Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

Published by fangkorkla, 2020-02-17 04:14:30

Description: ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

Search

Read the Text Version

ขอ้ บังคบั เกี่ยวกบั การทางาน

สารบญั หนา้ หมวดท่ี 1 เงอ่ื นไขและสภาพการจา้ งงาน 1 ประเภทของพนักงาน 1 การทดลองงาน 1 การบรรจเุ ป็นพนักงาน 1 การบันทกึ เวลาทางาน 2 การมาทางานสาย 3 การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน 3 การเลือ่ นตาแหนง่ 3 การโอนย้าย 4 หมวดที่ 2 วันทางาน เวลาทางานปกติ เวลาพกั และวนั หยดุ 4 วนั ทางาน 4 เวลาทางานปกติ 4 เวลาพกั 5 วันหยุดประจาสัปดาห์ 5 วันหยุดตามประเพณี การเปล่ียนวันหยุด 6 6 หมวดท่ี 3 หลกั เกณฑ์การทางานล่วงเวลา 7 หลกั เกณฑ์การทางานล่วงเวลา 7 ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ 8 เง่ือนไขอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวกับคา่ ลว่ งเวลา 8 9 หมวดที่ 4 จานวนวนั ลา หลักเกณฑก์ ารลา และโทษทางวินยั ของการขาดงาน 9 ระเบยี บปฏบิ ัติในการลางาน 10 การลาหยุดพกั ผ่อนประจาปี 10 การลากจิ 11 การลาเน่ืองจากบุคคลในครอบครวั ถึงแกก่ รรม 11 การลาเพ่ือพิธสี มรส การลาป่วย การลาคลอด การลาเพอื่ รับราชการ

การลาอปุ สมบท 12 การลาไปประกอบศาสนกจิ พธิ ฮี ัจย์ 12 การขาดงาน 13 หมวดที่ 5 เงินเดือน และค่าตอบแทนอ่ืนๆ การพจิ ารณากาหนดอัตราจ้าง 14 การปรับอัตราคา่ จ้าง 14 วนั และสถานทีจ่ ่ายคา่ จ้าง ค่าล่วงเวลา คา่ ทางานในวนั หยดุ และคา่ ล่วงเวลาในวันหยุด14 เงนิ โบนสั 15 หมวดที่ 6 สวัสดกิ ารตา่ งๆ การรกั ษาพยาบาล 16 การประกันภยั อุบัตเิ หตุแบบกลุม่ 16 กองทนุ สารองเล้ยี งชพี 16 เคร่ืองแบบ 17 เงินชว่ ยเหลือกรณบี ุคคลในครอบครวั ถงึ แก่กรรม 17 การสงั คมและนนั ทนาการ 18 ทนุ การศึกษาบุตรเรียนดี 18 สวสั ดกิ ารอ่ืนๆ 18 หมวดท่ี 7 กฎระเบยี บ วนิ ัย และโทษทางวนิ ัย การเข้าและออกบริเวณบรษิ ัท 19 ระเบียบการแตง่ กาย 19 จรรยาบรรณการปฏิบัตงิ าน และการใช้สถานที่บริษทั 19 ระเบยี บวินยั ทว่ั ไป 20 ความผิดวนิ ัยร้ายแรง 22 การลงโทษทางวนิ ัย 22 หมวดที่ 8 การร้องทุกข์ และการเสนอความคิดเห็น 23 หมวดที่ 9 การพ้นสภาพการเป็นพนกั งาน การลาออก 24 การครบเกษยี ณอายุ 24 การเลกิ จ้าง 24 การให้ออก ปลดออก หรือไล่ออก 26 การถงึ แก่กรรม 26

วัฒนธรรมองคก์ ร 1. ทางานดว้ ยความซอ่ื สัตย์และทมุ่ เท 2. เอือ้ อาทรและเป็นทีม 3. พร้อมพัฒนาตนเองและองค์กร

คุณลกั ษณะของเพอ่ื นร่วมงาน กลมุ่ บริษทั ในเครือ ฉตั รทอง พรอ็ พเพอร์ตี้ •ซื่อสตั ย์สจุ รติ และทมุ่ เททางานหนัก •กตัญญตู อ่ ผูม้ พี ระคณุ •ขยนั ท่มุ เท รักการเรียนรู้ และมี ความคิดสร้างสรรค์ •มจี ติ ใจงาม เสียสละ และบาเพ็ญ ประโยชน์ •สมานสามคั คี และให้อภัย •ประหยัด ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง •มีระเบยี บวินยั มนี ิสัยรักความสะอาด และรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม •เปน็ ผู้นา และผตู้ ามท่ีดี •มที ัศนคติเชิงบวกตอ่ ตนเอง ต่องาน ต่อสงั คม และตอ่ ลกู คา้

หมวดที่ 1 เงื่อนไขและสภาพการทางาน ขอ้ 1 ประเภทของพนกั งาน ก. พนกั งานทดลองงาน หมายถงึ พนักงานซ่งึ บรษิ ัทฯจา้ งไว้เพอ่ื ปฏบิ ัตงิ านเป็นการประจา แต่อยู่ในช่วงระยะเวลาทดลองปฏิบัติงานซึ่งมีกาหนด 90 วัน (สาหรับพนักงานทั่วไป) และ 30 วัน (สาหรับพนกั งานขับรถ) ซ่งึ ปกติจะไดร้ ับคา่ จ้างเปน็ รายเดือน ข. พนักงานประจา หมายถึง พนักงานซ่ึงบริษัทฯ ได้จ้างไว้เป็นประจา ซ่ึงพนักงานได้ผ่าน การทดลองปฏบิ ตั ิงาน 90 วนั (สาหรับพนักงานท่ัวไป) และ 30 วัน (สาหรับพนักงานขับรถ) ซ่ึงปกติ จะไดร้ ับคา่ จา้ งเปน็ รายเดือน ขอ้ 2 การทดลองงาน 2.1 พนกั งานใหมท่ กุ คนจะมีระยะเวลาทดลองงานตามข้อกาหนด 2.2 ในระหว่างระยะเวลาทดลองงาน ทางบริษัทฯมีสทิ ธบิ อกเลิกจ้างโดยไม่ต้องแจง้ ลว่ งหนา้ และไม่ตอ้ งจ่ายเงินชดเชยใด ๆ ทั้งส้ิน แต่ทางบรษิ ทั จะแจ้งใหท้ ราบเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร 2.3 ในระยะทดลองงาน พนักงานจะขอลาหยุดได้ไม่เกนิ 6 วัน ขอ้ 3 การบรรจเุ ป็นพนักงานประจา 3.1 ไดผ้ า่ นการทดลองปฏบิ ตั ิงานเปน็ เวลา 90 วัน (สาหรับพนกั งานท่วั ไป) และ 30 วัน (สาหรบั พนักงานขบั รถ) 3.2 เมอ่ื พนกั งานได้รบั การบรรจุเป็นพนกั งานประจาของบริษทั แลว้ บรษิ ัทฯ จะเร่มิ นับอายุ การทางานตัง้ แตว่ นั แรกที่เข้าเป็นพนกั งานทดลองปฏบิ ตั ิงาน ข้อ 4 การบันทึกเวลางาน 4.1 พนักงานทุกคนมีหนา้ ที่จะต้องลงบันทกึ เวลาทางานท้ังเวลาเขา้ งาน และเวลาเลกิ งานใน สมดุ บันทึกเวลาทางาน ที่จดั เตรียมไวใ้ ห้ 4.2 พนักงานท่ีตอ้ งออกไปปฏบิ ตั ิงานตา่ งจงั หวัดเป็นครั้งคราว ต้องใหผ้ ู้บังคับบัญชา ลงชื่อ กากบั ในสมุดบนั ทึกทกุ คร้ังทนั ทีทกี่ ลบั มาจากการปฏิบัตงิ านตา่ งจงั หวัด 4.3 ห้ามพนกั งานบนั ทึกเวลาเข้าทางาน หรือเวลาเลิกทางานแทนกนั ซ่งึ ถอื เป็นความผิดตอ่ ระเบียบข้อบงั คบั เก่ียวกบั การทางาน อันมีโทษทางวนิ ยั ขอ้ บังคับการทางานของบริษัท -1-

4.4 ในกรณที ่ีพนักงานมไิ ดล้ งบนั ทึกเวลาในวันทางานปกติวันใด ใหช้ แ้ี จงแสดงเหตผุ ลตอ่ ผบู้ งั คับบญั ชา เพื่อลงชอ่ื กากบั ทุกคร้งั ถา้ ไม่ปฏิบตั ิดงั กล่าว หรือปฏิบตั แิ ล้วมเี หตผุ ลไม่เพยี งพอที่จะ ให้ผู้บังคบั บญั ชาดังกลา่ วลงช่อื กากบั ได้ บริษัทจะถอื เป็นหลักฐานในการพจิ ารณาการขาดงานของ พนักงานในวันน้ัน ๆ 4.5 ระเบียบว่าดว้ ยการบันทึกเวลาทางาน มิใหใ้ ชบ้ ังคับกับพนักงานท่ีโดยสภาพของงานไม่ อาจกาหนดเวลาทางานแนน่ อนได้ ขอ้ 5 การมาทางานสาย การเข้าทางานหลังกาหนดเวลาเข้าทางานตามปกติ โดยมิได้มีเหตุมาจากการไปปฏิบัติงาน ให้บริษัท หรือการใช้สิทธิการลา ให้ถือว่าเป็นการมาทางานสาย ซึ่งถือเป็นความผิดต่อระเบียบ ข้อบังคับ และมีผลต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อพิจารณาความดี ความชอบในการขึ้น เงนิ เดอื นประจาปี ไดแ้ ก่ 5.1. พนกั งานที่มาถึงที่ทางาน และเข้าปฏิบัติงานต้ังแต่เวลา 8.16 – 9.00 น. จัดว่าเป็นการมา ทางานสาย และพนักงานที่มาปฏิบัติงานหลังเวลา 9.00 น. เป็นต้นไปต้องลากิจ 1/2 วัน(สาหรับ พนักงานสานักงาน) 5.2 สาหรับพนักงานประจาสถานีบริการที่มาถึงที่ทางาน และเข้าปฏิบัติงานเกินเวลา กาหนดเข้างาน 16 นาที ถือว่าเปน็ การมาทางานสาย และพนักงานท่ีมาปฏบิ ัติงานหลังเวลาเร่ิมงาน มากกวา่ 30 นาที แต่ไม่เกิน 4 ชวั่ โมง ตอ้ งลากจิ 1/2 วนั กฎเกณฑ์การมาสายในรอบ 1 ปี ก. มาทางานสายเกินกวา่ 36 คร้ัง ใหเ้ ลอื่ นการขึ้นเงินเดือนไป 2 เดอื น ข. มาทางานสายเกนิ กว่า 48 คร้งั ใหเ้ ลือ่ นการข้ึนเงินเดือนไป 3 เดือน ค. มาทางานสายเกนิ กว่า 60 คร้ัง ใหเ้ ลื่อนการขึ้นเงนิ เดือนไป 4 เดือน ง. มาทางานสายเกินกว่า 72 ครงั้ ใหง้ ดการขนึ้ เงินเดือน ขอ้ บังคับการทางานของบริษัท -2-

ข้อ 6 การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน 6.1 ทางบรษิ ัทจะทาการประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานเป็นประจาในเดือนธันวาคมของ ทุกปี ๆ ละ 1 ครั้ง โดยผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ระดับผู้จัดการฝ่ายข้ึนไป หรือผู้บังคับบัญชาสูงสุดในฝ่าย หรอื สาขานน้ั เปน็ ผปู้ ระเมิน 6.2 การประเมนิ ผล จะพจิ ารณาจากผลการปฏิบตั งิ านดา้ นคณุ ภาพของงาน ดา้ นปริมาณงาน การทางานร่วมกับผู้อน่ื การให้ความร่วมมือกบั กิจกรรมตา่ งๆ ขององคก์ ร การปฏิบตั ิตามระเบียบ วินัยขององคก์ ร และสถิตกิ ารมาทางานเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา 6.3 ผลจากการประเมิน ทางบรษิ ัทจะใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาการเลื่อนตาแหน่ง และ การปรับอตั ราเงินเดอื นประจาปีใน เดือน มกราคม ของทกุ ปี (หรอื เทศกาลตรษุ จนี ) ขอ้ 7 การเล่ือนตาแหน่ง 7.1 เมื่อมีตาแหน่งงานว่างลง พนักงานของบริษัทซึ่งทางานในหน่วยงานของตนมาแล้วไม่ ต่ากว่า 1 ปี และมีคุณสมบัติตรงตามความต้องการสาหรับตาแหน่งงานน้ัน จะมีโอกาสสมัครเข้ารับ การคัดเลือก และจะไดร้ บั การพิจารณาก่อนบคุ คลภายนอก 7.2 ในการเล่ือนตาแหน่ง ที่ต่ากว่าข้ึนไปยังตาแหน่งท่ีสูงกว่านั้น ถ้าหากเงินเดือนของ พนักงานนั้น ได้รับอยู่ต่ากว่าเงินเดือนขั้นต่าของตาแหน่งท่ีสูงกว่า ก็จะปรับเงินเดือนให้เท่ากับ เงินเดอื นขน้ั ต่าของตาแหนง่ ทีส่ งู กวา่ หากวา่ เงินเดอื นของพนกั งานนนั้ สูงกว่าก็จะปรับเงินเดือนข้ึน 1 ขั้นของขั้นตาแหนง่ ที่สูงกวา่ 7.3 พนักงานที่ได้รับเล่ือนตาแหน่งจะต้องผ่านการทดสอบ การปฏิบัติงานในตาแหน่งงาน นัน้ โดยให้มีระยะเวลารักษาการณ์ 90 วัน หากไม่ผ่านการทดสอบหรือไม่เหมาะสมกับตาแหน่งงาน น้ัน พนกั งานคนนน้ั ตอ้ งกลบั ไปดารงตาแหนง่ เดิม หรอื ตาแหนง่ ที่คล้ายคลึงกบั ตาแหนง่ เดมิ ข้อ 8 การโอนย้าย 8.1พนกั งานมสี ทิ ธิทจี่ ะขอโอนย้ายไปยงั แผนก ฝา่ ย หรือสาขาที่ตนต้องการ แตท่ ั้งน้ีจะตอ้ ง ไดร้ บั การยินยอมจากผ้บู งั คับบัญชาเดมิ และผบู้ ังคบั บญั ชาใหม่ 8.2 การโอนย้ายทกุ ครัง้ จะต้องอยู่ภายในกรอบของกฎระเบยี บของบริษัทฯ 8.3 พนกั งานทไ่ี ด้รับการโอนย้าย จะได้รับสทิ ธิของพนักงานทกุ อย่างเหมือนเดมิ ยกเว้นใน กรณีทพ่ี นักงานผนู้ ้ันถูกย้ายเน่อื งจากทางานบกพร่องหรือถกู ลงโทษ ข้อบงั คบั การทางานของบริษทั -3-

หมวดที่ 2 วนั ทางาน เวลาทางานปกติ เวลาพกั และวันหยดุ ข้อ 1 วนั ทางาน 1.1 สานักงานใหญ่ทางานสัปดาห์ละ 6 วนั วนั จันทร์ ถงึ วนั เสาร์ 1.2 พนักงานประจาสถานีบริการทางานสัปดาห์ละ 6 วนั 1.3 พนกั งานประจาหน่วยงานอ่ืนๆ ทางานสัปดาหล์ ะ 6 วนั ขอ้ 2 เวลาทางานปกติ 2.1 สานักงานใหญท่ างานวันละ 8 ชว่ั โมง วนั จนั ทร์ ถงึ วันศกุ ร์ เวลา 8:00 น. ถึงเวลา 17:00 น. วันเสาร์ เวลา 8:00 น. ถงึ เวลา 15:00 น. 2.2 พนกั งานประจาสถานบี รกิ ารทางานวนั ละ 8 ช่ัวโมง โดยแบ่งเป็นกะการทางานดงั น้ี กะท่ี 1 เวลา 4:30 น. ถึงเวลา 13:30 น. กะที่ 2 เวลา 13:00 น. ถึงเวลา 22:00 น. สาหรบั ผจู้ ดั การสาขา และบัญชีสาขาทางานวนั จันทร์ ถึงวันเสาร์ เวลา 8:00 - 17:00 น. ข้อ 3 เวลาพกั 3.1 สานกั งานใหญ่พกั ระหว่างเวลา 12:00 น. ถึงเวลา 13:00 น. 3.2 พนักงานประจาสถานีบริการพัก 2 ครั้งละๆ 30 นาที รวม 1 ชั่วโมง โดยผู้บังคับบัญชา จะเป็นผู้กาหนดเวลาพักให้ 3.3ในกรณที มี่ ีการทางานลว่ งเวลาต่อจากเวลาทางานปกติไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง ให้พนักงาน พัก 20 นาที กอ่ นเรมิ่ ทางานล่วงเวลา ข้อ 4 วนั หยดุ ประจาสัปดาห์ 4.1 พนักงานประจาสานกั งานใหญ่ หยดุ สปั ดาหล์ ะ 1 วนั วันอาทติ ย์เปน็ วันหยุดประจาสัปดาห์ 4.2 พนักงานประจาสถานีบริการ หยุดสัปดาห์ละ 1 วัน โดยผู้บังคับบัญชาจะเป็นผู้กาหนด วันหยดุ ประจาสัปดาห์ให้ ขอ้ บังคบั การทางานของบรษิ ัท -4-

ข้อ 5 วนั หยดุ ตามประเพณี 5.1 บริษัทกาหนดวันหยุดตามประเพณีไว้ปีละไม่น้อยกว่า 13 วัน โดยรวมวันแรงงาน แหง่ ชาตดิ ้วย ซึ่งบริษัทจะประกาศให้ทราบล่วงหน้าภายในเดือนธันวาคมของทุกปี และให้พนักงาน ได้รบั ค่าจ้างเทา่ กับวันทางานปกตใิ นวนั หยุดตามประเพณี 5.2 ในกรณีท่ีวนั หยดุ ประเพณีตรงกับวันอาทิตย์ ทางบรษิ ัทจะจัดวนั ชดเชยให้สาหรับ พนกั งานประจาสานกั งาน ซึ่งปกติจะเปน็ วันทางานทีถ่ ัดไป 5.3 ในกรณีท่ีพนักงานประจาสถานีบริการมีวันหยุดประจาสัปดาห์ตรงกับวันหยุดตาม ประเพณี ให้พนักงานเลือกที่จะหยุดวันถัดไปหรือเลือกรับเงินค่าล่วงเวลา โดย ต้องได้รับการ พจิ ารณาอนุมัตเิ หน็ ชอบจากผูบ้ ังคับบัญชา ข้อ 6 การเปลี่ยนวันหยุด การเปลีย่ นวนั หยุดใชไ้ ด้สาหรบั กรณี ดงั น้ี 6.1 พนักงานท่ีเข้าทางานเป็นกะ 6.2 พนักงานท่ีไมม่ ีวนั หยุดประจาเปน็ วนั อาทิตย์ ทั้งน้ี การเปลี่ยนวันหยุด ต้องทาการเขียนคาร้องขอเปลี่ยนวันหยุด และต้องติดตามผลการ พิจารณาอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนจะหยุดในวันดังกล่าว หากหยุดงานโดยท่ียังไม่ได้รับการ เห็นชอบจากผบู้ ังคบั บัญชาอนมุ ตั ิ ถือวา่ เป็นการขาดงาน ข้อบงั คับการทางานของบรษิ ทั -5-

หมวดท่ี 3 หลักเกณฑ์การทางานล่วงเวลา ขอ้ 1 หลักเกณฑก์ ารทางานล่วงเวลา ในกรณีทีง่ านมีลกั ษณะหรือสภาพของงานต้องทาติดต่อกันไป ถา้ หยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นงานฉุกเฉนิ ทางบริษัทมสี ิทธิทีจ่ ะใหพ้ นกั งานของบรษิ ทั ทางานลว่ งเวลาในวันทางานปกติ หรอื ทางานในวันหยดุ รวมถึงการทางานล่วงเวลาในวันหยุดได้เท่าทจี่ าเปน็ โดยไมต่ อ้ งไดร้ ับความ ยินยอมจากพนกั งานก่อน ทางานลว่ งเวลาในวนั ทางานปกติ ทางานในวันหยดุ และทางานล่วงเวลาในวนั หยุด ตอ้ ง ไม่เกนิ สปั ดาห์ละ 36 ช่วั โมง ส่วนงานขนสง่ ทางบก บรษิ ทั จะใหพ้ นกั งานท่ที าหนา้ ท่ขี บั ขี่ยานพาหนะ ทางานล่วงเวลา เมื่อได้รบั ความยนิ ยอมจากพนักงาน โดยจะทางานล่วงเวลาไดไ้ มเ่ กนิ วนั ละ 2 ชัว่ โมง เว้นแตม่ คี วาม จาเป็นอนั เกิดจากเหตสุ ดุ วสิ ยั อบุ ตั เิ หตุ หรือปัญหาการจราจร ขอ้ 2 ค่าล่วงเวลา ทางบริษทั จะจา่ ยค่าล่วงเวลาให้พนักงานทไ่ี ดท้ างานเกินกาหนดเวลาทางานปกติ ตามคาส่ัง ของผ้บู ังคับบัญชา ดังน้ี 2.1พนกั งานท่ที างานเกินกาหนดเวลาทางานปกติในวันทางานปกติ จะไดร้ ับคา่ ตอบแทนการ ทางานลว่ งเวลาในอัตราไมน่ ้อยกว่า หน่งึ เท่าครึ่งของอตั ราคา่ จ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตามจานวน ชว่ั โมงทท่ี า 2.2 ถ้าให้พนักงานทางานในวันหยุดเกินเวลาทางานของวันทางาน พนักงานจะได้รับค่า ลว่ งเวลาในวนั หยุดในอัตรา สามเท่าของอตั ราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตามช่ัวโมงที่ทา(สาหรับ พนักงานทไี่ มไ่ ด้รับค่าจ้างในวันหยุด) ขอ้ บังคบั การทางานของบริษัท -6-

ข้อ 3 คา่ ทางานในวันหยดุ 3.1 พนักงานที่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด วันหยุดประจาสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี และวันหยุดประจาปี ถ้ามาทางานในวันหยุดดังกล่าวจะได้รับค่าทางานในวันหยุด เพ่ิมขึ้นอีกไม่ น้อยกว่า หน่ึงเท่าของอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตามชั่วโมงท่ีทา แต่ต้องได้รับอนุมัติจาก ผจู้ ัดการฝา่ ย หรอื ผู้บังคับบญั ชา 3.2 พนักงานที่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจาสัปดาห์ ถ้ามาทางานในวันหยุดดังกล่าว จะได้รับค่าทางานในวันหยุด เพมิ่ ข้นึ อีกไม่นอ้ ยกวา่ สองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางาน ตามชว่ั โมงทท่ี า แตต่ อ้ งได้รับอนุมัตจิ ากผจู้ ดั การฝ่าย หรือผ้บู ังคบั บัญชา ขอ้ 4 เง่อื นไขอ่ืนๆท่ีเก่ียวกับค่าลว่ งเวลา 4.1 พนกั งานระดับผชู้ ว่ ยผู้จัดการขน้ึ ไป ไม่มีสิทธิได้รบั ค่าลว่ งเวลา 4.2 พนักงานที่ทางานเฝ้า หรือดแู ลสถานท่หี รือทรพั ยส์ ิน ถา้ ทางานเกนิ เวลาทางานปกติจะ ไดร้ ับคา่ จา้ งตามชั่วโมงทีท่ าเกนิ เวลา 4.3 พนักงานที่จะได้ค่าลว่ งเวลา สาหรบั งานสถานบี รกิ ารจะต้องได้รบั ความเหน็ ชอบจาก หวั หนา้ กะ และแคชเชียร์ โดยผู้จดั การจะเปน็ ผู้อนุมัติ และพนักงานสานกั งานตอ้ งได้รบั ความ เหน็ ชอบและอนมุ ัตจิ ากผู้จัดการฝา่ ย 4.4 พนักงานประจาหน่วยงานอนื่ ๆ ที่มีสทิ ธ์ิได้รับค่าล่วงเวลา จะตอ้ งได้รับความเหน็ ชอบ และอนุมตั จิ ากหัวหนา้ งาน/ผู้จดั การฝ่าย ขอ้ บงั คับการทางานของบรษิ ทั -7-

หมวดที่ 4 จานวนวันลา หลกั เกณฑ์การลา และโทษทางวนิ ยั ของการขาดงาน ขอ้ 1 ระเบยี บปฏิบตั ิในการลางาน 1.1 พนักงานท่ีตอ้ งการจะลางาน ให้มาขอแบบฟอร์มใบลาได้ทส่ี านักงาน 1.2 กรอกรายละเอียดการลา นาเสนอผู้บงั คับบัญชาระดับผ้จู ัดการฝา่ ยขน้ึ ไปอนุมัติการลา 1.3 นาใบลางานทีไ่ ด้รบั อนุมัติแลว้ สง่ คนื สานักงาน 1.4 การลางานควรลาลว่ งหนา้ อย่างนอ้ ย 3 วัน ยกเว้นกรณเี ร่งดว่ น 1.5 การลาแต่ละคร้งั จะลาได้ตัง้ แต่ 1/2 วนั ขน้ึ ไป ข้อ 2. การลาหยุดพกั ผ่อนประจาปี 2.1จานวนวันลาหยุดพกั ผอ่ น 2.1.1 พนกั งานทม่ี ีอายุงานครบ 1 ปี แตไ่ ม่ถึง 3 ปีมีสิทธิลาพักผอ่ นได้ 6 วันทางาน 2.1.2 พนักงานที่มีอายุงานครบ 3 ปขี น้ึ ไป มสี ิทธลิ าพักผ่อนได้ 10 วันทางาน 2.2 หลักเกณฑ์การลาพักผอ่ น 2.2.1 พนกั งานจะใช้สิทธไิ ดก้ ็ต่อเม่ือได้ผา่ นการปฏิบตั ิงานกับบรษิ ทั มาแลว้ ครบ 1 ปปี ฏิทิน 2.2.2 พนกั งานทม่ี สี ทิ ธลิ าควรใชส้ ทิ ธพิ กั ผ่อนใหห้ มดไปในปีน้ัน ๆ หากยงั ใชไ้ ม่ หมดในปนี ้ัน วนั หยุดเหลา่ นั้นกเ็ ป็นอันยกเลิกไปโดยไม่มีการจ่ายเงินทดแทนใด ๆ ทัง้ สิ้น 2.2.3 พนกั งานต้องแจ้งใหบ้ ริษทั ทราบการลาหยุดพักผอ่ นประจาปลี ่วงหน้าอยา่ ง นอ้ ย 1 สัปดาห์ 2.2.3 ในกรณที ่ีพนกั งานหลายคนในหนว่ ยงานเดยี วกันประสงคจ์ ะขอลาหยุด พกั ผ่อนในเวลาเดียวกนั ทางบริษทั จะพิจารณาให้ตามความเหมาะสม ซึ่งขน้ึ อยูก่ บั ตาแหน่งหนา้ ท่ี ความอาวุโส และการลาหยุดพกั ผอ่ นครงั้ ลา่ สดุ ด้วย 2.2.4 ห้ามพนักงานลาหยุดพักผอ่ นประจาปี ในชว่ งเดือนมกราคม และเดอื น ธนั วาคม ขอ้ บังคับการทางานของบรษิ ทั -8-

ข้อ 3 การลากิจ 3.1 จานวนวันลากิจ - พนักงานมสี ิทธิลากจิ ได้ 3 วนั ทางานต่อปี 3.2 หลักเกณฑ์การลากิจ 3.2.1 พนักงานประจามีสิทธิลากิจเพ่ือประกอบกิจธุระส่วนตัว ซึ่งกิจธุระดังกล่าว จะต้อง เป็นกิจธุระที่จาเป็นต้องกระทาในวันทางานปกติไม่สามารถดาเนินการในวันหยุดอื่นได้ และต้องเป็นกจิ ธรุ ะที่ไมส่ ามารถใหบ้ คุ คลอ่ืนกระทาแทนตนเองได้ดี หรือเป็นเหตุสุดวิสัยอื่น ๆ อัน ทาใหไ้ มส่ ามารถมาทางานได้ 3.2.2 พนักงานจะลากจิ ได้ไม่เกิน 3 วันทางานต่อปีปฏิทิน หากลาเกิน 3 วันให้ถือว่า เป็นส่วนหน่ึงของการหยุดพักผ่อนประจาปีและให้หักออกจากวันหยุดพักผ่อนประจาปี หรือถือว่า เป็นการขาดงาน 3.2.3 การลากิจต้องแจ้ง และให้เหตุผลต่อผู้บังคับบัญชาล่วงหน้าก่อนวันท่ีจะหยุด ไปประกอบธุรกิจ โดยต้องติดตามผลการพิจารณาอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนจะหยุดในวัน ดงั กลา่ ว 3.2.4 ในกรณีฉุกเฉินให้พนักงานแจ้งการลาให้ผู้บังคับบัญชาทราบภายในวันนั้น และจะตอ้ งย่ืนแบบการขอลาผบู้ งั คับบัญชาภายในวันแรกที่กลบั เขา้ ทางาน 3.2.5 พนักงานจะต้องแจ้งการลากิจล่วงหนา้ อย่างน้อย 2 วนั ขอ้ 4 การลาเนื่องจากบคุ คลในครอบครวั ถงึ แก่กรรม 4.1จานวนวันลา - พนกั งานมสี ทิ ธิลาเน่ืองจากบคุ คลในครอบครัวถงึ แกก่ รรมได้ไม่เกิน 3 วนั ทางาน ต่อครั้ง 4.2 หลักเกณฑก์ ารลา 4.2.1 พนกั งานทม่ี อี ายงุ านครบ 1 ปี 4.2.2 เปน็ การลาเนอ่ื งจากบคุ คลใกล้ชดิ ในครอบครัวถึงแก่กรรมซึง่ ได้แก่ บดิ า มารดา คสู่ มรสและบุตรตามกฎหมาย 4.2.3 ในกรณีท่ีบคุ คลที่กลา่ วมาข้างตน้ ถึงแกก่ รรม พนกั งานจะต้องนาหลักฐานมา ประกอบการลามิฉะน้ันจะถือวา่ เป็นการขาดงาน ขอ้ บงั คับการทางานของบริษัท -9-

ข้อ 5 การลาเพอื่ พิธีสมรส 5.1 จานวนวันลา - พนกั งานมีสทิ ธิลาเพื่อประกอบพิธสี มรสของตนได้ไม่เกิน 3 วนั ทางาน 5.2 หลกั เกณฑ์การลา 5.2.1 พนักงานท่ีมอี ายุงานครบ 1 ปี มสี ิทธิลา 5.2.2 สิทธใิ นการลาใชไ้ ดค้ รั้งเดียว ข้อ 6 การลาปว่ ย 6.1 จานวนวันลา - พนักงานมสี ทิ ธิลาปว่ ยไดไ้ มเ่ กนิ 30 วันทางาน โดยได้รับค่าจา้ งเท่ากบั วันทางาน ปกติ 6.2 หลกั เกณฑก์ ารลา 6.2.1 พนกั งานที่เจบ็ ป่วยไม่สามารถมาปฏบิ ัติงานได้ 6.2.2 เมื่อพนักงานต้องหยุดงานเน่ืองจากป่วย ให้ตัวพนักงานเองหรือผู้ใกล้ชิดแจ้ง ให้ผู้บังคับบัญชาโดยตรงทราบทางโทรศัพท์โดยเร็วที่สุด และให้ย่ืนใบลาป่วยตามแบบของบริษัท ในวนั แรกทีก่ ลบั มาทางาน 6.2.3 ในกรณีทล่ี าป่วยตง้ั แต่ 3 วันติดต่อกนั ขึ้นไป พนกั งานจะตอ้ งแสดงใบรับรอง ของแพทย์แผนปัจจุบนั ช้ันหนงึ่ ประกอบการลา 6.2.4 ในกรณีท่ีพนักงานได้ลาป่วยติดต่อจนครบ 30 วันทางานแล้ว แต่ยังไม่ สามารถทางานได้ตามความเห็นของแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหน่ึง บริษัทอาจอนุญาตให้ลาป่วยเป็น กรณีพเิ ศษต่อไปอีก โดยไม่ได้รบั คา่ จ้างแต่ท้ังน้จี ะตอ้ งไม่เกนิ 120 วัน 6.2.5 การลาป่วย 30 วันแรกโดยได้รับค่าจ้างน้ัน จะนับเฉพาะวันทางานส่วนการ ลาใน 90 วันถดั ไป โดยไม่ไดร้ ับคา่ จ้างจะนบั รวมวันหยดุ ด้วย 6.2.6 ในกรณีท่ีพนักงานไม่สามารถทางานได้เน่ืองจากประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วย เน่อื งจากการทางานให้บรษิ ัท บรษิ ัทอาจขยายกาหนดการลาปว่ ยให้อีกตามความจาเป็นโดย ไดร้ ับ ค่าจา้ งทัง้ นรี้ วมกันแลว้ ไม่เกิน 1 ปี ข้อบงั คับการทางานของบริษัท - 10 -

ข้อ 7 การลาคลอด 7.1 จานวนวันลา - พนักงานหญงิ มสี ิทธลิ าคลอดไดค้ รรภ์ละไมเ่ กิน 98 วนั ทางาน รวมถงึ การลาเพ่ือ ไปฝากครรภ์ และลาเพ่ือไปพบแพทย์ตามนดั ก่อนคลอดดว้ ย 7.2 หลักเกณฑ์การลา - การนบั วันลาคลอดให้นบั รวมวนั หยุดระหวา่ งวนั ลาคลอดด้วย - พนักงานหญิงมีครรภ์ มีสิทธลิ าเพ่ือการคลอดโดยได้รับคา่ จ้างเท่าจานวนวันทีล่ า ตามอัตราท่ไี ด้รบั อยู่ แต่ไม่เกิน 45 วนั (รวมทัง้ วันหยดุ ) - การลาหยุดงานเนอ่ื งจากการแพท้ ้อง, แท้งบุตรน้นั ใหใ้ ช้สิทธิการลาปว่ ย ข้อ 8 การลาเพอื่ รบั ราชการ 8.1 จานวนวันลา ตามจานวนวนั ทถี่ ูกทางราชการเรียกกระดมพล หรือเขา้ รับ การฝกึ หรือเพื่อทดสอบ ความพรงั่ พร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร 8.2 หลกั เกณฑ์การลา 8.2.1 พนักงานชายมีสิทธิลาเพื่อรับราชการทหาร เม่ือถูกทางราชการเรียกกระดม พล หรอื เขา้ รบั การฝกึ หรือเพือ่ ทดสอบความพรั่งพร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร โดย ได้รับค่าจ้างในอัตราท่ีได้รับอยู่ในขณะน้ันแต่ไม่เกินปีละ 60 วัน แต่เงื่อนไขข้อความดังกล่าวนี้มิได้ หมายถงึ การรับราชการทหารโดยการเกณฑ์ทหาร ตามพระราชบญั ญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 8.2.2 ให้พนักงานที่ถูกเรียกดังกล่าวย่ืนใบลา และสาเนาเป้าหมายเรียกต่อ ผู้บังคับบัญชาโดยเร็วท่ีสุดนับตั้งแต่วันที่ได้รับหมายเรียกและให้พนักงานดังกล่าวรายงานตัวพร้อม ท้ังแสดงหลักฐานต่อบริษัทภายใน 3 วัน นับจากวันส้ินสุดการพ้นจากการรับราชการดังกล่าว มิฉะนั้นจะถือวา่ ขาดงาน ขอ้ บังคับการทางานของบรษิ ัท - 11 -

ข้อ 9 การลาอุปสมบท 9.1 จานวนวันลา - พนักงานชายมีสิทธิลาอุปสมบทได้ไมเ่ กนิ 120 วัน 9.2 หลกั เกณฑก์ ารลา พนักงานชายท่ียงั ไมเ่ คยอุปสมบท เปน็ ภกิ ษใุ นพุทธศาสนามาก่อนและมอี ายกุ าร ทางานกับบรษิ ทั ไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปี 9.2.1 การนับวันลานับรวมทั้งวันหยุดด้วยโดยได้รับ ค่าจ้างตามอัตราในขณะนั้น เต็มจานวน 1 เดอื น 9.2.2 พนักงานจะตอ้ งยื่นใบลาต่อผู้บังคับบัญชาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน และจะ หยุดงานได้เม่ือได้รับการอนุมัติจากกรรมการผู้จัดการหรือกรรมการบริหารท่ีได้รับมอบหมายแล้ว เท่านั้น 9.2.3 พนักงานจะตอ้ งนาหลักฐานแสดงการอุปสมบท และการลาสิกขาบทมามอบ ต่อบริษัทภายใน 7 วัน นับแต่วันท่ีเร่ิมกลับเข้าทางาน หากไม่นามามอบภายในกาหนดเวลาดังกล่าว จะถือว่าพนักงานผนู้ ้นั ขาดงาน 9.2.4 สทิ ธกิ ารลาอุปสมบทดังกลา่ วพนักงานผู้มีคุณสมบตั ิครบตามเงอื่ นไขมสี ิทธิ ลาได้ครง้ั เดียว ตลอดระยะเวลาที่เป็นพนักงานของบรษิ ทั ข้อ 10 การลาไปประกอบศาสนกจิ พิธีฮจั ย์ 10.1 จานวนวันลา - พนกั งานทนี่ บั ถือศาสนาอสิ ลามมสี ทิ ธลิ าไปประกอบศาสนกจิ พธิ ีฮจั ย์ไดไ้ มเ่ กนิ 60 วัน รวมท้งั วันหยุดด้วย 10.2 หลกั เกณฑ์การลา 10.2.1 พนกั งานทีน่ ับถือศาสนาอสิ ลามที่มอี ายกุ ารทางานกบั บริษทั ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปี 10.2.2 โดยได้รบั ค่าจ้างตามอัตราในขณะน้ัน จานวน 30 วนั 10.2.3 พนักงานจะตอ้ งยื่นใบลาตอ่ ผู้บงั คบั บัญชาล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน และ จะหยดุ งานได้ เมื่อได้รบั การอนุมัติจากกรรมการผจู้ ัดการหรอื กรรมการบริหารท่ีได้รับมอบหมาย แล้ว เท่าน้นั 10.2.4 พนักงานจะต้องนาหลักฐานแสดงการไปประกอบศาสนกิจพิธีฮัจย์มามอบ ต่อบริษัท ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันท่ีเริ่มกลับเข้าทางาน หากไม่นาหลักฐานมามอบภายใน กาหนดเวลาดงั กลา่ ว จะถือวา่ พนกั งานผู้น้นั ขาดงาน 10.2.5 สทิ ธิการลาไปประกอบศาสนกจิ พิธีฮจั ยด์ ังกล่าว พนักงานผ้มู ีคณุ สมบัติครบ ตามเงื่อนไขมสี ทิ ธลิ าได้ครัง้ เดยี วตลอดระยะเวลาท่ีเปน็ พนักงานของบริษัท ข้อบังคบั การทางานของบรษิ ัท - 12 -

ข้อ 11 การขาดงาน การหยุดงานโดยมิได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาตามเง่ือนไข ท่ีกาหนดไว้ข้างต้นให้ถือว่า เป็นการขาดงาน หรือละทิ้งหนา้ ท่ี ซง่ึ เปน็ ความผิดทางวนิ ยั จะไดร้ บั โทษทางวนิ ัย ดงั นี้ ครั้งที่ 1 ตักเตอื นดว้ ยวาจา ครั้งที่ 2 ตกั เตอื นเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร พร้อมตัดเงนิ เดือนตามจานวนวันที่ขาด ครงั้ ที่ 3 พักงานช่วั คราว โดยไมไ่ ดร้ ับเงินเดือน ครง้ั ที่ 4 ให้ออกจากการเป็นพนกั งานของบรษิ ทั ในกรณที ่ีขาดงานติดต่อกัน 3 วัน โดยนบั รวมวนั หยุดด้วย และไมแ่ จง้ กบั ทางบรษิ ัท หรือ ผู้บงั คับบัญชา ถือว่าพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานของบรษิ ัท ข้อบงั คบั การทางานของบรษิ ทั - 13 -

หมวดท่ี 5 เงนิ เดอื นและค่าตอบแทนอื่น ๆ บริษัทมีนโยบายที่จะให้พนักงานทุกคน ได้รับค่าจ้างตอบแทนที่ยุติธรรมและเหมาะสมกับ ตาแหน่งหน้าท่ีรับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อให้พนักงานมีขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานให้มี ประสทิ ธิภาพมากทสี่ ดุ ข้อ 1 การพิจารณากาหนดอัตราจา้ ง 1.1 หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบตามตาแหน่งงาน 1.2 ระดับการศึกษา 1.3 ประสบการณ์ 1.4 ความรูค้ วามสามารถพิเศษ 1.5 อตั ราคา่ จา้ งปจั จุบนั ของตลาดแรงงาน ขอ้ 2 การปรับอตั ราค่าจา้ ง บริษัทมีนโยบายปรับอัตราเงินเดือนปีละ 1 คร้ัง ในเดือนมกราคมของทุกปี โดยใช้เกณฑ์ พจิ ารณาดังน้ี 2.1 ผลของการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน 2.2 ความประพฤตขิ องพนกั งาน 2.3 อตั ราคา่ จา้ งในกิจการประเภทเดยี วกนั 2.4 ภาวะคา่ ครองชพี และสภาวะทางเศรษฐกิจโดยทว่ั ไป 2.5 ฐานะของกิจการและความจาเป็นของบริษทั ข้อ 3 วันและสถานทจี่ า่ ยคา่ จา้ ง ค่าลว่ งเวลา คา่ ทางานในวันหยดุ และคา่ ลว่ งเวลาในวันหยุด 3.1 บรษิ ทั จะจา่ ยค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา คา่ ทางานในวันหยดุ และคา่ ล่วงเวลาในวนั หยุด และเงนิ ผลประโยชนอ์ ื่นเนื่องในการจ้าง ให้แก่พนักงานเดอื นละ 1 ครั้ง 3.2 พนักงานทไ่ี ดร้ ับเงนิ เดอื นโดยการจา่ ยผ่านทางธนาคารท่ที างบริษัทระบไุ ว้ในวันสุดทา้ ย ของเดือนนั้น 3.3 พนักงานประจาสถานีบริการทางบริษัทจะจา่ ยผ่านทางธนาคารทที่ างบรษิ ทั ระบไุ ว้ เดอื นละ 1 ครั้ง ทุกวนั สุดท้ายของเดือน 3.4 พนักงานที่ได้รับการปรบั เงินเดือนจะไดร้ บั เงินเดือนอัตราใหม่ต้ังแต่วนั ท่ี 1 มกราคม ของแตล่ ะปี ขอ้ บังคับการทางานของบรษิ ทั - 14 -

ขอ้ 4 เงินโบนสั 4.1 บริษัทจะพจิ ารณาจา่ ยเงนิ โบนสั ประจาปีปฏทิ ินให้แก่พนักงานท่ไี ด้ปฏิบัตงิ านมาด้วยดี ประพฤติตนเหมาะสม และไดท้ างานกับบรษิ ัทมาไม่นอ้ ยกวา่ 4 เดือนก่อนวันสิ้นปี 4.2 คณะกรรมการบริหารงานของบริษทั จะเปน็ ผู้กาหนดและอนุมัติอตั ราเงนิ โบนัสการคิด อัตราเงนิ โบนัส จะคานวณคิดจากฐานเงนิ เดือน ก่อนปรบั เงินเดือนประจาปี 4.3 โดยปกตบิ ริษทั จะจ่ายเงินโบนัสใหพ้ นกั งานในวันตรุษจนี ของทกุ ปี 4.4 พนกั งานท่ีได้ทางานมา 1 ปีขึ้นไป จะไดร้ บั เงนิ โบนสั เต็มอัตราทป่ี ระกาศจ่าย 4.5 พนักงานท่ีได้ทางานมาน้อยกวา่ 1 ปแี ตไ่ มน่ ้อยกว่า 4 เดือน ทางบรษิ ทั จะพจิ ารณา โบนสั ตามความเหมาะสม 4.6 พนกั งานที่พ้นสภาพจากการเปน็ พนักงานก่อนท่ีจะถงึ วันจ่ายเงินโบนัสจะไม่มสี ทิ ธิ ไดร้ ับเงินโบนัส ยกเว้นแต่ในกรณีท่ีกรรมการผจู้ ัดการพิจารณาเหน็ สมควรอนมุ ัติให้เป็นกรณีพเิ ศษ 4.7 ระยะเวลาทพ่ี นกั งานลาหยุดโดยไม่ได้รบั เงินเดือนจะไม่นามาคานวณการรับเงินโบนสั ขอ้ บังคับการทางานของบรษิ ทั - 15 -

หมวดที่ 6 สวัสดิการต่าง ๆ โดยปกติ พนักงานทมี่ สี ิทธิไดร้ ับสวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ เหล่าน้ีจะตอ้ งเป็นพนักงานประจาท่ีผ่าน การทดลองงานแลว้ ยกเวน้ ในกรณพี เิ ศษซง่ึ กรรมการผู้จดั การ จะพจิ ารณาอนุมัตเิ ป็นราย ๆ ไป ขอ้ 1 การรักษาพยาบาล 1.1 บรษิ ทั ไดจ้ ัดใหค้ วามคมุ้ ครองดา้ นการรกั ษาพยาบาลกลมุ่ ตามแผนประกัน รกั ษาพยาบาลกลมุ่ ความคุม้ ครองภายใตก้ ารรกั ษาพยาบาลกลุม่ นี้ จะต้องไม่เกินขอบข่ายทก่ี าหนดไว้ ในคู่มือประกัน 1.2 บรษิ ทั ได้ขนึ้ ทะเบียนกองทนุ ประกนั สังคมและกองทนุ เงนิ ทดแทนใหก้ บั พนักงานทุก คนตามกฎหมาย ขอ้ 2 การประกนั ภัยอุบตั เิ หตุแบบกลมุ่ พนักงานประจาซง่ึ ผ่านการทดลองงานมาแล้ว จะได้รับการประกันภัยอุบัติเหตุแบบกลุ่มใน วงเงินที่แตกต่างกันตามแต่ละตาแหน่งงาน ท้ังน้ีไม่ต่ากว่า 60,000 บาท และไม่เกิน 120,000 บาท ในกรณีทป่ี ระสบอุบัติเหตุ เปน็ เหตุให้เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือเสียอวัยวะสาคัญ ทั้งนี้ตามความมาก นอ้ ยของการสูญเสยี (ผลประโยชน์ของแต่ละตาแหน่งในการปฏิบัติงานมีความแตกต่างกัน ขอให้สอบถาม รายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ไดท้ ีแ่ ผนกบุคคล) ขอ้ 3 กองทนุ สารองเล้ยี งชีพ 3.1 หลกั เกณฑ์ - พนักงานประจาที่มอี ายงุ านครบ 1 ปี - พนักงานจ่ายเงินสะสมเขา้ กองทนุ สารองเล้ียงชีพใน 3% ของเงนิ เดือนทุกเดือน - บริษทั จา่ ยเงินสมทบเขา้ กองทนุ สารองเลี้ยงชีพให้พนกั งาน 3% ของค่าจา้ งทกุ เดือน - พนักงานมีสิทธ์ิได้รับเงินสะสมและผลประโยชน์เงินสมทบคืนเมื่อ ลาออกจากงาน เกษียณอายุ โอนย้ายกองทุน และเสยี ชวี ิต ข้อบังคับการทางานของบรษิ ัท - 16 -

3.2 อัตราการจ่ายคืนเงินสมทบและผลประโยชน์เงนิ สมทบ เงนิ สะสมและผลประโยชนข์ องเงนิ สะสมทั้งจานวน ระยะเวลาการทางาน จา่ ยเงนิ สมทบและผลประโยชนเ์ งนิ สมทบ (รอ้ ยละ) (อายงุ าน) น้อยกว่า 4 ปี ไม่มีการจ่าย ครบ 4 ปี 30 เกิน 4 ปี แตไ่ มเ่ กนิ 5 ปี 40 เกนิ 5 ปี แต่ไมเ่ กนิ 6 ปี 50 เกนิ 6 ปี แตไ่ มเ่ กนิ 7 ปี 65 เกนิ 7 ปี แต่ไมเ่ กนิ 8 ปี 80 เกนิ 8 ปี แต่ไม่เกนิ 9 ปี 90 เกิน 9 ปขี น้ึ ไป 100 ข้อ 4 เคร่ืองแบบ 4.1 พนกั งานประจาสานกั งานใหญ่ที่ผา่ นการทดลองงานแลว้ มสี ิทธไิ ด้รบั เคร่ืองแบบตามที่ บรษิ ัทกาหนดไว้ ซง่ึ สิทธิอนั นี้บริษัทมสี ิทธิท่จี ะเปลีย่ นแปลงหรอื ยกเลิกได้ 4.2 พนักงานประจาสถานีบริการ พนักงานขับรถ มีสิทธิได้รับเคร่ืองแบบตามท่ีบริษัท กาหนดไว้ 4.3 เม่ือทางบริษัทมีเคร่ืองแบบให้ พนักงานต้องสวมเคร่ืองแบบในการปฏิบัติงานทุกคร้ัง ตามท่ีบริษทั กาหนดให้ ข้อ 5 เงินชว่ ยเหลือกรณบี คุ คลในครอบครัวถงึ แกก่ รรม ในกรณที ีบ่ ิดามารดา คู่สมรสตามกฎหมาย หรือบุตรตามกฎหมายของพนักงานประจาซึ่ง ผ่านทดลองงานแล้วถึงแกก่ รรม บรษิ ทั จะใหค้ วามช่วยเหลือตามความเหมาะสม (สอบถามรายละเอียดเพิ่มเตมิ ท่ีแผนกบุคคล) ขอ้ บังคบั การทางานของบรษิ ทั - 17 -

ขอ้ 6 การสังคมและสันทนาการ เพื่อส่งเสริมให้พนักงานได้มีโอกาสทาความรู้จักสนิทสนมซึ่งกันและกันและได้มีโอกาส พกั ผ่อนหยอ่ นใจร่วมกนั บริษัทได้จดั ทากิจกรรมต่าง ๆ ใหพ้ นกั งานได้มสี ่วนร่วม เช่น งานสังสรรค์ ส่งท้ายปีเกา่ ต้อนรับปีใหม่ของทุกปี เป็นต้น ซ่ึงสิทธิอันน้ีบริษัทมีสิทธิท่ีจะเปล่ียนแปลงหรือยกเลิก ได้ ขอ้ 7 ทุนการศึกษาบุตรเรียนดี เพ่ือเป็นขวัญและกาลงั ใจแกพ่ นักงานประจาของบริษทั และเพื่อแบ่งเบาภาระของพนักงาน ทีม่ ีบตุ รเรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ 7.1 หลกั เกณฑ์ 7.1.1 เปน็ พนักงานประจาของบริษัท มอี ายกุ ารทางานกบั บริษทั ครบ 1 ปี 7.1.2 ไมม่ ีประวัตกิ ารกระทาผิดทางวนิ ัยของบริษัท 7.1.3 คณุ สมบัติของบุตรทีจ่ ะไดร้ ับพจิ ารณาทนุ การศกึ ษา แบง่ ตามระดับการศึกษา ดงั น้ี ก. ระดับประถมศึกษา มีผลการเรียนเฉลีย่ ประจาปีการศกึ ษา ตั้งแต่ 2.75 ข้ึนไป โดยจะได้รบั ทนุ การศกึ ษา 2,000 บาท ข. ระดับมัธยมศกึ ษา/ปวช. มีผลการเรยี นเฉล่ียประจาปีการศึกษา ต้ังแต่ 2.75 ขึน้ ไป โดยจะได้รับทุนการศกึ ษา 4,000 บาท ค. ระดับอุดมศกึ ษา/ปวส. มีผลการเรียนเฉลยี่ ประจาปกี ารศึกษา ตงั้ แต่ 2.50 ข้นึ ไป โดยจะได้รับทุนการศกึ ษา 5,000 บาท 7.1.4 ให้พนักงานนาหลักฐานมาแสดงภายในเดือน เมษายน ของทุกปี 7.2 หากพนกั งานไม่แสดงหลกั ฐานภายในเดอื นเมษายน ของปีนั้นๆ ถอื ว่าสละสิทธ์ิ ซ่ึงสิทธิ นี้บริษทั มสี ิทธทิ จ่ี ะเปลย่ี นแปลงหรอื ยกเลกิ ได้ ขอ้ 9 สวสั ดิการพเิ ศษอน่ื ๆ บริษัท จะพิจารณาตามความเหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป เช่น เบี้ยขยัน เบี้ยกันดาร ข้าวสาร สาหรับหงุ ขา้ ว ซง่ึ บรษิ ทั มสี ทิ ธิทจ่ี ะเปล่ียนแปลงหรอื ยกเลกิ ก็ได้ ขอ้ บงั คบั การทางานของบริษัท - 18 -

หมวดที่ 7 กฎระเบียบ วินยั และโทษทางวนิ ยั ขอ้ 1 กฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั โดยทวั่ ไป เพือ่ ให้เกิดความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยในการทางานร่วมกัน บรษิ ัทฯ ไดก้ าหนดระเบยี บขอ้ ปฏบิ ัตดิ งั ต่อไปนี้ 1.1. การเข้าและออกบริเวณบริษทั 1.1.1 ต้องบันทกึ เวลาเข้าทางาน และเลิกงานของพนักงานทุกคร้งั ด้วยตนเอง 1.1.2 พนกั งานทีจ่ ะตอ้ งออกจากบรเิ วณบรษิ ทั ในเวลาทางานไมว่ ่าจะด้วยกรณีใด จะตอ้ งขออนุญาตผ้บู ังคบั บญั ชา หรอื หวั หน้างานทุกครงั้ 1.1.3 ห้ามนาบคุ คลภายนอกเขา้ มาในบรษิ ทั โดยพลการ 1.1.4 ไม่ใชเ้ วลาทางานตอ้ นรับหรอื พบปะผมู้ าเยือน ซ่ึงไม่เกี่ยวข้องกับธรุ กิจการ งานของบรษิ ัท ยกเวน้ กรณีจาเป็นจะต้องได้รบั อนญุ าตจากผูบ้ งั คบั บัญชากอ่ น 1.1.5 พนักงานจะตอ้ งตดิ บัตรประจาตัวพนักงานท่ีหนา้ อกตลอดเวลาท่ีอยู่ในบริเวณ บริษทั 1.2 ระเบยี บการแตง่ กาย 1.2.1 เมื่อเขา้ มาในบริเวณบริษทั ต้องแต่งกายใหส้ ภุ าพเรียบรอ้ ย 1.2.2 สาหรับพนักงานท่ตี ้องแต่งเคร่อื งแบบ จะต้องแตง่ เครอื่ งแบบให้ถกู ต้อง เรียบร้อยตามที่บริษทั กาหนดไว้ และตอ้ งหมนั่ รักษาให้สะอาดเรยี บร้อยอย่เู สมอ 1.2.3 สวมรองเทา้ ที่ดูแลว้ สภุ าพ ถูกกาลเทศะ 1.3 จรรยาบรรณการปฏบิ ตั ิงาน และการใช้สถานท่บี รษิ ัท 1.3.1 มาทางานตรงตอ่ เวลา และพรอ้ มทีจ่ ะปฏิบัติงานได้ทันที 1.3.2 ปฏิบัตงิ านดว้ ยความซอ่ื สัตย์ และชว่ ยเหลอื เพื่อนรว่ มงาน หรือหน่วยงานอ่ืน เพอ่ื ประโยชน์สว่ นรวมของบรษิ ทั 1.3.3 ห้ามนอนหลับในระหว่างเวลาทางาน 1.3.4 ห้ามละท้งิ หนา้ ท่ี หรือออกจากสถานท่ที างานโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต 1.3.5 หา้ มอ่านหนังสือพมิ พ์ หรอื หนงั สืออ่านทไี่ มเ่ กีย่ วข้องกบั งานในระหวา่ งเวลา ทางาน ขอ้ บงั คบั การทางานของบรษิ ทั - 19 -

1.3.6 ห้ามสง่ เสียงอกึ ทกึ รบกวนผอู้ ื่น 1.3.7 ไม่ใหใ้ ชส้ ถานทข่ี องบริษัทในทางท่ขี ัดต่อสงั คม และศลี ธรรมอนั ดี 1.3.8 ห้ามใช้สถานท่ีของบริษัทจดั กจิ กรรม หรือทาการประชุมใด ๆ โดยไมไ่ ด้รับ อนญุ าต ข้อ 2 ระเบียบวินัย เพอื่ ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย และมปี ระสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิงานรว่ มกนั ของพนกั งาน บรษิ ทั จึงกาหนดระเบียบวินัยขน้ึ เพอ่ื ให้พนกั งานทุกคนปฏิบตั ติ าม พนกั งานใดหลกี เล่ียงหรือฝา่ ฝืน ถอื ว่า กระทาผิดวินัย ซงึ่ จะถกู พิจารณาโทษทางวินัยตามแต่ความร้ายแรงของลักษณะแหง่ ความผดิ น้นั ๆ 2.1 วนิ ยั ทว่ั ไป บริษทั ถอื วา่ การกระทาดังต่อไปน้ี เป็นการกระทาที่ผิดวินัย 2.1.1 ฝา่ ฝืน หลีกเลีย่ ง ขัดขืน หรอื ละเลยเพกิ เฉยต่อกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ ประกาศ หรือคาส่ังของบรษิ ทั รวมถงึ คาสง่ั อันชอบดว้ ยกฎหมาย และชอบด้วยหนา้ ท่ี ของผูบ้ ังคบั บัญชา 2.1.2 เสพของมึนเมาทุกชนิดในสถานทีท่ างาน หรือปฏบิ ัตงิ านในสภาพมึนเมา 2.1.3 กลับกอ่ นเวลาเลกิ งาน ยกเว้นจะไดร้ ับอนุญาตจากผู้บังคบั บญั ชา 2.1.4 เจตนาปฏบิ ตั ิงานใหล้ า่ ชา้ ขาดความเอาใจใส่ในหนา้ ทก่ี ารงาน 2.1.5 หยอกลอ้ หรือเล่นกันในระหวา่ งทางาน 2.1.6 ละเลยไม่บันทกึ เวลาทางาน และเวลาเลิกงานดว้ ยตนเอง บันทึกลงเวลา ทางานให้ผูอ้ ืน่ หรือให้ผู้อน่ื บันทึกลงเวลาแทน บนั ทึกเวลาให้ผดิ ไปจากความจรงิ 2.1.7 สบั เปลย่ี นหน้าท่ี หรือเวลาทางานโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต 2.1.8 แสดงกริ ิยาหรือใช้วาจาไม่สุภาพ สบประมาท ดหู ม่ินเหยียดหยามต่อ ผู้บังคับบัญชา พนักงานด้วยกนั ลกู ค้า หรือผูท้ ีม่ าติดตอ่ กับบรษิ ทั 2.1.9 ชว่ ยเหลือ สนับสนุน รู้เห็นเป็นใจใหพ้ นักงานผู้อืน่ กระทาความผิด 2.1.10 ประพฤติตน หรือกระทาการใด ๆ อันเปน็ การจงใจทาลายชือ่ เสียง และ ผลประโยชน์ของบริษทั 2.1.11 ยุยง ปลุกปน่ั หรือทาการใด ๆ อันเป็นปฏปิ กั ษ์ ตอ่ บริษัท 2.1.12 นาสงิ่ ของ เครื่องมอื เคร่อื งใชพ้ ร้อมผลติ ภัณฑ์ของบริษัทไปใชส้ ว่ นตัว โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต ข้อบังคับการทางานของบริษัท - 20 -

2.1.13 ปิดประกาศ ขีด เขียนข้อความ แจกใบปลวิ เผยแพร่เอกสาร หรือสง่ิ ตพี มิ พภ์ ายในบริเวณบรษิ ัท โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต 2.1.14ไม่แจ้งการเปลย่ี นแปลงสถานภาพส่วนบุคคลใหบ้ ริษัททราบตาม ระเบยี บทกี่ าหนด เช่น การยา้ ยที่อยอู่ าศยั การแต่งงาน การเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล ฯลฯ 2.1.15 นาสงิ่ ผดิ กฎหมายเขา้ มาในบรเิ วณบรษิ ทั 2.1.16 การกระทายุยง ส่งเสริมหรอื แพร่ขาวสารให้ผอู้ ื่น อันก่อใหเ้ กิดการ แตกแยกความสามัคคี 2.1.17 ใช้เวลา ทรัพยส์ นิ และอานาจหน้าทีข่ องบรษิ ทั เพ่ือดาเนนิ ธุรกจิ ส่วนตัวซง่ึ มผี ลกระทบกระเทอื นต่อการทางาน หรอื กจิ การของบริษทั 2.1.18 ทางานอยา่ งอ่ืน ซ่ึงขัดผลประโยชนห์ รอื เป็นคแู่ ข่งทางผลประโยชน์ ของบริษัท 2.1.19 เปิดเผยข้อความใด ๆ อนั เป็นเรอื่ งปกปิด หรือความลบั เกี่ยวกับ กิจการของบรษิ ัท 2.1.20 กอ่ การทะเลาะวิวาทหรือทาร้ายร่างกาย หรือพยายามทารา้ ยซ่งึ กนั และกันต่อบคุ คลภายในบริเวณบริษัท และกิจกรรมนอกสถานที่ของบรษิ ัท 2.1.21 รายงาน หรือแจง้ ขอ้ มูลเท็จ เพ่อื แสวงหาผลประโยชน์ โดยมิชอบ จากบรษิ ัท 2.1.22 ลัก หรือยกั ยอกทรพั ย์สินของบริษทั หรือของเพื่อนรว่ มงานใน บริเวณบริษัท 2.1.23 เลน่ การพนัน หรือร่วมวงในการพนนั ทุกชนิดในบริเวณบรษิ ัท 2.1.24 นาหรือพกอาวธุ หรือวัตถุระเบดิ เขา้ มาในบริเวณท่ที างานหรือขณะ ปฏิบตั ิงาน 2.1.25 รับสนิ บน หรอื ส่งิ ตอบแทนอันเกยี่ วกบั หน้าท่กี ารงานในทางมชิ อบ อน่ึง ความผิดทางวินัยที่กล่าวมาข้างต้นนี้ บริษัทจะพิจารณาถึงลักษณะแห่งความผิดความ เสียหาย และผลกระทบท่ีเกิดข้ึนเป็นกรณี ๆ ไป หากพิจารณาได้ว่าเป็นความผิดทางวินัยที่ร้ายแรง บรษิ ทั มีสทิ ธพิ ิจารณาลงโทษให้ออก ปลดออก หรอื ไลอ่ อกได้ โดยไม่ต้องแจ้งใหท้ ราบล่วงหน้า และ ไมจ่ ่ายค่าชดเชยใด ๆ ทั้งสิ้น ข้อบังคบั การทางานของบริษัท - 21 -

2.2 ความผดิ วนิ ัยร้ายแรง ความผิดวินัยที่ร้ายแรง หมายถึง การท่ีพนักงานทาความผิดดังต่อไปนี้ ซ่ึงไม่จาเป็นต้องมี การตักเตอื น และทางบริษทั มีสิทธพิ จิ ารณาลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออก โดยไม่ต้องแจ้งให้ ทราบล่วงหนา้ และไม่จา่ ยคา่ ชดเชยใด ๆ ทั้งสิ้น 2.2.1 ทจุ ริตตอ่ หนา้ ที่ หรือกระทาความผิดอาญา โดยเจตนาแกบ่ รษิ ทั โดยใหส้ ินบน หรือรับอามิสสนิ จา้ ง รางวลั ต่างๆ 2.2.2 จงใจทาให้บริษทั ได้รบั ความเสียหายและเสอ่ื มเสยี ช่อื เสยี ง โดยเฉพาะในเร่ือง ที่ขัดต่อศีลธรรมอันดี 2.2.3 ฝ่าฝืนข้อบังคับหรือระเบียบเก่ียวกับการทางานหรือคาส่ังอันชอบด้วย กฎหมายของบริษัทและบริษัทได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีท่ีร้ายแรงซ่ึงบริษัท ไม่จาเปน็ ตอ้ งตักเตือน 2.2.4 ละทง้ิ หนา้ ทีเ่ ป็นเวลา 3 วันทางานติดต่อกันโดยไมม่ เี หตุผลอนั สมควร 2.2.5 ประมาท เลินเลอ่ เปน็ เหตใุ หบ้ รษิ ทั ได้รับความเสยี หายรา้ ยแรง 2.2.6 ไดร้ ับโทษจาคุกตามคาพพิ ากษาถงึ ท่ีสดุ ให้จาคกุ ขอ้ 3 การลงโทษทางวนิ ัย พนกั งานทฝ่ี า่ ฝืนไมป่ ฏิบัติตามระเบียบวินยั ท่กี าหนดไว้ บริษทั จาเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งดาเนินการ พิจารณาลงโทษ เพ่ือต้องการให้พนักงานได้ปรับปรุงแก้ไขความประพฤติผิดต่าง ๆ นั้นยกเว้นใน กรณีท่ีทาความผิดวินัยร้ายแรงจนเป็นเหตุให้ต้องพิจารณาลงโทษถึงข้ันหนักสุด คือ ให้ออก ปลด ออก หรือไล่ออก บริษัทได้กาหนดลกั ษณะขั้นตอนการลงโทษไว้ ดงั น้ี ขั้นตอนที1่ ตักเตือนด้วยวาจา ข้นั ตอนที่ 2 ตักเตือนเป็นลายลักษณอ์ ักษร ขั้นตอนท่ี 3 การสัง่ พกั งานชวั่ คราวโดยไม่ไดร้ บั ค่าจ้าง ขั้นตอนท่ี 4 ให้ลาออก/ให้ออก/ปลดออก/ไล่ออก ข้อบังคับการทางานของบริษัท - 22 -

หมวดท่ี 8 การรอ้ งทุกข์ และการเสนอความคดิ เหน็ บรษิ ัทยินดีรับฟังความคิดเหน็ ของพนักงานเสมอไม่ว่าจะเกีย่ วกับการปรับปรุงแก้ไขระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือการร้องทุกข์ใด ๆ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและเป็นการลดปัญหาในการปฏิบัติงานทาง บรษิ ัทไดก้ าหนดแนวทางตลอดจนวิธกี ารรอ้ งทุกข์ และการเสนอความคดิ เหน็ ได้ ดังน้ี 1) ใหท้ าหนังสือบันทกึ เรื่องราวเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรแสนอต่อหวั หนา้ งานโดยตรง 2) เมอ่ื หวั หน้างานไดร้ ับเรื่องร้องทุกข์ ให้พจิ ารณาหาทางช่วยเหลอื ปรบั ปรุงแกไ้ ขทนั ที 3) หากเปน็ เรือ่ งเกินขอบเขตอานาจ หรอื เกินความสามารถให้หวั หนา้ งานทารายงานหรือ สง่ เร่ืองท้ังหมดไปยงั ผู้จดั การฝ่ายของตน 4) หากผรู้ อ้ งทุกข์ไมป่ ระสงค์จะเสนอเร่อื งราวต่อหวั หนา้ งานโดยตรงให้เสนอต่อผูจ้ ัดการ ของตนก็ได้ 5) ในกรณีท่ีไม่สามารถจะจบเหตุร้องทกุ ข์ในระดบั ผู้จดั การฝ่ายได้ อาจนาเรื่องร้องทุกข์ นน้ั เสนอต่อผบู้ ังคับบัญชาของตนได้ 6) ในกรณีท่ีเห็นสมควรบริษทั อาจให้ตัง้ คณะกรรมการพิจารณาคาร้องทกุ ขข์ ึ้นเพื่อ สอบถามและรวบรวมพยานหลักฐาน หรือข้อเท็จจรงิ ที่เก่ยี วข้องใหเ้ สร็จสิ้นภายใน 15 วนั และเสนอ ความเห็นต่อผ้มู ีอานาจวินิจฉัยช้ขี าด และส่งั การตอ่ ไป 7) กรณีท่พี นักงานชงิ ลาออกก่อนท่จี ะมกี ารพิจารณาตัดสิน คาร้องทกุ ข์จะถกู ยกเลิกไม่มี การดาเนินการตอ่ ไป 8) ขอ้ วนิ ิจฉยั สงั่ การของกรรมการผ้จู ัดการเป็นขอ้ ยุติ หรือร้องเรยี นไปยังกรมสวัสดิการ แรงงาน ข้อบังคับการทางานของบรษิ ัท - 23 -

หมวดที่ 9 การพ้นสภาพจากการเป็นพนกั งาน การพน้ สภาพจากการเป็นพนักงานทางบริษทั จาแนกออกเป็นทั้งหมด 5 กรณี ดังน้ี 1. ลาออก 2. ครบเกษยี ณอายุ 3. เลกิ จ้าง 4. ใหอ้ อกปลดออกไลอ่ อก 5. ถึงแกก่ รรม ข้อ 1 การลาออก 1.1 พนักงานจะตอ้ งแจ้งการลาออกต่อบรษิ ัทเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรใหท้ ราบลว่ งหน้า อย่างน้อย 30 วนั 1.2 หากพนักงานยืน่ หนังสอื ลาออกลว่ งหน้าน้อยกว่าเวลาที่กาหนด ตามข้อ 1 โดยไมม่ ี เหตุผลตามสมควร บรษิ ัทจะพจิ ารณาหักเป็นเงินบาเหน็จเปน็ จานวนเท่ากบั ค่าจ้างสาหรับวนั ที่ลา ไม่ครบ ขอ้ 2 การครบเกษยี ณอายุ 2.1 พนักงานทม่ี อี ายคุ รบ 60 ปบี รบิ รู ณ์ ถือว่าครบเกษียณ และจะไดร้ บั การอนมุ ตั ใิ หพ้ ้น สภาพจากการเปน็ พนกั งานตั้งแตว่ นั สน้ิ ปีปฏิทินทม่ี ีอายุครบเกษยี ณ 2.2 หากมีการโต้แย้งเกยี่ วกับอายใุ ห้ถอื อายุจากวันเกิดท่แี สดงในบตั รประจาตัวประชาชน ของพนักงานเป็นเกณฑ์ ข้อ 3 การเลกิ จ้าง 3.1 การเลิกจ้าง หมายถงึ การทบ่ี ริษทั ให้พนักงานออกจากงาน โดยท่ีพนักงานมิได้กระทา ความผดิ กรณที บ่ี รษิ ัทจะเลกิ จ้างมดี งั ต่อไปน้ี 3.1.1 ป่วยเรอ้ื รงั หรือทพุ พลภาพถาวร 3.1.2 ตาแหน่งถูกยบุ 3.1.3 มีความจาเป็นตอ้ งลดกาลงั คน 3.1.4 พนกั งานไม่มีประสิทธิภาพ ขอ้ บงั คบั การทางานของบรษิ ทั - 24 -

3.2 บรษิ ทั จะจา่ ยคา่ ชดเชยให้แกพ่ นกั งาน ซง่ึ บริษัทมีความจาเปน็ ตอ้ งเลิกจา้ งตามขอ้ 3.1 ดังตอ่ ไปนี้ 3.2.1 พนกั งานซ่งึ ทางานติดต่อกนั ครบ 120 วนั แต่ไม่ครบ 1 ปี โดยรวมวันหยุด วัน ลาและวนั ทบ่ี รษิ ัทสั่งใหห้ ยุดงานเพอื่ ประโยชน์ของบรษิ ัทให้จา่ ยไมน่ อ้ ยกว่าคา่ จา้ งอัตราสุดทา้ ย 30 วนั หรือไม่น้อยกว่าคา่ จ้างของการทางาน 30 วันสุดท้าย สาหรบั พนกั งานซ่งึ ได้รบั ค่าจา้ งตามผลงาน โดยคานวณเปน็ หน่วย 3.2.2 พนักงานทางานติดต่อกันมาครบ 1 ปี แตไ่ มค่ รบ 3 ปี โดยรวมวันหยุด วันลา และวันที่บริษทั ส่ังให้หยุดงานเพอื่ ประโยชนข์ องบรษิ ทั ให้จ่ายไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ งอัตราสดุ ท้าย 90 วัน หรอื ไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างของการทางาน 90 วันสุดท้าย สาหรับพนกั งานซง่ึ ไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดย คานวณเป็นหนว่ ย 3.2.3 พนักงานทางานติดตอ่ กันครบ 3 ปี แตไ่ มค่ รบ 6 ปี โดยรวมวนั หยุดลา วันลา และวนั ทบ่ี ริษทั สั่งใหห้ ยดุ งานเพื่อประโยชน์ของบรษิ ทั ใหจ้ ่ายไมน่ ้อยกว่าคา่ จา้ งอัตราสุดท้าย 180 วนั หรือไมน่ ้อยกว่าค่าจา้ งของการทางาน 180 วนั สดุ ทา้ ยสาหรบั พนกั งานซง่ึ ไดร้ บั ค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเปน็ หน่วย 3.2.4 พนกั งานทางานตดิ ต่อกนั ครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี โดยรวมวันหยุดลา วันลา และวนั ทบี่ รษิ ัทส่ังให้หยุดงานเพ่ือประโยชน์ของบริษัท ใหจ้ ่ายไม่น้อยกวา่ ค่าจ้างอัตราสดุ ทา้ ย 240 วนั หรือไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางาน 240 วันสุดท้ายสาหรบั พนักงานซง่ึ ได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเปน็ หน่วย 3.2.5 พนักงานทางานติดต่อกนั ครบ 10 ปี แตไ่ มค่ รบ 20 ปี โดยรวมวันหยุด วนั ลา และวนั ท่ีบรษิ ัทสง่ั ให้หยดุ งานเพอ่ื ประโยชนข์ องบรษิ ทั ให้จ่ายไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน หรือไมน่ ้อยกว่าคา่ จ้างของการทางาน 300 วนั สดุ ทา้ ยสาหรับพนกั งานซึง่ ได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเป็นหน่วย 3.2.6 พนักงานทางานตดิ ต่อกนั ครบ 20 ปขี ้ึนไป โดยรวมวนั หยุด วนั ลา และวันที่ บริษทั สั่งให้หยดุ งานเพื่อประโยชนข์ องบรษิ ัท ใหจ้ า่ ยไม่น้อยกวา่ ค่าจ้างอัตราสดุ ท้าย 400 วัน หรือไม่นอ้ ยกว่าคา่ จ้างของการทางาน 400 วนั สดุ ท้ายสาหรบั พนกั งานซง่ึ ไดร้ บั คา่ จา้ งตามผลงานโดย คานวณเป็นหนว่ ย ขอ้ บังคบั การทางานของบริษทั - 25 -

ข้อ 4 การให้ออก ปลดออก หรอื ไลอ่ อก 4.1 หมายถงึ การที่บรษิ ทั ให้พนักงานออกจากงานโดยไม่จ่ายคา่ ชดเชยให้เนื่องจากทาผิดวนิ ยั ร้ายแรง หรือฝา่ ฝนื ระเบยี บข้อบังคบั เกย่ี วกับการทางาน หรือคาสงั่ อันชอบด้วยกฎหมาย ของบริษัท หรือผบู้ ังคบั บญั ชา 4.2 การที่จะใหอ้ อก ปลดออก หรอื ไลอ่ อกนั้น ข้ึนอยกู่ บั ความหนักเบาหรอื รา้ ยแรงของ ความผิด ข้อ 5 การถึงแก่กรรม พนักงานทถี่ งึ แก่กรรม ถอื วา่ พน้ สภาพการเป็นพนกั งานต้ังแตว่ ันถดั ไป ข้อบังคบั การทางานของบริษทั - 26 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook