนการจัดการ องคก าร การตัดสนิ ใจ การสัง่ การ การควบคุม การติดตามผล เพื่อใหไดผลผลิตหรือบริการที่เปนที่ตองการ ของลูกคา และไดรับการยอมรบั จากสงั คม ความสําคัญของการจดั การอาชพี จากคาํ จาํ กดั ความของการจัดการอาชีพ ทําใหท ราบถึงความสําคัญ ของการจดั การอาชีพ เพราะทําใหผบู รหิ ารสามารถพฒั นากิจการใหม ุงไปสคู วามมีประสิทธภิ าพและสามารถ ดําเนินการใหบรรลวุ ตั ถุประสงคของกิจการได กลาวคือ กิจการสามารถผลิตสินคาหรือบริการท่ีมีคุณภาพ ทันเวลาตรงตามความตอ งการของลูกคา และกิจการ ไดรบั ผลตอบแทนคือกาํ ไรสูงสุด สามารถขยายกจิ การได หรือเพ่ิมพูนในการดําเนินการได จากการศึกษาวิจัยพบวา การจัดการอาชีพใหป ระสบความสําเร็จประกอบดวย 1. การจัดการอยางมีคุณภาพ หมายถึง ผูบริหารมีความรูประสบการณ สามารถทํางานใหบรรลุ ผลสําเร็จอยางมีประสทิ ธภิ าพ 2. ผลติ ภณั ฑท่ีมีคุณภาพ หมายถึง การผลติ สินคา ท่ีมีคุณภาพ อาจกระทําไดโดยการใชเทคนิคตาง ๆ เร่ิมตงั้ แตก ารใชว ตั ถดุ บิ กระบวนการผลิต การตรวจคณุ ภาพสนิ คากอนสงมอบใหลูกคา 3. ผลิตภณั ฑท ่ที ันสมัยดว ยนวัตกรรมใหม 4. การลงทนุ ระยะยาวอยางมีคุณคา 5. สถานภาพการเงินม่ันคง 6. มคี วามสามารถในการดงึ ดดู ใจลูกคาใหส นใจผลิตภัณฑ สนิ คา 7. คาํ นงึ ถงึ ความรบั ผิดชอบตอ สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม 8. การใชทรัพยส ินอยางคุมคา

16 เร่อื งที่ 3 แหลงเรยี นรแู ละสถานท่ีฝก อาชพี จากการทผี่ ูเ รียนไดศ ึกษาเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการผลิต กระบวนการตลาด การประยุกตใช ภูมปิ ญญาและนวตั กรรม เทคโนโลยีแลว ทําใหร ูวาตองพฒั นาอาชพี ดา นใดบา ง ในการพัฒนาความรู เพอื่ การ พัฒนาอาชพี จําเปน ที่ผปู ระกอบการอาชีพตองศึกษาขอมูลจากแหลงเรียนรูเฉพาะ เชน ตองการเงินทุนเพื่อ นําไปซอื้ เคร่ืองจกั รก็ตองศกึ ษาจากแหลงเงินทุน หรือขาดแรงงานก็ตอ งจัดเตรยี มหาแรงงานในชวงท่ีตองการ เปน การเตรยี มความพรอ มเพ่ือรองรับการพฒั นาอาชีพ ผูท่ีมีความสามารถในการบริหารจัดการธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ จําเปนจะตองรูจักเลือกใช ไดแ ก 1. แหลงเรยี นรแู ละสถานท่ฝี กอาชีพ แหลง เรียนรแู ละสถานทฝ่ี กอาชพี หมายถงึ แหลงที่มีขอมูล ขา วสาร ความรู ประสบการณ สารสนเทศ และเทคโนโลยี สําหรับผเู รียนใชใ นการแสวงหาความรูแ ละหรอื ฝกทกั ษะในการประกอบอาชพี ซึ่งมีอยูตาม ธรรมชาติ และมนษุ ยสรางขนึ้ แหลง ในท่ีน้ีอาจจะเปนเอกสาร สถานที่ ตัวบุคคล ผูรู แหลงเรียนรูธรรมชาติ เชน ทะเล ปา ภูเขา แหลงเรียนรทู ่มี นุษยส รา งขึ้น เชน หองสมุด พิพิธภัณฑ อนิ เทอรเ นต็ เว็บไซตต า ง ๆ แหลงเรียนรูและสถานที่ฝกอาชีพมีความสําคัญตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับผูเรียน โดยเฉพาะผูเรียนที่อยูนอกระบบโรงเรียนที่ตองศึกษาหาความรูดวยตนเองเปนสวนใหญ จึงตองอาศัย แหลงเรยี นรตู า ง ๆ ใกลต วั เชน หองสมดุ อําเภอ ศนู ยก ารเรยี นชมุ ชน ภูมิปญ ญา แหลง ธรรมชาติตา ง ๆ ผเู รียน สามารถศึกษาหาความรไู ดดวยตนเอง แหลงเหลา นเ้ี ปน ขุมทรัพยทางปญ ญาทีส่ ามารถคน หาความรูไดไมรจู บ ปจจุบันสถานท่ีฝกอาชีพมีหลากหลายท้ังภาครัฐและเอกชนที่จัดใหกับประชาชนท่ัวไป เชน สํานักงาน กศน. กระทรวงแรงงาน สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงเกษตรและสหกรณ โรงเรยี นของเอกชนตา ง ๆ ทเี่ ปดสอนหลกั สูตรวชิ าชพี ระยะส้นั 2. แหลงเงนิ ทนุ แหลง เงินทุน หมายถึง แหลงที่สามารถใหกูยืมเงินเพ่ือการประกอบอาชีพได ซึ่งมีทั้งแหลงเงินทุน ของภาครัฐและเอกชน เชน ธนาคารพาณิชยตาง ๆ สหกรณ กองทุนกูยืมตาง ๆ การท่ีจะกูยืมไดตองมี โครงการรองรับ เพ่อื ใหแ หลง เงินทนุ พจิ ารณาความเปน ไปไดใ นการสง ใชเงินคืน 3. แหลง วัสดุ อปุ กรณ เครื่องจักร แหลงวสั ดุ อุปกรณ เครอ่ื งจกั ร หมายถึง แหลง ขายหรอื แหลงท่จี ะไดมาของวัสดุ อุปกรณ เครื่องจักร ทีเ่ กี่ยวของกับการประกอบอาชีพ เชน ประกอบอาชพี การเกษตรจะตอ งมีวัสดอุ ุปกรณ เคร่ืองจักรท่ีเกี่ยวของ เชน พนั ธพุ ืช ปยุ รถแทรกเตอร

17 4. แหลงแรงงาน แหลง แรงงาน หมายถงึ แหลงทจี่ ะไดแรงงานมาใช ไดแ ก แรงงานจาก คน สัตว และเครอื่ งจกั รทีใ่ ช - แรงงานคน หมายถึง แรงงานเจา ของกบั แรงงานนอกที่จา งมาทาํ งาน - แรงงานสตั ว หมายถึง แรงงานสัตวท่ีใชในการประกอบอาชีพ เชน แรงงานจากวัว ควาย ชาง มา ท่ีนํามาใชในการประกอบอาชีพ - เครื่องจักร บางอาชพี มกี ารใชเครื่องจักรในการประกอบอาชีพ เชน อาชพี ทาํ นาอาจจะตอ งใชรถไถ อาชีพทําเหล็กดัดประตู หนาตาง อาจจะใชเคร่ืองเช่ือม ตองพิจารณาวา อาชีพของตนเองใชเครื่องจักร อะไรบาง ทีม่ อี ยลู า สมัยหรอื ไมอ ยางไร ขนาดหรอื จํานวนพอเพยี งกับการผลิตหรือไม 5. ตลาด คือ แหลงท่ีมีทั้งผูซื้อและผูขายสินคาตาง ๆ จากผูผลิตไปสูผูบริโภคหรือผูใชบริการน้ัน ๆ ไดรับ ความพอใจ รว มถึงการพฒั นาอาชพี มีวัตถุประสงคในการขยายตลาดขายสนิ คา ใหมากขึ้น โดยพิจารณาตลาดเดิมวา สามารถรบั สินคาทพี่ ัฒนาข้นึ ใหมไดหรอื ไม ถา ไมไ ดจ ะตอ งหาตลาดใหมร องรบั

18 กิจกรรมที่ 6 การสํารวจแหลง ทเ่ี ออ้ื ตอ การพฒั นาอาชพี ใหผูเรียนสํารวจแหลงที่เอ้ือตอการพัฒนาอาชีพของผูเรียนในชุมชนวา มีแหลงใดบาง ตั้งอยูทใี่ ด มเี ง่ือนไขการใหบรกิ ารอยา งไร แบบฝกหดั การใหบ ริการ แหลง ท่เี ออ้ื ตอ การพัฒนาอาชีพ ชอื่ ผสู าํ รวจ..................................................................... แหลง ช่ือ – ท่ตี ้งั 1. แหลงเรยี นรู 2. สถานท่ีฝก อาชพี 3. แหลงเงนิ ทนุ 4. แหลงวัสดุ อปุ กรณ เคร่ืองจกั ร 5. แหลงแรงงาน 6. ตลาด

19 เรื่องท่ี 4 การวางแผนฝกทักษะอาชีพ การวางแผน หมายถึง วธิ กี ารตดั สนิ ใจลวงหนา เพื่ออนาคตองคการ ซ่ึงเปนหนาที่ของการจัดการ ในทางเลือกวาควรจะใหใครทําอะไร ท่ีไหน อยางไร เปนขั้นตอนดําเนินงาน การใชทรัพยากร การบริหารเพอ่ื ใหบ รรลวุ ัตถุประสงค และเปาหมายทีต่ อ งการ ทกั ษะ (Skill) หมายถึง ความชัดเจน และความชาํ นิชาํ นาญในเร่อื งใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงบุคคลสามารถ สรางขึน้ ไดจากการเรยี นรจู ากสง่ิ ตา ง ๆ ที่อยรู อบตวั การฝกทักษะอาชีพ หมายถึง ฝกทักษะอาชีพใดอาชีพหนึ่งจนเกิดความชัดเจนและชํานาญ จนสามารถถา ยทอดความรแู ละประสบการณนั้น ๆ ใหก ับผอู ่นื ได ประโยชนของการวางแผนฝกทักษะอาชพี มีดังนี้ 1. มีโอกาสวิเคราะหท ักษะทจ่ี าํ เปนและตอ งฝก อยางถ่ีถว น 2. ทาํ ใหค รอบคลุมทักษะทีต่ องการฝก และมองเหน็ ภาพรวม ของการพฒั นาอาชีพท้ังระบบ 3. สามารถวางแผนในการเลอื กสถานทฝี่ ก และวธิ ีการฝก ทักษะกบั หนวยงานท่ีรบั ผิดชอบโดยตรง หรอื บางทกั ษะอาจฝก ดว ยตนเองได ขนั้ ตอนการวางแผนการฝกทักษะอาชีพ มดี ังนี้ 1. สรุปทักษะทตี่ องการฝกเพิ่มเตมิ 2. ศกึ ษาหาขอมลู เกีย่ วกบั แหลงฝกทักษะอาชพี และประสานงานกับแหลงฝกวาตองการฝกเรื่องใดบาง เมื่อใด 3. กาํ หนดวัน เวลา สถานทใ่ี นการฝก ทักษะทั้งหมดลงในการฝก 4. ผตู องการฝกควรศึกษาเรอ่ื งทตี่ อ งการฝก ทักษะดวยตนเองลว งหนาไปกอ น เพื่อใหมีความเขาใจ ในระดบั หนง่ึ แลว จดเปนคําถามทย่ี งั ไมเขาใจเพอ่ื นําไปซกั ถามในวนั เวลาทม่ี ีการฝกจริง

20 กิจกรรมท่ี 7 วเิ คราะหทักษะท่ตี อ งการฝกเพอ่ื พฒั นาอาชพี ใหผูเรียนทบทวนเน้ือหาจากใบความรูและกิจกรรม เพื่อนํามาสรุปวาสิ่งที่ตองการฝกทักษะ เพื่อพัฒนาอาชีพนั้นมีอะไรบาง ลงในแบบบันทกึ แบบบนั ทกึ สรปุ ทักษะในการฝก เพ่ือพฒั นาอาชีพ อาชีพ ............................................................. ที่ เรอ่ื ง ทักษะทต่ี อ งฝก เพม่ิ เตมิ 1. ความรูท ี่ตองเรยี นรู ตวั อยาง 1. การวิจยั การตลาด 2. ....................................... 2. ทักษะที่ตองการฝกเพ่ือพัฒนา ตวั อยาง อาชพี 1. ปรบั ปรงุ ดินโดยใชปยุ พืชสด 2. ....................................... 3. กระบวนการผลิต ตวั อยาง 1. จดั หาทนุ เพิม่ 2. ....................................... 4. กระบวนการตลาด ตัวอยา ง 1. การทาํ บัญชีรายรบั – รายจาย 2. ....................................... 5. การประยุกตใ ชภ มู ิปญญา ตัวอยาง 1. เทคนิคการทําปุย ชวี ภาพ 2. ....................................... 6. การใชน วัตกรรม เทคโนโลยี ตวั อยา ง 1. การใชเครอ่ื งนวดขาวท่มี ีประสิทธิภาพ 2. .......................................

21 กิจกรรมท่ี 8 แผนการฝกทกั ษะเพือ่ พฒั นาอาชีพ ใหผูเรียนสรุปทักษะที่ตองการฝกทักษะเพิ่มเติม และไดมีการประสานงานกับสถานที่ฝกแลว ใหวางแผนการฝกทกั ษะลงในแบบบนั ทึก แบบบันทกึ แผนการฝก ทักษะเพอื่ พฒั นาอาชีพ อาชีพ .................................................... ที่ เรอ่ื งท่ตี อ งการฝก สถานทฝี่ ก/ผฝู ก วนั เดอื น ป วธิ กี ารฝก ฝก ปฏิบตั จิ ริง ตัวอยาง 1. การปรับปรุงดนิ ศนู ยพัฒนาท่ดี ิน 10 กนั ยายน 2552 โดยใชป ยุ พชื สด จงั หวัด.....................

22 เร่อื งท่ี 5 การฝกทกั ษะอาชีพ เม่ือไดม ีการวางแผนการฝกทักษะเพื่อพัฒนาอาชีพแลว ตองดําเนินการฝกทักษะอาชีพตามแผนท่ี กาํ หนดไว โดยในระหวางการฝกควรมีการบนั ทึกหรอื ถอดองคค วามรูเกบ็ ไวศ กึ ษาปอ งกันการลืม สิ่งที่ควร จดบันทึก ไดแกองคความรู ขั้นตอนในการฝก ปญหาและแนวทางแกปญหา และอาจจะสรุปแสดงความ คิดเห็นของตนเองไวดวย ระหวางการฝกใหถือวา “เม่ือใดท่ีลงมือปฏิบัติ เมื่อน้ันตองไดความรู และเม่ือ ปฏบิ ตั เิ สร็จแลวตอ งไดค วามรูเพ่ิมข้นึ ” ความรู ทักษะทไ่ี ดอ าจไดจ ากหลายวธิ ี เชน 1. จากการอานหนังสือ ตํารา หนังสือพิมพตาง ๆ แลวจดบันทึกเปนความรูโดยสรุปหรือจดเปน ผงั ความคดิ เพ่ือสรปุ เปน ความเขา ใจของตนเองกไ็ ด 2. จากการฝกปฏิบตั ิ ตอ งจดบันทึกเปน ขนั้ ตอน เชน เรมิ่ จากการเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ เคร่ืองมอื ตาง ๆ ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิเร่ิมดว ยข้นั ตอนใด และจบดว ยข้นั ตอนใด ตามลําดบั ขั้นตอนการฝก 3. จากการสัมภาษณผูรู ผูเรียนจะตองเตรียมคําถามไปลวงหนากอนโดยลําดับคําถามตามขั้นตอน การเรียนรู 4. จากการฟงท่ีมีผูบรรยาย หรือจากการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน ผูเรียน จะตองตง้ั ใจฟง แลวพยายามทําความเขา ใจสรุปเปน ประเด็นใหได หรือจะสรุปเปนผงั ความคิดเพ่ือใหตนเอง เขาใจกไ็ ด 5. การจดบันทึกที่มาของขอมูล เชน อานจากหนังสือฉบับใด เมื่อใด ไดรับการฝกปฏิบัติจากท่ีใด เมอ่ื ไร ผรู ูเ ปน ใคร ผบู รรยายเปนใคร ในระหวางการฝกเพื่อพฒั นาอาชพี ผฝู กจะตอ งหาความรแู ละเทคนิคในอาชพี ใหมากทีส่ ุด ซง่ึ จะชวย ในการฝกมปี ระสิทธภิ าพย่ิงขน้ึ ดังน้ี 1. ฝก การสงั เกต เชน สงั เกตภาพ สงั เกตการเคลื่อนยาย สงั เกตสิง่ ประดษิ ฐ การสังเกต จะเปน พน้ื ฐาน ของการคดิ สรา งสรรค การคิดอยางมเี หตผุ ล 2. การฝกจินตนาการ เปนความสามารถในการคิดสรางภาพขึ้นมาใหเปนส่ิงท่ีเห็นไดอาจเปน สถานที่ เหตุการณเปนอะไรก็ไดซึ่งไมเคยเห็นมากอน หรือเปนสิ่งที่เปนไปได หรือเปนไปไมได การจินตนาการจะชวยใหมนุษยคิดคนอะไร ๆ ขึ้นมาได ชวยใหเกิดความสงสัย คิดท่ีจะอยากทดลองหา คาํ ตอบจนเกดิ เปนส่ิงประดษิ ฐ 3. ฝกการคิดผสมผสานสิ่งตาง ๆ เขาดวยกัน ทําใหเกิดความคิดสรางสรรค เชน การออกแบบ เครือ่ งประดับที่มกี ารผสมผสานของเพชร และทองคาํ 4. ฝกความจําอยางเปนระบบ เปนการจัดกลุมสิ่งของตาง ๆ หรือหาวิธีการจํา เชน จําคําศัพท ภาษาอังกฤษ หรอื อาจใชผ งั ความคดิ โดยการเชอ่ื มโยงขอมูลใหญก ับขอ มลู ยอย 5. ฝกการใชเหตุผลท่ีสัมพนั ธกัน เชน สิง่ ใดสมั พนั ธก บั อะไร หรืออะไรเปนเหตุเปนผล

23 กิจกรรมท่ี 9 บนั ทกึ ความรูใ นการฝก ทักษะเพ่ือพฒั นาอาชพี ใหผ ูเรยี นฝกทกั ษะเพ่ือพัฒนาอาชีพในเร่ืองท่ีสนใจดวยวิธีการตาง ๆ ตามความถนัด เชน จากการ อานตาํ รา พบผรู ู สัมภาษณ ฟงคาํ บรรยาย หรือฝกปฏิบัติ วิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีแลวนํามาบันทึกลงใน แบบบนั ทกึ ท่กี ําหนด แบบบันทกึ เรื่อง........................................................................ แหลงฝก/ผรู .ู .......................................................... วธิ กี ารฝก ................................................................. วนั เดือน ป ....................................................... เนอ้ื หาความรู ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ปญหาและแนวทางแกปญ หา ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ขอ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

24 บทท่ี 2 การทําแผนธรุ กจิ เพอ่ื การพฒั นาอาชพี สาระการเรียนรู การทําแผนธุรกิจเปนการกําหนดแนวทางในการประกอบอาชีพไวลวงหนาใหสมาชิก ทุกคนในสถานประกอบการ ครอบครัว หรือ องคก รการผลิตนั้น ๆ ไดเขาใจรวมกัน โดยผานกระบวนการ ระดมความคดิ จากการวิเคราะหชมุ ชนสถานการณต าง ๆ แลว นาํ มากําหนดวสิ ัยทศั น พันธกิจ กลยุทธในการ ดําเนินงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อนาํ ไปสคู วามสําเร็จตามเปา หมายของแผนธรุ กจิ น้นั ๆ ตวั ชี้วัด 1. วิเคราะหชุมชนโดยการระดมความคิดเห็นของคนในชุมชน และกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ รายได คานิยมของชุมชน เปาหมาย และกลยุทธตามแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. วางแผนปฏบิ ัติการ ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของการจดั การพฒั นาอาชพี เรือ่ งที่ 2 การวเิ คราะหชมุ ชนเพอื่ การพัฒนาอาชีพ เร่ืองท่ี 3 การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น พนั ธกจิ เปาหมาย และกลยทุ ธในการกําหนดแผนพัฒนา ธุรกิจ ของชมุ ชน เร่อื งที่ 4 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เรอื่ งท่ี 5 การวางแผนปฏบิ ตั ิการ

25 เรือ่ งท่ี 1 ความหมายและความสาํ คญั ของการจัดการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาอาชพี หมายถึง การดาํ เนนิ การ เพื่อใหก ารประกอบอาชีพมีการพัฒนากาวหนา ทั้งดาน ปริมาณ และคุณภาพใหดีขึ้นสอดคลองกับความตองการของตลาดอยางมีระบบ การพัฒนาอาชีพมี ความสําคญั สรุปได ดงั น้ี 1. เปนการใชทรัพยากรในชุมชนใหเกิดประโยชนกับทองถ่ิน โดยการนํามาประกอบอาชีพใหมี รายไดมากขน้ึ 2. เปน การขยายตลาดใหกวางขวางออกไปไดม ากขึ้น 3. ชว ยเปล่ยี นรูปแบบของผลติ ภณั ฑ หรอื พัฒนาผลิตภัณฑออกสูต ลาดไดม ากย่งิ ข้นึ 4. ผบู ริโภคสามารถเลือกซอ้ื ผลติ ภณั ฑตามทต่ี นเองตองการไดม ากยงิ่ ขึน้ 5. การพัฒนาผลิตภัณฑชวยเพ่ิมปริมาณของผลิตภัณฑ และทําใหการใชแหลงทุน และการ ดําเนินการดา นการตลาดสามารถดําเนินการไดมากขน้ึ ดว ย 6. ชวยทําใหเ ศรษฐกจิ ของชุมชนดขี น้ึ 7. เปน การชวยพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชนใหดีขึน้ และทําใหค นในชุมชนสามารถพ่งึ ตนเองได ในท่ีสุด การพฒั นาอาชพี จะประสบความสําเร็จมากนอยเพยี งใดข้ึนอยกู บั การพฒั นาตนเอง เนอื่ งจากปจ จบุ ัน เทคโนโลยีขาวสารมคี วามกา วหนา ดงั นั้น ผูประกอบการจาํ เปนตอ งพฒั นาตนเองใหท นั กับการเปลี่ยนแปลง อยูเสมอ โดยฝกใหเปนคนชางสังเกต ชางคิด มีปฏิภาณไหวพริบดี มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค เปนคน ละเอียดถี่ถวน รอบคอบ มีหลักการ เหตุผล มีความขยันหมั่นเพียรในการทํางาน มีความอดทน ใฝหา ประสบการณ อทุ ิศตนเพ่ืองานอาชพี อยา งจริงจัง จึงจะไดชื่อวาเปนผูที่รูจักพัฒนาตนเองเพ่ือความสําเร็จใน งานอาชพี การพัฒนาตนเอง หมายถึง การท่ีบุคคลกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายในชีวิตของตนไว ลวงหนา และหาวิธพี ัฒนาใหบ รรลเุ ปาหมายที่วางไว เชน กําหนดเปาหมายวาตองการปลูกขาวใหได ไรละ 100 ถัง ดงั นั้น จะตองหาวธิ กี ารดาํ เนนิ งานใหไ ดตามเปา หมาย เชน ใชพนั ธุขาวท่ีใหผลผลิตสูงควบคูกับการ ดูแลรกั ษาอยา งเอาใจใส ซึ่งมีประโยชนข องการพฒั นาตนเองในการพฒั นาอาชีพ ดังน้ี 1. ชว ยเพม่ิ พูนความรู ความสามารถ 2. ชวยใหเกิดความเชือ่ มัน่ ในตนเอง 3. ชว ยใหเกดิ ประสทิ ธภิ าพในการทํางาน 4. ชวยใหมีความสขุ ในการทาํ งาน 5. ชวยใหเกดิ ความคิดสรา งสรรคในการสรางผลงาน

26 เร่อื งท่ี 2 การวิเคราะหช ุมชนเพื่อการพฒั นาอาชีพ การพฒั นาอาชพี เปน การดาํ เนินงานอาชพี ใหมกี ารพฒั นาและกา วหนายงิ่ ขน้ึ ท้ังดานปริมาณและ คณุ ภาพ โดยมีความสอดคลองกบั ความตองการของตลาดอยา งมีระบบ การพฒั นาอาชีพ จะประสบความสาํ เร็จมากนอ ยเพยี งใด ขึ้นอยูกบั การวเิ คราะหขอมลู สถานการณ ของชมุ ชนทง้ั ภายในและภายนอกใหต รงกบั สภาพความเปนจรงิ ตามทีม่ กี ารเปลยี่ นแปลง เพื่อการสรางความ เชอ่ื มั่น และกาํ หนดเปาหมายการพัฒนางานอาชพี ทีช่ ัดเจน ดังนั้น การดําเนินการพัฒนาอาชีพใหประสบความสําเร็จ แมวาผูดําเนินการอาชีพ จะไดมี การดําเนินงานอาชีพมาแลว พรอมทั้งไดผานการวิเคราะหความเปนไปได รวมทั้งไดมีการศึกษาขอมูล องคป ระกอบทเ่ี ก่ียวขอ งมาแลวก็ตาม ในการพัฒนาอาชีพ จึงมีความจําเปนท่ีตองวิเคราะหขอมูลสถานการณของชุมชน ใหเหมาะสม สอดคลองกับสภาพบริบทของพื้นท่ี ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี ีวิต และทรพั ยากรมนุษย ดงั นั้น เพ่ือเปนการสรางความเชอ่ื มั่น และสามารถกาํ หนดเปา หมายในการดําเนินงานพฒั นาอาชีพ ไดอยางเหมาะสม จึงควรไดมีการวิเคราะหชุมชนเก่ียวกับสภาพบริบทของพื้นท่ีกับงานอาชีพท่ีตัดสินใจ จะดาํ เนนิ การพฒั นา การดาํ เนนิ การวิเคราะหช มุ ชน โดยทั่วไปนยิ มใชเ ทคนคิ SWOT ในการประเมินเพราะเปนเทคนิค สําหรับการวิเคราะหสภาพแวดลอมท่ีมีผลกระทบวา มีผลดีหรือผลเสียอยางไรตอส่ิงที่จะกระทํามี รายละเอยี ด ดังน้ี S (Strength) จุดแขง็ หมายถึง ความสามารถ หรอื สถานการณภายในชุมชนที่เปนเชิงบวก ซ่งึ สามารถนํามาใชป ระโยชนในการทํางาน เพ่ือใหงานบรรลุวตั ถุประสงค หรือกอใหเกิดประโยชนตอการ ทํางาน สงผลใหง านท่ีทําเกดิ ความเขมแข็ง W (Weakness) จุดออน หมายถึง สถานการณภายในชุมชนที่เปนเชิงลบ ซ่ึงไมสามารถ นาํ มา ใชเปนประโยชนในการทาํ งาน เพ่ือใหงานบรรลุวัตถุประสงค หรือไมกอใหเกิดประโยชนตองาน อาจสง ผลใหงานท่ีทําเกดิ ความลมเหลวได O (Opportunity) โอกาส หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกชุมชน ท่ีเอื้อประโยชน ในการทาํ งานใหบ รรลวุ ตั ถุประสงค หรือหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกทีเ่ ปนประโยชนตอการดําเนินงาน T (Treat) อุปสรรค หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกชุมชน ที่ขัดขวางหรือ ไมสนับสนุนตอการทํางานใหบรรลุวัตถุประสงค หรือหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกที่เปนปญหา ตอการดําเนนิ งาน

27 ในการดําเนินการวิเคราะหชุมชนตามสภาพบริบทของพื้นที่ ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต และทรัพยากรมนุษย กับงานอาชีพที่ ตัดสินใจจะดําเนินการพัฒนา ดวยเทคนิค SWOT เพื่อการเขาสูอาชีพ มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ 1. กําหนดประเด็นสภาพบริบทของพ้ืนที่ท่ีมีความสัมพันธตองานอาชีพที่ตัดสินใจท่ีจะดําเนินการ พัฒนา เพ่ือการนาํ มาวิเคราะห เชน 1.1 กลุมอาชพี เกษตรกรรม ประเดน็ สภาพบรบิ ทท่ีควรนาํ มาวิเคราะห ไดแ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภมู อิ ากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศ และทรัพยากรมนษุ ย 1.2 กลมุ อาชีพอตุ สาหกรรม ประเดน็ สภาพบรบิ ทท่ีควรนาํ มาวิเคราะห ไดแ ก ทรพั ยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ 1.3 กลมุ อาชพี พาณชิ ยกรรม ประเดน็ สภาพบริบททีค่ วรนาํ มาวเิ คราะห ไดแก ทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมอิ ากาศ ภูมปิ ระเทศ และทาํ เลที่ตง้ั 1.4 กลมุ อาชพี ความคดิ สรา งสรรค ประเดน็ สภาพบริบททคี่ วรนาํ มาวเิคราะห ไดแ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรมนษุ ย 1.5 กลุมอาชีพอํานวยการและอาชพี เฉพาะทาง ประเดน็ สภาพบริบททีค่ วรนาํ มาวเิ คราะห ไดแ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภมู ิประเทศ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวถิ ชี ีวติ และทรัพยากรมนษุ ย 2. กาํ หนดรายละเอียดยอยที่จะทําการวิเคราะหในแตละประเด็นของสภาพบริบทแตละดาน กบั งานอาชพี ที่กาํ หนดจะดําเนินการพฒั นา เชน ประเด็นของสภาพบริบท รายละเอยี ดของประเด็น 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 1.1 ความเหมาะสมและคุณภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ 1.2 ทรพั ยากรธรรมชาติในชมุ ชน และหรือชมุ ชนขางเคียง ท่ีเอ้ือตอ งานอาชีพ 1.3 ปรมิ าณและคา ใชจ ายในการซ้อื ทรัพยากร 1.4 ปรมิ าณน้ํา แหลง นาํ้ ทตี่ อ งใชใ นงานอาชพี 1.5 รายละเอียดของประเดน็ อนื่ ๆ ท่เี ก่ียวของ 2.1 ลกั ษณะภูมิอากาศ 2.2 สภาพภูมอิ ากาศกับการสนับสนนุ งานอาชีพ 2.3 ความสมั พันธของภูมิอากาศกบั สภาพพน้ื ที่ 2.4 ความสมั พนั ธของภูมอิ ากาศกับทรพั ยากรธรรมชาติ 2.5 รายละเอียดของประเด็นอนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ ง

28 ประเดน็ ของสภาพบรบิ ท รายละเอยี ดของประเดน็ 3. ภมู ิประเทศ 3.1 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี 3.2 สภาพภูมปิ ระเทศกับการเก้อื หนนุ งานอาชพี และวถิ ชี ีวติ 3.3 ความสัมพันธข องภูมปิ ระเทศกับงานอาชีพ 3.4 ความสัมพันธของภูมิประเทศกับทรพั ยากรธรรมชาติ 5. ทรพั ยากรมนษุ ย 3.5 รายละเอียดของประเด็นอืน่ ๆ ที่เกย่ี วขอ ง 4.1 งานอาชพี สอดคลองกับศลิ ปะของชมุ ชน 4.2 งานอาชพี มคี วามสัมพนั ธกบั วัฒนธรรมของชมุ ชน 4.3 งานอาชพี มคี วามสัมพนั ธกบั ประเพณขี องชุมชน 4.4 งานอาชพี มีความสมั พันธกับวิถีชวี ติ ของคนในชมุ ชน 4.5 รายละเอยี ดของประเดน็ อนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วของ 5.1 ความรู ในการประกอบอาชพี ของตนเอง 5.2 ผรู ูในชมุ ชน ท่ีมคี วามรูเ กี่ยวกบั งานอาชพี 5.3 แรงงานในชุมชนทจี่ าํ เปน ตอ งใชใ นงานอาชีพ 5.4 การบรหิ ารงานบคุ คล แรงงาน 5.5 ความสัมพนั ธข องคนในชุมชนกับผปู ระกอบการ 5.6 รายละเอยี ดของประเดน็ อน่ื ๆ ที่เกยี่ วของ

29 3. เม่อื สามารถกาํ หนดรายละเอียดยอยไดใ นแตล ะประเดน็ ของสภาพบริบทแลว ในการวเิ คราะห ใหดาํ เนินการ วเิ คราะหใ นแตล ะดานของการวเิ คราะหดวยเทคนิค SWOT ตามตารางวิเคราะห ดงั นี้ อาชพี ทต่ี ดั สินใจเลอื ก ................................................. สถานการณภ ายในชมุ ชน จดุ แขง็ จดุ ออน 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภูมอิ ากาศ 2. ลักษณะภูมิอากาศ 3. ภมู ิประเทศ 3. ภูมิประเทศ 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวิต 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ 5.ทรพั ยากรมนุษย 5.ทรพั ยากรมนุษย สถานการณภายนอกชมุ ชน โอกาส อุปสรรค 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภมู อิ ากาศ 2. ลักษณะภมู ิอากาศ 3. ภูมปิ ระเทศ 3. ภูมิประเทศ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิต 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวิต 5.ทรัพยากรมนษุ ย 5.ทรพั ยากรมนุษย 4. ดําเนนิ การวเิ คราะหร ะบขุ อมลู ตามความเปน จริง ตามหวั ขอ ของรายละเอยี ดยอยในแตละประเดน็ ของสภาพบริบทชมุ ชนวา มคี วามสมั พันธก ับงานอาชีพทจ่ี ะดําเนนิ การพฒั นาอยางไร ทง้ั น้ี ในการวเิ คราะห ระบขุ อ มูล ผดู ําเนนิ การไดแกผูท ต่ี ดั สนิ ใจพฒั นาอาชพี เปน ผูด ําเนินการเอง โดยตองวเิ คราะหระบขุ อ มลู ดวย ความเปนจรงิ ในการวเิ คราะหระบขุ อ มลู สถานการณภ ายในชมุ ชน เปนการวเิ คราะหร ะบขุ อมลู เก่ยี วกับ รายละเอยี ดยอยในแตละประเด็น แยกขอ มลู ภายในชุมชนท่ีเปนเชิงบวกหรือเปนสว นสนบั สนนุ เกอ้ื หนนุ ให งานอาชพี ประสบความสาํ เรจ็ ในดา นจุดแขง็ และระบุขอมลู ในชุมชนทีเ่ ปนเชิงลบ หรอื เปนขอ มูลทอี่ าจจะ เปน ปญ หาไดก บั งานอาชีพในดานจดุ ออ น

30 ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายนอกชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูลเกี่ยวกับ รายละเอียดยอยในแตละประเด็น แยกขอมูลภายนอกชุมชนที่เปนเชิงบวก หรือเปนสวนสนับสนุน เอ้อื ประโยชนใ นการทํางานอาชีพใหบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค หรือเปน ประโยชนตอ การดาํ เนินงาน ในดา นโอกาส และระบุขอมูลภายนอกชุมชนท่ีเปนเชิงลบ หรืออาจจะเปนสิ่งที่ขัดขวางหรือไมสนับสนุนตอการทํางาน อาชพี ใหบรรลวุ ัตถุประสงค หรือเปน ปญหาตอการดาํ เนินงานอาชพี ในดา นอุปสรรค ตัวอยา งการวเิ คราะหระบุขอมูล อาชพี การพัฒนาบรรจภุ ณั ฑน ้ํามนั มะพรา วกลั่นเยน็ สถานการณภ ายในชุมชน จุดแข็ง จุดออ น 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ไมม ีขอ มลู เปนจดุ แข็ง 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ไมม ที รัพยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภมู อิ ากาศ ตาํ บลเกาะกดู มีลักษณะ ที่สามารถนาํ มาใชเ ปน บรรจภุ ัณฑท ี่เหมาะสมได ภมู ิอากาศ ท่เี หมาะสมตอการทองเท่ยี ว 2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ อาจมีปญ หาไดใ นชว ง มนี ักทอ งเทย่ี วท้งั ชาวไทยและชาวตางประเทศ ฤดมู รสมุ เพราะเรือโดยสารทจี่ ะฝากผลผลิต นิยมเดนิ ทางมาเที่ยวเปน จํานวนมาก จงึ เกือ้ หนนุ ไปจําหนายอาจจะไมออกเรือ ในการดําเนนิ งานอาชีพ 3. ภมู ิประเทศ ตาํ บลเกาะกูดหางจากฝงรว ม 80 3. ภมู ปิ ระเทศ ตาํ บลเกาะกดู มภี มู ิประเทศ กิโลเมตรทางทะเล อาจจะมีปญ หาในการขนสง เปน เกาะทม่ี ีธรรมชาติสวยงาม มนี กั ทองเทย่ี ว และการจําหนายผลผลติ ได ทั้งชาวไทยและชาวตา งประเทศเดนิ ทางมาเท่ยี ว 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ เปน จาํ นวนมาก จงึ เกื้อหนุนในการดําเนินงาน ไมมีขอ มลู เปนจุดออ น อาชีพ 5. ทรัพยากรมนุษย ไมม ขี อมูลเปน จดุ ออน 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ น้ํามนั มะพรา ว เปน ผลติ ภัณฑท ่ีมคี วามนยิ มใช การพัฒนาบรรจภุ ณั ฑจะสามารถทําใหน ้ํามนั มะพรา วใชไ ดน าน ไมมีกลนิ่ หนื และสะดวก ในการใช 5. ทรพั ยากรมนุษย ไมตองใชแ รงงาน เพราะสามารถดาํ เนินการไดดว ยสมาชิกภายใน ครอบครวั

31 สถานการณภายนอกชมุ ชน โอกาส อปุ สรรค 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ ไมมขี อมลู เปนโอกาส 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ไมม ขี อ มูลเปนอปุ สรรค 2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ นักทอ งเทีย่ วท้ังชาวไทย 2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ อาจมปี ญ หาไดใ นชว ง และชาวตางประเทศนยิ มเดนิ ทางมาเท่ยี วเปน ฤดมู รสุม เพราะเรือโดยสารทจ่ี ะฝากผลผลิต จํานวนมาก เพราะมลี กั ษณะภูมอิ ากาศ มีความ ไปจาํ หนายอาจจะไมอ อกเรือ เหมาะสมตอการทอ งเทยี่ ว จงึ เกอ้ื หนุนในการ 3. ภมู ิประเทศ ตาํ บลเกาะกูดหางจากฝง รว ม 80 ดําเนินงานอาชีพ กโิ ลเมตรทางทะเล อาจจะมปี ญ หาในการขนสง 3. ภมู ปิ ระเทศ ภมู ปิ ระเทศของตําบลเกาะกดู และการจาํ หนา ยผลผลติ ได มีมะพราวเปนจาํ นวนมาก และมีธรรมชาติ 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิต สวยงาม มนี กั ทองเที่ยวทั้งชาวไทยและ ไมม ีขอมูลเปนอุปสรรค ชาวตางประเทศเดนิ ทางมาเท่ยี วเปนจํานวนมาก 5. ทรพั ยากรมนุษย มีผูผลิตในทอ งถิน่ อน่ื จึงเกอ้ื หนนุ ในการดําเนนิ งานอาชีพ ทดี่ าํ เนนิ การผลิต อาจสงผลตอ การจาํ หนายได 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิต ผูทใ่ี ชน า้ํ มนั มะพราวกลั่นเยน็ ใหความสาํ คัญ ตอบรรจุภณั ฑท่ีใชส ะดวก 5. ทรพั ยากรมนษุ ย ไมม ขี อมูลเปนโอกาส 5. เมื่อดําเนินการวิเคราะหระบขุ อ มลู ตามหวั ขอของรายละเอยี ดยอ ยในแตล ะประเด็นของ สภาพบริบทชมุ ชนแลว ผูว เิ คราะหขอ มลู ตองวิเคราะหส รปุ ขอ มูลทงั้ หมด เพ่ือใหม องเห็นสภาพการณ ทงั้ หมด พรอมท่จี ะนําไปกําหนดเปา หมายและทิศทางท่ีจะดาํ เนนิ การพฒั นาอาชพี ตอไป โดยควรสรปุ เปน ขอเพอื่ ความชดั เจน

32 ตัวอยา งการวเิ คราะหส รปุ ขอ มูล จากผลการวิเคราะหระบุขอมูล สามารถสรปุ ขอมูลไดด งั น้ี 1. จากขอมูลสภาพการณภายใน สรปุ ไดวา การพฒั นาบรรจุภัณฑน้ํามันมะพราวกล่ันเย็น เพราะ นํา้ มันมะพราวกลน่ั เยน็ เปนผลติ ภัณฑท ี่มคี วามนยิ มใช การพัฒนาบรรจุภณั ฑจะสามารถทาํ ใหน าํ้ มันมะพรา ว ใชไ ดนาน ไมมกี ล่ินหืน และสะดวกในการใช ทง้ั น้ี ตําบลเกาะกูด เปนแหลงทองเที่ยว ที่มีภูมิประเทศ อุดม ไปดว ยมะพราว และธรรมชาติสวยงาม มีลักษณะภูมอิ ากาศ ที่เหมาะสมตอ การทอ งเทีย่ ว ทาํ ใหม ีนกั ทอ งเที่ยว ท้ังชาวไทย และชาวตางประเทศ นิยมเดินทางมาเท่ียวเปนจํานวนมาก จึงเกื้อหนุนในการดําเนินงานอาชีพ โดยการพัฒนาบรรจภุ ัณฑน้าํ มนั มะพรา วกลั่นเย็น สามารถดาํ เนนิ การไดดว ยสมาชกิ ภายในครอบครวั ทั้งนี้ หากมีการดําเนินงานการพัฒนาบรรจุภัณฑน้ํามันมะพราวกลั่นเย็น ตองคํานึงถึงวัสดุที่จะ นํามาใชในการบรรจุภัณฑ เพราะ ไมมีทรัพยากรธรรมชาติ ในพ้ืนท่ีท่ีสามารถนํามาใชเปนบรรจุภัณฑที่ เหมาะสมได รวมท้ัง ระยะทางของตําบลเกาะกูดหางจากฝงรวม 80 กิโลเมตรทางทะเล และสภาพ ภูมิอากาศในชว งฤดูมรสมุ เพราะเรือโดยสารท่จี ะฝากผลผลติ ไปจาํ หนายอาจจะไมออกเรือ 2. จากขอ มูลสภาพการณภายนอก สรปุ ไดว า การใชน ํ้ามันมะพรา วกล่ันเยน็ มีผูที่นิยมจํานวนมาก แตสว นใหญใ หความสําคญั ตอบรรจุภณั ฑท ่ใี ชสะดวก ทั้งนี้ จากการมาทองเทยี่ วที่ตําบลเกาะกูด เพ่ือชื่นชม ธรรมชาติท่ีสวยงาม ของนักทองเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศสามารถเก้ือหนุนในการดําเนินงาน อาชพี ไดเ ปน อยา งดี 3. ภาพรวมการวิเคราะหส ภาพการณสรปุ ไดว า 1. มีความเหมาะสมและเปน ไปได ในการพฒั นาบรรจภุ ัณฑน ้าํ มนั มะพราวกล่ันเย็น เพราะผูใช นํ้ามันมะพรา ว ใหค วามสาํ คญั ตอ บรรจภุ ณั ฑท ่ีใชสะดวก 2. ดําเนินการพัฒนาอาชพี ใชก ารบรหิ ารจดั การอาชีพในลกั ษณะครอบครัว 3. เมอ่ื สามารถวิเคราะหก ําหนดเปา หมายและทิศทางทีจ่ ะดําเนินการพัฒนาอาชพี ไดแลว เพ่ือให เกิดเปาหมายสูงสดุ และเสน ทางการดาํ เนินการพฒั นาอาชีพ ผูประกอบการควรจัดทําแผนพัฒนาธุรกิจชุมชน เพื่อใหก ารบรหิ ารจัดการงานอาชพี เปน ไปอยางมรี ะบบและเปา หมายทีช่ ดั เจน

33 กจิ กรรมที่ 1 วิเคราะหชมุ ชน ใหผ ูเรียนวเิ คราะหช ุมชน ตามสภาพบริบทของพื้นที่ ไดแ ก ทรพั ยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภมู ิอากาศ ภมู ปิ ระเทศ ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชีวติ และทรพั ยากรมนุษย กบั งานอาชพี ทกี่ าํ หนดจะพฒั นา ดวยเทคนิค วิเคราะห SWOTเพ่อื การพัฒนาอาชพี อาชพี ทตี่ ดั สินใจเลือก ................................................. สถานการณภ ายในชมุ ชน จุดแขง็ จุดออน 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภมู อิ ากาศ 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ 3. ภูมิประเทศ 3. ภูมิประเทศ 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ 5. ทรพั ยากรมนษุ ย 5. ทรัพยากรมนษุ ย สถานการณภ ายนอกชมุ ชน โอกาส อุปสรรค 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภมู อิ ากาศ 2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ 3. ภูมปิ ระเทศ 3. ภูมปิ ระเทศ 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวิต 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี ีวติ 5. ทรัพยากรมนษุ ย 5. ทรัพยากรมนุษย

34 เรอื่ งที่ 3 การกําหนดวสิ ยั ทศั น พันธกิจ เปา หมาย และกลยทุ ธในการวางแผนพฒั นาธุรกิจของชุมชน วสิ ยั ทศั น เปน การกาํ หนดภาพในการประกอบอาชพี ในอนาคต มุงหวังใหเกิดผลอยางไร หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งคือการมองเปาหมายของธุรกิจวาตองการใหเกิดอะไรข้ึนขางหนา โดยมีขอบเขตและ ระยะเวลากําหนดท่ีแนนอน เชน รานขนมปงแหงหนึ่งในจังหวัดชลบุรีกําหนดวิสัยทัศนไววา “จะพัฒนา ผลติ ภณั ฑข นมปง ใหมยี อดการจาํ หนา ยสูงสุดของภาคตะวันออกภายใน 3 ป” ในการกําหนดวิสัยทัศนเปน การนําเอาผลการวิเคราะหขอมูลชุมชนและขอมูลอาชีพของผูประกอบการมาประกอบการพิจารณา อยางรอบคอบเพ่ือการตัดสินใจทด่ี ี มีความเปน ไปไดเ พือ่ นาํ ไปสคู วามสําเรจ็ ของธรุ กจิ ในที่สุด พันธกิจ คอื ภาระงานทผี่ ปู ระกอบการจะตองดาํ เนินการใหเกิดผลสําเร็จตามวิสยั ทัศนท ่ีกาํ หนด ไวใ หไ ด ผปู ระกอบการจะตองสรา งทมี งานและกําหนดภารกิจของสถานประกอบการใหชัดเจน ครอบคลุม ทั้งดานการผลติ และการตลาด การวิเคราะหพันธกิจ ของสถานประกอบการ สามารถตรวจสอบวาพันธกิจใดควรทํากอน หรือหลัง หรือพันธกิจใดควรดํารงอยูหรือควรเปลี่ยนแปลง ผูประกอบการและทีมงานจะตองรวมกัน วิเคราะห เพื่อกําหนดพันธกิจหลักของสถานประกอบการ ผูประกอบการและทีมงานจะตองจัดลําดับ ความสําคญั ของพนั ธกิจและดําเนินการใหบ รรลุเปา หมายใหไ ด เปาหมายหรอื เปาประสงคเปา หมายในการพฒั นาอาชพี คือ การบอกใหท ราบวาสถานประกอบการนั้น สามารถทําอะไรไดภ ายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะส้ัน หรือระยะยาว 3 ป หรือ 5 ปก็ได การกําหนดเปาหมายของการพัฒนาอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การกําหนด เปา หมายหากสามารถกาํ หนดเปนจํานวนตัวเลขไดก จ็ ะยงิ่ ดี เพราะทําใหม ีความชดั เจนจะชวยใหก ารวางแผนมี คณุ ภาพยง่ิ ข้นึ และจะสงผลในทางปฏบิ ัตไิ ดด ีย่ิงขึน้ กลยุทธใ นการวางแผนพฒั นาอาชพี เปนการวางแผนกลยุทธในการพัฒนาอาชพี หรอื ธรุ กจิ นั้น ๆ ใหส าํ เร็จตามเปาหมายที่วางไว การวางแผนจะตองกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย ระยะเวลาใหชัดเจน มีการ วเิ คราะหสิง่ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต และมีการทํางาน วางระบบไวคอนขางสูงเพ่ือใหมีความคลองตัวในการ ปรับเปล่ยี นไดตามสถานการณท ่ีเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งน้ี เพ่ือใหผูประกอบการและทีมงานสามารถ พัฒนาอาชีพใหม ปี ระสิทธิภาพ และมีความกาวหนา ไดใ นอนาคต

35 ความสําคญั ของการวางแผน การวางแผนพฒั นาธุรกจิ ของชุมชน มีความสําคญั ดงั นี้ 1. ชวยลดความเส่ยี งท่ีจะเกดิ ข้นึ จากความไมแนน อนในการทาํ งานได เพราะไดมีการเตรยี มการ หรอื เตรยี มความพรอมไวในแผนลวงหนา แลว 2. ทาํ ใหก ารดาํ เนินการของสถานประกอบการเปนไปตามเปาหมายทว่ี างไว ต้ังแตเริ่มตนจนถึง การดาํ เนนิ การส้นิ สุด 3. เปนการยอมรับความคิด วิธีการใหม ๆ ในการดําเนินการเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง อยูตลอดเวลา 4. ชว ยประหยัดเวลาในการดําเนินการ เนื่องจากการวางแผนทําใหมองเห็นภาพรวมของการ ทํางานไดตลอดทง้ั กระบวนการ 5. ทําใหส มาชกิ ของสถานประกอบการมีความเขา ใจ สามารถมองเหน็ ภาพการทํางานรวมกนั ได โดยมแี ผนงานเปน เครอื่ งมอื การดําเนินงานทชี่ ัดเจนขนึ้ 6. ทําใหเกิดการประสานงานที่ดีในสถานประกอบการ เนื่องจากสมาชิกทุกคนรูแนวทาง การทาํ งานลวงหนา 7. เปน แรงจูงใจทีด่ ใี นการทํางานของสมาชิกในสถานประกอบการ ขัน้ ตอนกระบวนการวางแผน ขั้นตอนของกระบวนการวางแผนในการพัฒนาธุรกจิ ของชมุ ชน มดี งั นี้ 1. ข้ันการกําหนดวัตถุประสงคตองใหชัดเจน เพ่ือเปนแนวทางการปฏิบัติหรือการดําเนิน กิจกรรมตาง ๆ 2. ขัน้ การกาํ หนดวตั ถุประสงค ตอ งมคี วามชดั เจนวา จะทําเพ่ืออะไรและวัตถปุ ระสงคน ้นั จะตอง มีความเปนไปไดห รือไม และสามารถวดั ผลได 3. ขั้นการตงั้ เปา หมาย เปนการระบเุ ปา หมายทจ่ี ะทาํ วาต้งั เปาหมายในการดําเนินการไว จํานวน เทาใด และสามารถวดั ไดใ นชว งเวลาสน้ั ๆ 4. ข้นั การกาํ หนดข้ันตอนการทํางาน เปนการคิดไวกอนวาจะทํากิจกรรมอะไรกอน หรือหลัง ซึง่ การกําหนดแผนกจิ กรรมน้ี จะทําใหการดาํ เนินงานบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคไ ดอยางมีประสิทธิภาพ 5. ขนั้ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามแผน ซึ่งจะตองดําเนินการอยา งตอ เนอื่ งจึงจะไดผ ล 6. ขั้นการปรับแผนการปฏิบัติงาน ในบางคร้ังแผนท่ีวางไวเมื่อไดดําเนินการไประยะหนึ่ง อาจจะทําใหสถานการณเปลี่ยนไป ผูประกอบการจึงควรมีการปรับแผนบางเพื่อใหสอดคลองกับ ความเปนจริงมากขนึ้ และการดําเนินงานตามแผนจะมีประสิทธิภาพขึน้ แบบฟอรม การเขยี นแผนปฏิบัตกิ าร มหี ลายแบบผดู าํ เนนิ การสามารถเลือกใชแบบใดกไ็ ดขน้ึ อยู กบั วตั ถุประสงคของการใช และความเหมาะสมกับลักษณะงาน

36 การวางแผนกลยทุ ธจ ะชว ยสรางความเปนผูนําหรือภาพลักษณท่ีดีใหแกองคกร หรือธุรกิจได โดยแสดงใหเหน็ จุดเดน ของธรุ กิจวาจะใหเกิดอะไรขึ้นในอนาคต ดงั น้ัน แผนกลยทุ ธจึงมคี วามสําคัญ ดงั น้ี 1. ชวยใหธุรกิจหรือสถานประกอบการสามารถพัฒนาตนเองไดทันกับการเปลี่ยนแปลงของ สภาวะเศรษฐกิจและสังคม เพราะไดวิเคราะหใหเห็นถึงสภาพตาง ๆ ของธุรกิจหรือสถานประกอบการ และสภาพแวดลอมมาแลว 2. ชว ยใหธรุ กิจหรือสถานประกอบการ สามารถดําเนินการไดอิสระมากขนึ้ มคี วามรับผิดชอบตอ ความสําเร็จหรือลมเหลวดว ยตนเอง เพราะการดาํ เนินงานสามารถทาํ ไดตามแผนทก่ี ําหนดไว ไมใ ชตามความ ตอ งการของผูมีอํานาจ 3. การวางแผนตอ งสอดรบั กับการกระจายอาํ นาจ จะชว ยใหการกาํ หนดระเบยี บวธิ ีปฏบิ ัตติ า ง ๆ ใหผปู ฏบิ ัติใชเ ปน บรรทัดฐานในการทาํ งานไดเปน อยางดี ซึง่ ถือวา เปน เครือ่ งมอื ของการปฏบิ ัติตามแผน 4. แผนกลยุทธเปนเง่ือนไข ของการกําหนดงบประมาณในการทํางาน โดยมุงเนนผลงานได เปนอยางดี 5. แผนกลยทุ ธเปน แผนท่ที าทายความสามารถของผูป ฏิบัติ และชว ยใหผูปฏิบัติมีความคิดริเริ่ม สรา งสรรค และสามารถเลอื กทางใหมใ นการทาํ ธรุ กจิ หรือการประกอบการไดดว ยตนเอง ดงั น้นั แผนกลยทุ ธ จงึ เปนแผนพัฒนาไดอ กี ทางหน่ึงดว ย

37 กจิ กรรมที่ 2 การกาํ หนดวิสยั ทัศน พนั ธกจิ เปาหมายและกลยทุ ธในการวางแผนพฒั นาอาชีพธุรกจิ ของชมุ ชน 1. ใหผูเรียนรวมกับครู และผูนําชุมชนรวมกันกําหนดความมุงหวังในลักษณะของคําตอบ ในเร่อื งเปาหมายและทิศทางของชมุ ชน ซึง่ เรียกวา “วิสยั ทศั น” 2. ใหผูเรยี นกําหนด “พันธกจิ ” ท่ีเปน ภาระของชมุ ชนทจี่ ะทําใหก ารดําเนินงานบรรลสุ ูว สิ ยั ทศั น ที่กาํ หนด 3. ใหผ ูเรยี นกําหนด “เปา หมาย” จะทาํ ใหเ หน็ ทศิ ทางของการทาํ งานและลักษณะของความสําเร็จ 4. ใหผเู รียนกําหนด “แผนกลยุทธ” วิธกี ารที่เปนหลกั สําคัญท่ีจะนาํ ไปสคู วามสําเรจ็

38 เรอ่ื งที่ 4 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการดํารงอยู และการปฏิบัติตน ของประชาชนทุกระดับ ต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหาร ประเทศใหดาํ เนนิ ไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหกา วทนั ตอ โลกยคุ โลกาภิวตั น ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนท่ีจะตองมีระบบ ภมู คิ ุม กนั ในตวั ท่ีดพี อสมควรตอ การมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางย่ิงในการนาํ วิชาการตาง ๆ มาใช ในการวางแผน และการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคน ในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซ่อื สัตยส ุจรติ และใหมคี วามรอบรทู เี่ หมาะสม ดําเนนิ ชวี ติ ดว ยความอดทน ความเพียรมีสติปญญาและ ความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และกวางขวางทั้ง ดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี (ประมวลและกลั่นกรองจาก พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ตาม หนังสือที่ รล.0003/18888 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 สํานักราชเลขาธิการ พระบรมมหาราชวัง กทม.) สามารถนําเสนอโครงสรา งและองคป ระกอบปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดตามแผนภมู ิตอไปน้ี พอประมาณ มีเหตุผล ภมู คิ มุ กนั เงื่อนไขความรู เงื่อนไขคุณธรรม (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซอ่ื สัตย สจุ รติ อดทน แบง ปน ) แผนภมู ิ ทางสายกลางตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง คอื การยึดหลกั 5 ประการ ทส่ี ําคญั ในการดาํ เนนิ การ ไดแก 1. ทางสายกลางในการดําเนินชวี ติ ตง้ั แตร ะดับครอบครัว ชมุ ชน และระดับรฐั รวมถึงระบบเศรษฐกจิ ในทุกระดบั

39 2. มีความสมดุล มีความสมดลุ ระหวา งคน สงั คม สิง่ แวดลอ ม และเศรษฐกิจ มีความสมดุลในการผลิต ท่ีหลากหลาย ใชทรัพยากรทีม่ ีอยูอ ยางมีประสทิ ธิภาพ 3. มคี วามพอประมาณ ความพอเพยี งในการผลติ และการบริโภคบนพ้ืนฐานของความพอประมาณ อยา งมีเหตผุ ล ไมข ัดสน ไมฟ ุมเฟอย ในการใชทรัพยากรธรรมชาติและเทคโนโลยที มี่ คี วามพอเพยี ง 4. มีระบบภมู ิคุมกนั มภี มู ิคมุ กันในการดํารงชวี ติ มีสขุ ภาพดี มศี ักยภาพ มที กั ษะในการแกไ ขปญ หา และมีความรอบรูอยางเหมาะสม พรอมรับผลกระทบของการเปล่ียนแปลงท้ังจากภายนอกและ ภายในประเทศ 5. รูเทาทันโลก มีความรู มีสติปญญา ความรอบคอบ มีความอดทน มีความเพียร มีจิตสํานึก ในคณุ ธรรมและความซอ่ื สตั ย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาํ มาปรับใชไดอยางหลากหลาย เชน การดําเนินชีวิต อยูในครอบครวั ชุมชน สงั คม การประกอบอาชีพ ถาไดมีการนํามาใชจะทําใหเกิดความเสี่ยงนอย สําหรับ การประกอบอาชพี จําเปน ตองมีการศกึ ษา วิเคราะห ใหเ ปน ไปตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ โดยพิจารณาความรู ความสามารถ เงินทุนที่มี แรงงานที่ใชความสามารถ ในการจดั หาวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือวา มีความพอประมาณหรอื ไม เชน ทํานา 30 ไร เพียงคนเดียวโดยไมจาง แรงงานนอก ซ่งึ ไมมคี วามพอประมาณ ดังน้ัน ผูประกอบอาชีพจําเปนตองวิเคราะหวา ส่ิงที่ตองการพัฒนา นน้ั มคี วามพอประมาณมากนอยเพียงใด 2. ความมเี หตผุ ล การทจี่ ะพฒั นาอาชีพตองมีเหตุผล โดยผานการคิดอยางรอบคอบบนฐานขอมูล ทีน่ าเชื่อถือได เชน จะขยายพ้ืนที่ปลูกขาวนาปรังตองไดรับการยืนยันจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของวา จะมีน้ํา อยางเพยี งพอ หรอื วิเคราะหบ ัญชรี ายรับ รายจา ย ซึ่งบางรายการวเิ คราะหแลวไมมเี หตผุ ลทจี่ ะตอ งจาย 3. ความมีภูมิคุม กนั การมภี ูมคิ ุม กนั จะชวยแกป ญ หาที่จะเกดิ ข้ึนในอนาคตได เชน มีการรับประกัน ราคาพชื ผล มีตลาดรองรบั มกี ารเตรียมหาแรงงานไวล ว งหนา 4. เงือ่ นไขความรู ผปู ระกอบการตอ งวเิ คราะหต นเองวา มีทักษะในเร่ืองที่ตองการพัฒนามากนอย เพียงใด เชน ปจจุบันทําการเกษตรแบบเดิมอยู แตตองการจะเปล่ียนมาเปนเกษตรธรรมชาติ เน่ืองจาก ปลอดภัยตอสุขภาพของตนเอง ผูบริโภคและสิ่งแวดลอม และยังขายไดราคาดีดวย ดังนั้น จึงตองศึกษา หาความรูในการปลูกพืชเกษตรอินทรีย โดยไมใชปุยเคมี แตจะเรียนรูเรื่องการทําและการใชปุยอินทรีย ชนิดตาง ๆ เชน ปุย หมัก ปยุ น้ําชวี ภาพ ปยุ พชื สด เปนตน ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับปุยชีวภาพชนิดตาง ๆ เพื่อ นาํ มาใชทดแทนปุย เคมี 5. เง่ือนไขคุณธรรม เปนเงื่อนไขที่มีความสําคัญ โดยเฉพาะการประกอบอาชีพใหย่ังยืน ผปู ระกอบการตองมคี วามซ่อื สัตย ขยัน อดทน เชน การไมใ สส่ิงปลอมปนไปในสินคา ท่ตี อ งการขาย การโกง ตาช่งั ความขยัน อดทนตอการทาํ งาน สิง่ เหลา นี้จะทําใหลกู คา มคี วามเชื่อถือ ทําใหขายสินคาไดเพิ่มขึ้นและ ตอเนอ่ื ง

40 กจิ กรรมที่ 3 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาอาชีพ ใหผเู รียนรวมกลุมท่มี ีความสนใจในอาชีพเดียวกัน รวมกันวิเคราะหความเปนไปไดในการพัฒนา อาชพี ใหสอดคลองกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ลงในแบบบนั ทกึ แบบบันทกึ พัฒนาอาชพี ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาชพี .......................................................... ที่ เร่อื งท่ตี อ งพฒั นาอาชพี ผลการวเิ คราะห เหตุผล สอดคลอ ง ไมส อดคลอง ตองอธบิ ายเหตุผลวา แตละเรื่องมคี วาม พอประมาณ มเี หตุผล มภี ูมคิ มุ กนั มคี วามรู มคี ณุ ธรรมหรอื ไม อยางไร

41 เร่ืองที่ 5 การวางแผนปฏิบัติการ การวางแผนปฏบิ ัติการเปนขนั้ ตอนสุดทา ยของการทาํ แผนธรุ กจิ เพ่ือการพฒั นาอาชพี ที่มรี ายละเอยี ด มาจากแผนกลยทุ ธ มากาํ หนดเปนโครงการ กิจกรรมท่ีจะตองดําเนินการ โดยจะตองกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย ระยะเวลา และผูรับผดิ ชอบ โดยผเู รียน และผนู าํ ชุมชน ตองชว ยกนั กาํ หนด การวางแผนปฏิบัตกิ าร (Operational Planning) หมายถึง เปนการจดั ทาํ แผนระยะสนั้ 1 - 2 ป โดยมี การวเิ คราะหส ถานการณ การกําหนดวตั ถุประสงค และเปา หมายของงาน หรือโครงการท่ีจะตองทํารวมทั้ง จดั ทํารายละเอยี ดของการดําเนนิ งานไวดว ย โดยตองสอดคลอ งกับแผนกลยุทธ วตั ถปุ ระสงคของการวางแผนปฏบิ ัติการ 1. เพ่ือกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค และกลยุทธในการพัฒนาของแตละชุมชนที่มีพื้นท่ีท่ีตองการพัฒนา ทกั ษะ การพัฒนาอาชีพใหกบั ประชาชน 2. เพ่ือกาํ หนดลาํ ดับความสําคญั ของการพัฒนาแผนงาน โครงการ และมาตรการที่สอดคลองกับ วตั ถปุ ระสงค และกลยุทธของแตล ะชุมชนที่มพี ืน้ ทต่ี องการพัฒนาทักษะ การพัฒนาอาชพี ใหกบั ประชาชน 3. เพือ่ กําหนดแผนงาน โครงการ และมาตรการที่สนบั สนุนและสอดคลองกับแผนพัฒนาประเทศ ทงั้ น้เี พอ่ื เชอื่ มโยงไปสูการปฏบิ ตั ิ หรือการดําเนินงานพัฒนาทักษะอาชพี ใหก ับประชาชน วิธีจดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ าร การจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั ิการโดยท่ัวไปทุกชมุ ชนจะตอ งใหอยูภายใตก รอบของการพัฒนาประเทศ น่ันก็คือ การวางแผนจะตอ งเริม่ ตนดวยการกําหนดกรอบแผนพฒั นาโดยสวนรวมของประเทศขนึ้ มากอน เพื่อใชเปน แนวทางจัดทําแผนปฏิบัติการ แตบางครั้งเราอาจพบวาบางชุมชนไดจัดทําแผนและโครงการตาง ๆ ขึ้นมา โดยไมต อ งองิ กับกรอบแผนพัฒนาประเทศแตอยา งใด

42 กจิ กรรมท่ี 4 การวางแผนปฏบิ ัตกิ าร ใหผ เู รียนรว มกบั ครู ผนู าํ ชมุ ชนรวมกันจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารของการทําแผนธุรกิจ มากาํ หนดเปน กลยุทธ โครงการ กิจกรรมที่จะตองดําเนินการ โดยจะตองกาํ หนดวัตถุประสงค เปาหมาย ระยะเวลา และ ผรู ับผดิ ชอบ แบบบนั ทกึ แผนปฏบิ ัตกิ าร ชอื่ ชมุ ชน............................................................................................................ประจาํ ป พ.ศ. ……………… กลยุทธ โครงการ/ วตั ถุประสงค เปา หมาย ระยะเวลา ผรู ับผดิ ชอบ กิจกรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook