Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทพากย์เอราวัณ

บทพากย์เอราวัณ

Published by pannapat6205, 2020-05-09 01:14:52

Description: บทพากย์เอราวัณ

Search

Read the Text Version

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate เปา หมายการเรยี นรู (ยอจากฉบับนกั เรียน 20%) • สรุปเน้ือหาเร่อื งบทพากยเอราวัณ • วเิ คราะหวิถไี ทยและคุณคา วรรณคดเี ร่ืองบทพากยเอราวัณ • สรุปความรแู ละขอ คิดทน่ี าํ ไป ประยุกตใ ชใ นชวี ติ จริง • ทองจาํ และบอกคุณคาบทอาขยาน ตามท่ีกําหนด กระตนุ ความสนใจ õหนวยที่ ครูนําสนทนาและถามนักเรยี น บทพำกยเ์ อรำวณั • นกั เรยี นรูจักชา งเอราวณั หรือไม • นักเรียนรจู ักชา งเอราวัณจาก ทไ่ี หน • ชา งเอราวณั มีลกั ษณะพิเศษ อยา งไร • ใครเปนผูทรงชางเอราวัณ ตัวช้วี ดั บทพากยเอราวัณเปนตอนหนึ่งใน ■ สรปุ เน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทอ งถน่ิ ในระดับที่ยากขึน้ (ท ๕.๑ ม.๓/๑) ■ วเิ คราะหว ถิ ีไทยและคณุ คา จากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา น วรรณคดีเรื่องรามเกียรต์ิที่ใชสําหรับ ประกอบการแสดงมหรสพ โดดเดนทาง (ท ๕.๑ ม.๓/๒) ดา นวรรณศลิ ป การใชถ อ ยคาํ เพอ่ื พรรณนา ■ สรุปความรแู ละขอคิดจากการอา นเพือ่ นําไปประยุกตใ ชในชวี ิตจรงิ ตัวละคร และฉากในทองเร่ืองซ่ึงทําใหผูอาน (ท ๕.๑ ม.๓/๓) เกิดจินตภาพ นอกจากนี้ยังปรากฏคุณคาใน ดานตางๆ เชน คุณคาดานเนื้อหา ดานสังคม ■ ทอ งจาํ และบอกคณุ คาบทอาขยานตามท่กี ําหนด (ท ๕.๑ ม.๓/๔) และวิถีไทย และใหขอคิด ผูอานควรอานอยาง สาระการเรยี นรูแกนกลาง พนิ จิ พจิ ารณาเพอ่ื สงั เคราะหข อ คดิ ตา งๆ ทจี่ ะนาํ ไป ■ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถนิ่ เกยี่ วกบั ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สภุ าษติ คาํ สอน เหตกุ ารณใ นประวตั ศิ าสตร บันเทิงคดี การวเิ คราะหวิถไี ทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม ■ บทอาขยานและบทรอ ยกรองทมี่ ีคณุ คา ประยกุ ตใชในชีวติ ประจําวัน ■ 114 คูมอื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Expand Engage Evaluate ๑ ความเป็นมา สาํ รวจคนหา บทพากยเ์ อราวณั เปน็ บทพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ใชส้ า� หรบั 1. แบงกลมุ นักเรียนสบื คนพระราช- เล่นโขน จัดพิมพ์รวมอยู่ในรามเกียรติ์ค�าพากย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ประวัตแิ ละผลงานในพระบาท- ๒๔๖๑ ณ โรงพิมพ์ไท ถนนรองเมอื ง กรงุ เทพฯ สมเด็จพระพุทธเลศิ หลา นภาลยั คณะอนุกรรมการจัดท�าเอกสารและบทความสดุดีบุคคลส�าคัญ ในคณะกรรมการเอกลักษณ์ โดยเนน พระปรชี าสามารถดา น ของชาติ ได้น�ามาจัดพิมพ์ขึ้นใหม่เพ่ือเป็นการอนุรักษ์วรรณกรรมเก่าและหายาก สืบอายุวรรณกรรม การประพันธ จากแหลงเรยี นรู โดยน�ามาพิมพเ์ ป็นหนงั สอื ใหม่ช่อื กาพยคด ี ประกอบดว้ ยเร่อื ง ตางๆ เชน หอ งสมดุ โรงเรยี น ๑. พชิ ยั สงครามคา� ฉนั ท์ หนงั สือ อนิ เทอรเนต็ เปนตน ๒. ต�าราชา้ งค�าฉันท์ ๓. บุณโณวาทค�าฉนั ท์ 2. ใหนกั เรียนสบื คนประวัติความ ๔. รามเกยี รติค์ า� พากย์ เปน มาของพระราชนพิ นธบ ทพากย ๕. ล�าดับกษตั ริยค์ า� ฉันท์ เอราวัณ แลว บนั ทกึ ความรูลงสมดุ ตอนท่ีน�ามาใหศ้ ึกษานี้คดั มาจากเร่ืองรามเกียรติค์ า� พากย์ อย่ใู นหนา้ ๑๓๑-๑๓๓ ของหนังสอื กาพยคด ี มจี า� นวนกาพยฉ์ บงั ๑๗ บท ใชต้ วั สะกดทเี่ ปน็ ปจั จบุ นั แตไ่ ดท้ า� เชงิ อรรถบอกไวว้ า่ ตน้ ฉบบั เดมิ อธบิ ายความรู สะกดอยา่ งไร จากคํากลาวท่ีวา “ในรัชสมัยพระ- ๒ ประวตั ิผแู้ ตง่ บาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เปนยุคทองแหงวรรณกรรมและ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั พระนาม ศลิ ปกรรม” ใหน กั เรยี นหาขอ สนบั สนนุ เดมิ วา่ ฉมิ เปน็ พระราชโอรสลา� ดบั ท ่ี ๔ ในพระบาทสมเดจ็ - คาํ กลาวนี้ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลท ่ี ๑) ทรงพระราช- สมภพเมอ่ื วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมอ่ื สมเด็จ- (แนวตอบ ขอ สนบั สนนุ คอื พระบาท- พระบรมชนกนาถปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุง สมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั รตั นโกสนิ ทรใ์ น พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองคท์ รงไดร้ บั การสถาปนา พระองคทรงเช่ยี วชาญดา น เป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร พระบาทสมเด็จพระพุทธ- อักษรศาสตรอยางย่ิง พระองคทรง เลิศหล้านภาลัยเสด็จขนึ้ ครองราชยใ์ น พ.ศ. ๒๓๕๒ เสด็จ- พระราชนิพนธเองจํานวนมาก สวรรคตเม่ือ พ.ศ. ๒๓๖๗ ครองสิริราชสมบัติเป็นเวลา มีความประณตี งดงาม พระองค ๑๕ ปี ทรงมพี ระอัจฉรยิ ภาพทั้งทางดาน วรรณศลิ ปและสถาปตยศิลป และ พระบำทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลำ้ นภำลยั โปรดเกลา ฯ ใหประชมุ กวีรวมกนั แตง วรรณคดีประเภทตางๆ มากมาย 115 กวีที่มีความสามารถ เชน สนุ ทรภ)ู 2. บทละครเรอื่ งรามเกยี รติ์ ขยายความเขาใจ “อันคําบรุ าณกลาวไว อยา ใหห ลงกลทั้งส่ี คอื รปู รสวาจาพาที ดรุ ยิ างคดนตรนี ีห้ า มนัก” ใหนักเรียนยกตัวอยางคําประพันธ 3. กาพยเหชมเคร่ืองคาวหวาน จากพระราชนพิ นธใ นพระบาทสมเดจ็ - “มัสมน่ั แกงแกว ตา หอมยห่ี รา รสรอ นแรง พระพุทธเลิศหลานภาลยั 3 ตัวอยา ง ชายใดไดก ลนื แกง แรงอยากใหใฝฝนหา”) (แนวตอบ 1. บทละครเร่ืองอิเหนา “นางนวลจบั นางนวลนอน เหมือนพ่แี นบนวลสมรจินตะหรา จากพรากจบั จากจาํ นรรจา เหมอื นจากนางสการะวาต”ี คมู อื ครู 115

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธิบายความรู (ยอจากฉบบั นกั เรยี น 20%) ครแู ละนักเรยี นรว มกันอภิปราย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ตลอด เร่อื งรามเกยี รต์ิทว่ี า ระยะเวลา ๑๕ ปี แห่งรชั สมัยของพระองค์ไดท้ รงท�านบุ า� รุงดา้ นศลิ ปะ วรรณคดีและสถาปตั ยกรรม โดยเฉพาะวรรณคดมี คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งสงู สดุ ทง้ั ทท่ี รงพระราชนพิ นธเ์ องและโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระชมุ กวี • ธรรมดาเรอื่ งรามเกียรติ์ใครๆ แต่งวรรณคดีประเภทต่างๆ เช่น ค�ากลอน ละครนอก ละครใน เสภา นิราศ กาพย์ ฉันท์ ลิลิต กร็ วู าเปน เรือ่ งสาํ หรับเลนโขน โคลงสุภาพและโคลงด้ัน ล้วนเป็นแบบฉบับอันยอดเยี่ยมในทางนาฏศิลป์ นอกจากนี้พระองค์ยังทรง แตทาํ ไมรามเกียรต์ิในรัชกาล ปรับปรุงการละครไทยจนถึงขนั้ มาตรฐานสูงท้ังกระบวนทา่ เนอื้ รอ้ ง ท�านองเพลงและการรา่ ยร�า ท่ี 2 จึงเรียกวา บทละคร บทพระราชนพิ นธใ์ นพระองคท์ ส่ี �าคัญมอี ย่หู ลายเร่ือง เชน่ (แนวตอบ เพราะวารัชกาลที่ 2 ๑. เสภาเร่ืองขนุ ชา้ งขุนแผน สนั นิษฐานวา่ คอื ตอนขนึ้ เรือนขุนชา้ ง ทรงพระราชนพิ นธใ หล ะครหลวง ๒. บทละครเรือ่ งอิเหนา ดําเนินตามแบบละครรองทุก อยาง เม่ือตองการเลนอยางโขน ๓. บทละครเร่อื งรามเกียรติ์ ก็แทรกบทพากยและบทเจรจา ๔. บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง คาวี เขาไป) ไกรทอง มณีพชิ ัย ๕. กาพยเ์ หเ่ รือ บทเหช่ มเครอ่ื งคาวหวาน ขยายความเขาใจ ๖. บทพากยโ์ ขน ตอนพรหมาสตร ์ นาคบาศ นางลอยและเอราวณั ครูทบทวนองคค วามรูจาก รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า- พระราชกรณยี กจิ ท่เี ก่ยี วของกบั นภาลัยเป็นยุคทองแห่งวรรณกรรมและศิลปกรรม วรรณคดีไทยในพระบาทสมเดจ็ - พระองคท์ รงมพี ระอจั ฉรยิ ภาพทงั้ ทางดา้ นวรรณศลิ ป์ พระพทุ ธเลิศหลานภาลยั จาก และสถาปัตยศิลป์ บทพระราชนิพนธ์จ�านวนมากมี ตวั อยำ งบทพระรำชนพิ นธใ์ นรชั กำลที ่ ๒ พระราชนพิ นธค รูต้งั คําถามกบั ความประณตี งดงามทางดา้ นอกั ษรศาสตรท์ สี่ ามารถนา� ไปผสมผสานกบั นาฏยศาสตรแ์ ละดรุ ยิ างคศาสตร์ นักเรียนวา ไดอ้ ยา่ งกลมกลนื พระราชนพิ นธบ์ ทละครเรอ่ื ง อเิ หนำ ไดร้ บั การยกยอ่ งจากวรรณคดสี โมสรวา่ เปน็ ยอด ของกลอนบทละคร ในด้านศิลปกรรมพระองค์ทรงเชี่ยวชาญด้านงานช่างศิลปะไทยหลายแขนง เช่น • พระราชนิพนธในพระบาท- ทรงรว่ มแกะสลกั บานประตวู หิ ารวดั สทุ ศั นเทพวราราม สมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลานภาลยั ด้วยเหตนุ อ้ี งค์การศึกษา วทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาต ิ (UNESCO) จงึ เฉลมิ นักเรียนคิดวา สง ผลตอภาษา พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในฐานะบุคคลส�าคัญที่มีผลงานดีเด่นทาง และวรรณคดีไทยอยางไร วัฒนธรรมระดับโลก กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานต่างๆ ได้ร่วมจัดงานเฉลิมพระเกียรติใน (แนวตอบ จากพระราชกรณยี กิจ อภลิ กั ขติ สมยั ครบรอบ ๒๐๐ ป ี แหง่ วนั พระราชสมภพเมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๑ ไดม้ กี ารจดั ตง้ั มลู นธิ พิ ระบรม- ของรัชกาลที่ 2 ทเ่ี ดน ในการ ราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีวัตถุประสงค์ในการ พระราชนพิ นธงานตา งๆ ทาํ ให สง่ เสรมิ สนบั สนนุ เผยแพรง่ านศลิ ปะและวรรณคดใี นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย เรามภี าษาและวรรณคดไี ทย เปน มรดกอันทรงคาตราบเทา ปจจบุ ันน)ี้ 116 เกรด็ แนะครู ครชู ้ีใหนักเรียนเห็นวาในสมยั รัชกาลที่ 2 เปน ยุคทองแหง วรรณกรรม ศลิ ปกรรมนนั้ เพราะเปน สมยั ท่บี านเมืองสงบ จึงทรงมุงทาํ นบุ าํ รงุ บานเมอื งอยา งเตม็ ที่ เพ่ือบํารงุ ขวญั ของประชาชน 116 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate ๓ ลักษณะคÓประพันธ์ อธบิ ายความรู บทพากยเ์ อราวณั ใชค้ า� ประพันธ์ประเภทกาพย์ฉบัง ๑๖ ซ่งึ มีลกั ษณะดังนี้ ใหนักเรียนศึกษาฉันทลักษณของ ๑ บท ม ี ๑๖ ค�า แบง่ เป็น ๓ วรรค วรรคแรกมีจา� นวน ๖ ค�า วรรคท ี่ ๒ ม ี ๔ คา� วรรค กาพยฉบัง 16 แลวสงตัวแทนมา สุดทา้ ยมี ๖ คา� อธบิ ายแสดงความเขา ใจหนา ชนั้ เรยี น สัมผสั บงั คับ ได้แก ่ ค�าสดุ ท้ายของวรรคแรก สัมผสั กับค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สมั ผัสระหว่าง โดยยกตัวอยางกาพยฉบัง 16 จาก บท คือคา� สดุ ท้ายของบทแรกสมั ผสั กับค�าสุดท้ายของวรรคแรกในบทต่อไป หนงั สือเรยี น 1 บท แผนผัง กาพยฉ์ บัง ๑๖ (แนวตอบ (บทท ่ี ๑)           สามสิบสามเศยี รโสภา เศียรหนงึ่ เจ็ดงา           ดงั เพชรรัตนร ูจี (บทท่ ี ๒)             ครูและนักเรยี นรวมกันอธิบาย ลกั ษณะฉนั ทลกั ษณข องกาพยฉบัง ๔ เรือ่ งยอ่ 16 พรอ มทั้งจดบนั ทกึ ลงสมุด) บทพากย์เอราวัณเป็นเน้ือเร่ืองตอนหนึ่งในรามเกียรต์ิ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับอินทรชิตซึ่งเป็นโอรส ขยายความเขา ใจ ของทศกัณฐ์กบั นางมณโฑ ช่ือเดิมวา่ “รณพกั ตร์” รณพักตรไ์ ด้ศกึ ษาศิลปวิทยากบั พระฤๅษโี คบุตร บ�าเพญ็ ตบะภาวนามนต์อยูน่ านถงึ ๗ ป ี จงึ ได้ ใหนักเรียนชวยกันแตงกาพยฉบัง ศร ๓ เล่ม จากพระผูเ้ ปน็ เจ้าท้ังสามองค ์ คอื ศรพรหมาสตรจ์ ากพระอศิ วร ศรนาคบาศจากพระพรหม 16 บรรยายธรรมชาติยามเชาโดยดู และศรวษิ ณปุ าณมั จากพระนารายณ ์ เมอื่ ไปรบกบั พระอนิ ทรไ์ ดร้ บั ชยั ชนะและไดจ้ กั รแกว้ ของพระอนิ ทร์ จากตัวอยา งในเร่ืองแตง จํานวน 2 บท กลับมายังกรุงลงกา ทศกัณฐ์ทรงพอพระทัยจงึ พระราชทานพระนามใหม่แก่รณพกั ตรว์ า่ “อินทรชิต” แลวอา นเปน ทาํ นองเสนาะพรอมกนั ในเรื่องรามเกียรต์ิซึ่งเป็นสงครามแย่งชิงนางสีดา ทศกัณฐ์ทรงให้พระญาติวงศ์พงศาออกรบ แตก่ ลบั พา่ ยแพห้ มด จึงโปรดให้อินทรชติ ออกรบถงึ ๔ ครัง้ เกร็ดแนะครู ครั้งแรก อินทรชิตถูกศรพลายวาตของพระลักษมณ์ต้องหนีกลับเข้าเมือง อินทรชิตจึงท�าพิธี ครูเลา ใหนักเรียนฟงเกยี่ วกบั โขน ชุบศรนาคบาศ ระหว่างท�าพิธีมังกรกัณฐ์ได้ออกรบแทนอินทรชิตแล้วถูกพระรามแผลงศรพรหมาสตร์ คือ การแสดงอยา งหนึ่งคลายละครราํ ต้องมังกรกัณฐ์ โดยผูแสดงสวมหวั จาํ ลองตางๆ ทเ่ี รยี กวา หวั โขน เลน เฉพาะเรอ่ื ง ครง้ั ท่ี ๒ อนิ ทรชติ รบกบั พระลกั ษมณ ์ แผลงศรนาคบาศถกู พระลกั ษมณแ์ ละพลวานร พระราม รามเกยี รติ์ การแสดงโขนมที าราํ ต้องใช้วิธีเรียกครุฑมาจกิ นาค อนิ ทรชิตจงึ ทา� พิธีชบุ ศรพรหมาสตรแ์ ตไ่ ม่สา� เร็จ ที่ออนชอ ยงดงาม ถอื วา โขนเปนการ แสดงนาฏศลิ ปช้นั สงู 117 นักเรียนควรรู อนิ ทรชติ แปลวา ผูชนะพระอินทร คมู อื ครู 117

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Engage Explore Expand Evaluate อธิบายความรู (ยอจากฉบบั นักเรยี น 20%) ใหน กั เรยี นอธบิ ายเกย่ี วกบั บทพากย ภำพวำดพระลักษมณ์ถกู ศรนำคบำศกลำงสนำมรบ คร้ังที่ ๓ อินทรชิตแปลงเป็นพระอินทร์ เอราวัณมาลว งหนา ภำพวำดงำนพระศพของอินทรชิต ขีช่ า้ งเอราวณั ออกมารบกับพระลกั ษมณ์ ในครั้งน้ี พระลักษมณ์ถูกศรพรหมาสตร์สลบไปพร้อม (แนวตอบ บทพากยโ ขนเปนบท พลวานร หนมุ านตรงเขา้ หกั คอชา้ งเอราวณั หนมุ าน รอ ยกรองประเภทกาพยและรายยาว ถกู อนิ ทรชติ ตดี ว้ ยคนั ศรจนสลบไปและเมอ่ื หนมุ าน มผี พู ากยทําหนาท่ีบรรยายเนือ้ เรอ่ื ง ต้องกระแสลมพดั จึงฟืน้ ขึ้น ประกอบกบั พระราม และเจรจาแทนตัวโขน ซึง่ สวมหัวโขน และพิเภกมายังสมรภูมิ พิเภกจึงให้หนุมานไปน�า ปดหนา ทง้ั หมด ตอ มาตวั ละครทเี่ ปน ยาทเ่ี ขาสรรพยา พระลกั ษมณแ์ ละไพร่พลได้กลิน่ เทพบตุ ร เทพธิดาไมไดสวมหัวโขน ยาจงึ ฟน้ื อนิ ทรชติ จงึ กลบั ไปตงั้ พธิ กี มุ ภนยิ าชบุ ศร แตก ็จะไมพ ูดหรือเจรจาเอง ตองมี ๓ เล่ม แต่พระลักษมณ์ล้างพธิ ไี ด้ ผพู ากย- เจรจาแทน ยกเวนผูแสดง เปน ตัวตลกหรือฤๅษบี างตนอาจ คร้งั ที่ ๔ อินทรชิตร่า� ลาลกู เมยี แลว้ ออก เจรจาเองเปน รอยแกว ) ไปรบ ก็ถกู พระรามแผลงศรตัดคอ องคตน�าพาน แว่นฟา้ ไปรองรับ และพระรามจึงตอ้ งแผลงศรไป เกรด็ แนะครู ทา� ลายใหเ้ ป็นจณุ ทั้งนเ้ี พราะพระพรหมประสาท ศรนาคบาศและอวยพรอนิ ทรชติ ใหเ้ รอื งฤทธ ์ิ “ถำ้ ครเู พม่ิ เติมความรูใ หน กั เรียน แม้นต้องตำยก็ให้ตำยบนอำกำศ ถ้ำแม้นหัวตก การพากยแ บงออกเปน 5 ประเภท ถึงดิน จงกลำยเป็นไฟกัลปเผำผลำญโลก” ใหญๆ คอื 1. พากยเมอื ง (หรอื พากย ส�าหรับบทพากย์เอราวัณตอนท่ีน�ามาศึกษาเป็นเพียงบางส่วนในฉากก่อนการออกรบคร้ังที่ ๓ ของอินทรชติ ซ่ึงใช้พระเวทของพระอิศวรแปลงกายเป็นพระอนิ ทร ์ เหล่ายักษแ์ ปลงเป็นเทวดา และ พลับพลา) ใชเ วลาตัวเอกประทับ การุณราชแปลงเปน็ ชา้ งเอราวัณลอยมาบนฟา้ หนุมานเตอื นพระลกั ษมณ์ให้ระวังตวั เพราะเห็นแปลก ในปราสาทหรอื พลบั พลา ที่บรรดาเทพเทวดาล้วนมีอาวุธครบครัน แต่พระลักษมณ์และไพร่พลวานรต่างเชื่อว่าเป็นพระอินทร์ 2. พากยร ถ (ชาง มา ) ตามแตจ ะ และเหล่าเทวดาเสด็จมาจริงๆ จึงเผลอชมความงามอย่างเพลิดเพลิน เป็นโอกาสให้อินทรชิตแผลงศร ใชพ าหนะใด พรหมาสตร์ถูกพระลกั ษมณ์จนสลบไป 3. พากยโอ ทาํ นองตอนตน เปน เนื้อเร่ืองในตอนนี้มีความโดดเด่นด้านการใช้ค�าสร้างจินตภาพให้แก่ผู้อ่าน ให้เห็นถึงความ พากย ตอนทา ยเปน ทาํ นองรอ ง สวยงามและความยง่ิ ใหญ่ของกองทพั ทั้งสองฝ่าย โอป ใชเ วลาเศราโศกราํ พัน แม้ว่าวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์จะได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย แต่อย่างไรก็ตามได้มีการน�ามา 4. พากยช มดง สาํ หรบั เวลาชมปา ปรับปรุงให้เข้ากับวัฒนธรรมและรสนิยมของคนไทย จึงท�าให้วรรณคดีเร่ืองน้ีมีความน่าสนใจและทรง 5. พากยบรรยาย (หรอื รําพนั ) คณุ ค่าสบื เนือ่ งมาจนถึงปจั จุบัน ใชบรรยายความเปน มาของ ส่งิ ใดสง่ิ หน่ึงหรอื รําพึงรําพัน 118 118 คูม ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ๕ เนือ้ เรือ่ ง กระตุนความสนใจ บทพากยเ์ อราวณั เหมอื นองค์อมรินทร์ ครูสนทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกับ อนิ ทรชิตบดิ เบอื นกายนิ เผอื กผ่องผวิ พรรณ บทพากยเ อราวัณ ครูถามนักเรยี นวา ทรงคชเอราวัณ๑ เศียรหนึ่งเจ็ดงา สระหนึ่งย่อมมี • ใครบา งทเี่ คยชมการแสดงทใ่ี ช ช้างนริ มติ ฤทธแิ รงแข็งขนั ดอกหนึ่งแบง่ บาน บทพากย และชมเรอ่ื งอะไร สสี ังข์สะอาดโอฬาร์ เจ็ดองค์โสภา อีกเจด็ เยาวมาลย์ • นักเรยี นคดิ วาบทพากยจะใช สามสิบสามเศียรโสภา ช�าเลอื งหางตา ประกอบการแสดงอยา งไร ดังเพชรรตั น์รจู ี ทกุ เกศกญุ ชร ซองหางกระวิน๔ สาํ รวจคน หา งาหนึ่งเจด็ โบกขรณ ี ผ้าทิพย์ปกตระพอง เจ็ดกออบุ ลบนั ดาล 1. ใหนกั เรยี นคน ควาลักษณะ ชางเอราวณั ตามบทประพันธ กอหนึง่ เจ็ดดอกดวงมาลย์ มกี ลีบได้เจด็ กลีบผกา 2. บันทึกลักษณะชางเอราวณั ที่ เรยี บเรยี งแลวลงสมุด กลบี หนึ่งมีเทพธิดา แน่งน้อยลา� เพานงพาล อธิบายความรู นางหนึ่งยอ่ มมบี ริวาร 1. ใหถ อดคําประพันธห นา 119 ล้วนรูปนิรมติ มายา๒ บนั ทึกลงสมดุ จับระบา� ร�ารา่ ยสา่ ยหา 2. ใหนกั เรยี นจดั กลมุ 5-6 คน ทอ งจํา ทา� ทีดงั เทพอัปสร๓ บทประพนั ธห นา 119 แลวทอ งให ครูฟง มวี มิ านแก้วงามบวร ดงั เวไชยันตอ์ มรินทร์ เกรด็ แนะครู เคร่อื งประดบั เก้าแกว้ โกมนิ ครูชใ้ี หนกั เรียนเห็นการพรรณนา สรอ้ ยสายชนกั ถกั ทอง ลักษณะของชางเอราวณั ในเร่ือง สะทอ นใหเหน็ ความยงิ่ ใหญโ อฬาร ตาขา่ ยเพชรรตั น์รอ้ ยกรอง เพราะแตละสว นของชา งเอราวัณยังมี ห้อยพ่ทู ุกหูคชสาร รายละเอียดท่สี วยงามวิจิตร แตแ ฝง ไปดว ยความยิง่ ใหญอ ลงั การ เปน ชา ง ๑๒๔๓ ฉฉฉฉบบบบัับัับบบหหหหออออสสสสมมมมดดุุดดุุ ววววชชชชรริริริิ ญญญญาาาาณณณณ เขยี น เอราวรรณ ทรงท่คี วรคูก ับบารมีของพระอนิ ทร เขียน นิมติ มารยา เขยี น อบั ศร นกั เรียนควรรู เขยี น กระวิล 119 โอฬาร หรอื โอฬาร หมายถงึ ใหญโต ย่ิงใหญ นักเรยี นควรรู นักเรียนควรรู ตระพอง หรอื กระพอง หมายถงึ โบกขรณี หมายถึง สระบวั สว นทน่ี ูนเปน ปมุ 2 ขางศรี ษะชาง คมู อื ครู 119

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธบิ ายความรู (ยอจากฉบบั นักเรียน 20%) ใหนักเรียนรวมกันศึกษาเปรียบ- โลทนั สารถขี ุนมาร เป็น๑เทพบตุ รควาญ เทียบบทพากยเอราวัณและกลอนบท ขบั ทา้ ยท่นี ่งั ช้างทรง เปลยี่ นแปลงกายคง ละครเรอ่ื งรามเกยี รติ์ (พระราชนิพนธ ทัพหลังสุบรรณ ในรชั กาลที่ 2) บรรดาโยธาจตั รุ งค ์ คนธรรพป์ กี ขวา • การใชฉ นั ทลกั ษณท ี่แตกตางกัน เป็นเทพไทเทวัญ โตมรศรชยั รีบเร่งรี้พล สง ผลตอเรื่องอยางไร ทัพหนา้ อารักษ๒์ไพรสณั ฑ์ (แนวตอบ บทพากยเ อราวณั ใชก าพย กินนรนาคนาคา พอพระสุรยิ ์ศรี ฉบัง 16 ทํานองเสียงของกาพย เฟ่ืองฟุ้งวนา ใหความรสู กึ โออ า เหมาะกับการใช ปกี ซา้ ยฤๅษิตวทิ ยา รอ่ นราถาลง เปนบทพากย ในขณะที่กลอนบท ตัง้ ตามตา� รับทพั ชยั ๓ ไกข่ ันปกี ตี ละครมีเสยี งทาํ นองกลอนทีล่ ื่นไหล หาคู่เคียงประสาน ร่ืนหูกวา เหมาะสําหรับการแสดง ล้วนถืออาวุธเกรียงไกร สรา่ งแสงอโณทยั ประกอบทา รํา) พระขรรคค์ ทาถ้วนตน ขยายความเขาใจ ลอยฟ้ามาในเวหน มาถงึ สมรภูมิชัย๔ 1. ศึกษาคําประพันธและถอดคํา ฯ เจรจา ฯ ประพนั ธ หนา 120 2. ครใู หน กั เรียนขยายความเขา ใจ เมอ่ื น้ันจึงพระจกั รี ในการจดั ทัพ หนา 120 โดยให อรุณเรอื งเมฆา นกั เรยี นเขยี นแผนผงั การจัดทัพ บนกระดาน ลมหวนอวลกล่นิ มาลา (แนวตอบ นวิ าสแถวแนวดง ทัพหนา เทพารกั ษ ผง้ึ ภู่หม่คู ณาเหมหงส ์ ทัพซา ย ทพั ขวา แทรกไซ้ในสรอ้ ยสุมาลี วทิ ยาธร คนธรรพ ทัพหลัง ดุเหวา่ เร้าเร่งพระสรุ ยิ ์ศรี (ครฑุ กินนร นาค) กู่ก้องในท้องดงดาน ปักษาต่นื ตาขนั ขาน ส�าเนียงเสนาะในไพร เดอื นดาวดบั เศร้าแสงใส ก็ผ่านพยบั รองเรือง นกั เรยี นควรรู ๑๔๓๒ ฉฉฉฉบบบบบับับัับหหหหออออสสสสมมมมุดุุดดดุ ววววชชชชริิิรริรญญญญาาาาณณณณ เขยี น เปน เขยี น อารักข โยธาจตั รุ งค หมายถงึ กองทพั เขยี น ไชย 4 เหลา คอื เหลาชาง เหลามา เขยี น ไชย เหลา รถ และพลเดนิ เทา 120 นกั เรียนควรรู นักเรยี นควรรู นักเรยี นควรรู สบุ รรณ หมายถึง ครฑุ โตมร หมายถึง อาวุธสําหรับซดั อโณทยั หมายถึง พระอาทติ ยเ พ่ิงขึ้น หอกดา มสัน้ 120 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Expand Engage Evaluate จบั ฟา้ อากาศแลเหลอื ง ธบิ ดินทรเ์ ธอบรรเทอื ง สาํ รวจคน หา บรรทมฟืน้ จากไสยา ฯ เจรจา ฯ ไพโรจนร์ จู ี ใหนักเรียนศึกษาคนควาลักษณะ เริงร้องถวายชยั นสิ ยั ของตวั ละครในบทพากยเ อราวณั เสด็จทรงรถแกว้ โกสยี ์ กรกุมพระขรรค์ จากหนังสอื เรียนและแหลง การเรยี นรู จะแข่งซ่งึ แสงสุรยิ ใ์ ส กกึ กอ้ งก�ากง ตา งๆ พัดโบกพชั นี เทยี มสนิ ธพอาชาไนย แตรสังขเ์ สียงประสม อธบิ ายความรู ชนั หรู ะเหิดหฤหรรษ์ เลือ่ นลน่ั สนน่ั ใน ออ่ นเอยี งเพยี งปลาย นักเรียนนาํ เสนอผลการวิเคราะห มาตลสี ารถเี ทวญั เนือ้ นกตกใจ วจิ ารณลักษณะนสิ ยั ของตวั ละคร ขบั รถมากลางจตั รุ งค์ หัสดนิ อินทรี ดังน้ี หกั ถอนพฤกษา เพลารอยพลอยประดับดุมวง แหลกล่ลู ม้ ลง • อนิ ทรชติ กระทบกระท่งั ธรณี เทวญั จันทรี • พระลักษมณ • สุครีพ มยรุ ฉัตรชุมสายพรายศร ี พรอ มยกตวั อยา งจากเรอ่ื งประกอบ กบร่ี ะบายโบกลม ใหเห็นเดน ชัด แลว บันทกึ ความรู ลงสมุด อึงอนิ ทเภรีตีระงม ประสานเสนาะในไพร ขยายความเขา ใจ เสียงพลโหร่ อ้ งเอาชัย นักเรียนพจิ ารณาลกั ษณะนสิ ยั ของ พภิ พเพียงทา� ลาย ตวั ละคร และนําเสนอหนา ชน้ั เรียน สัตภณั ฑบ์ รรพตท้งั หลาย • ในบทพากยเอราวณั ตวั ละคร ประนอมประนมชมชยั ตัวใดทคี่ วรนาํ มาเปนแบบอยา ง ในการปฏิบัติตน เพราะเหตุใด พสธุ าอากาศหวาดไหว (แนวตอบ นักเรยี นตอบได ซกุ ซ่อนประหวน่ั ขวัญหนี หลากหลาย ขึ้นอยูกับเหตุผล ของนักเรยี น) ลกู ครุฑพลัดตกฉมิ พล ี คาบชา้ งกว็ างไอยรา นักเรียนควรรู วานรสา� แดงเดชา พัชนี หมายถึง พดั ถอื ต่างอาวธุ ยทุ ธยง ไมไ้ หล้ยูงยางกลางดง ละเอยี ดดว้ ยฤทธิโยธี อากาศบดบงั สรุ ิยศ์ รี ทกุ ชน้ั อา� นวยอวยชยั นกั เรยี นควรรู 121 นกั เรยี นควรรู มยุรฉัตร คือ พนมหางนกยูง หรือเครื่องกั้นบังเปน สตั ภณั ฑบ รรพต คอื เขาสตั บรภิ ณั ฑ ชั้นๆ ทําดวยหางนกยูง เปนเคร่ืองสูงใชในงานพิธี หรือเขาสัตภัณฑ ตามคติความเช่ือ โสกนั ต (พธิ โี กนจกุ พระบรมวงศช น้ั พระองคเ จา ขน้ึ ไป) ทไ่ี ทยรบั มาจากอนิ เดยี เปน ภเู ขาทล่ี อ มเปน วงกลมรอบเขาพระสเุ มรุ เปนช้นั ๆ รวม 7 ชั้น สงู ลดหลน่ั กนั ลงมาตามลาํ ดบั ชื่อภเู ขาชั้นใน ท่ีสุดจากเขาพระสุเมรุออกมา คือ ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัสนะ เนมินธร วนิ ตกะ อัสกัณ ระหวางภเู ขาแตล ะชนั้ มีทะเลสที ันดรคั่น คูมอื ครู 121

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธบิ ายความรู (ยอจากฉบบั นักเรยี น 20%) ใหนกั เรียนแบง กลุมศึกษาคติ บ้างเปิดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลยั ความเชอื่ ทปี่ รากฏในบทพากยเ อราวณั ซอ้ งสาธุการบูชา แลว นําเสนอหนาชน้ั เรียน ชักรถรเ่ี รอ่ื ยเฉ่อื ยมา พ่มุ บษุ ปมาลา (แนวตอบ กงรถไมจ่ ดธรณนิ ทร์ 1. ความเชื่อในเรอ่ื งเทพเจา เน้อื หา เร่งพลโยธาพานรินทร ์ เร่งรดั หสั ดนิ และเร่ืองราวเก่ียวของกับพระ อิศวร พระพรหม พระนารายณ วานรใหเ้ ร่งรีบมา พระอินทร 2. ความเช่ือในเรื่องโชคลาง เมื่อ ฯ เจรจา หยุดทพั ฯ กองทัพของพระลักษมณพรอม จะออกสรู บ ไดม กี ารเปา แตรและ เม่ือนั้นพระศรอี นุชา เอ้อื นอรรถวัจนา สังข ทหารโหร องเอาฤกษเ อาชยั ตรสั ถามสคุ รพี ขุนพล 3. คติความเช่ือเร่ืองภูมิศาสตรโลก ท่ีรับมาจากคติของอินเดีย เชน เหตุไฉนสหสั นยั นเ์ สด็จดล สมรภมู ไิ พรสณฑ์ เขาสัตภัณฑ สวรรค วิมารฉิมพลี เธอมาด้วยกลอนั ใด เปนตน ) สุครพี ทลู ทดั เฉลยไข ทุกทีสหัสนัยน์ เสด็จด้วยหม่เู ทวา อวยชยั ถวายทิพมาลา บัดนี้เธอมา เหน็ วิปริตดูฉงน ขยายความเขาใจ ทรงเคร่อื งศสั ตราแย่งยล ฤๅจะกลบั เปน็ กล ใหนักเรยี นแสดงความคิดเหน็ คติ ไปเขา้ ด้วยราพณอ์ าธรรม์ ความเชอื่ เร่อื งเทพเจาในชีวติ ปจจบุ นั พระผู้เรอื งฤทธิแข็งขนั คอยดสู า� คญั • ในชมุ ชนของนกั เรยี นมีคติ อยา่ ไวพ้ ระทัยไพรี ความเช่ือเร่อื งเทพเจา ของ ศาสนาพราหมณห รือไม เมอ่ื นน้ั อินทรชติ ยักษ ี ตรสั สัง่ เสนี ใหจ้ ับระบ�าร�าถวาย • นักเรยี นเช่อื ในคตดิ งั กลา ว หรือไม เพราะเหตใุ ด ให้องคอ์ นุชานารายณ์ เคลบิ เคลมิ้ วรกาย (แนวตอบ ไมม ผี ิดถูก ครชู แี้ นะวา จะแผลงซึ่งศสั ตรศรพล ความเช่อื ดังกลาวเปน ความเช่ือ ฯ เจรจา ฯ สว นบุคคลไมค วรลบหลู และ ความเช่ือนกี้ ็เปนแรงบนั ดาลใจ อนิ ทรชติ สถิตเหนือเอรา วัณทอดทศั นา มคี ุณคา ท้ังการสรา งสรรคงาน เหน็ องค์พระลกั ษมณฤ์ ทธริ งค์ ศิลปะและจติ ใจดว ย) เคลิบเคล้มิ หฤทัยใหลหลง จึงจับศรทรง พรหมาสตร์อนั เรืองเดชา นักเรียนควรรู 122 ราพณ หมายถงึ ยกั ษ มักหมายถงึ เกรด็ แนะครู ทศกัณฐ ครูเพิ่มเติมความรใู หนกั เรยี นจากบทประพันธ “อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทศั นา นักเรียนควรรู เหน็ องคพ ระลักษมณฤทธิรงค” คาํ วา “เอราวัณ” ทีเ่ ขียนแยกกนั อยูคนละวรรคนนั้ ถอื วา เปน คําโทษ เรยี กวา คํายตั ภิ งั ค คอื คําไมหมดตรงที่กาํ หนดไวต ามฉันทลักษณ แตเ ลยไปวรรคหลัง ไพรี หมายถงึ ขาศกึ ศตั รู อาจมีหรอื ไมม เี ครือ่ งหมายยัติภังคค ั่นก็ได 122 คูม ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Expand Engage Evaluate ทนู เหนือเศยี รเกล้ายักษา หมายองค์พระอนุชา สาํ รวจคนหา กแ็ ผลงสา� แดงฤทธิรณ ใหน กั เรยี นคน หาศพั ทท ี่ควรรู เพ่มิ เตมิ จากบทพากยเ อราวัณ อากาศกอ้ งโกลาหล โลกลั่นองึ อล อธิบายความรู อา� นาจสะท้านธรณี 1. ใหน กั เรียนเลือกคาํ ศัพทจากบท ศรเต็มไปทั่วราศ ี ต้ององคอ์ ินทรยี ์ เรียนคนละ 5 คาํ บันทึกลงสมุด พระลกั ษมณก์ ก็ ลงิ้ กลางพล 2. แลกสมดุ กับเพอ่ื น แลว เขยี น ฯ เจรจา อนิ ทรชติ กลับทัพ ฯ อธบิ ายความหมายของคําศพั ท ฯลฯ ท่ีเพอ่ื นเลือก ๖ คÓศพั ท์ ความหมาย ขยายความเขา ใจ ค�าศพั ท์ สว่ นท่เี ป็นวงรอบของลอ้ รถ “กงรถไม่จดธรณนิ ทร”์ หมายความวา่ ลอยเลอื่ น ใหน ําคําศพั ทท ี่นกั เรียนเลอื กมา กง ไปในอากาศ ล้อรถไมส่ ัมผัสกับพื้นดิน แตงเปน คาํ คลองจองตอกันกับเพือ่ น ลิง ในทน่ี ้คี อื พลวานรในกองทัพของพระราม กบี่ หว่ งทเี่ กี่ยวกันส�าหรับ นกั เรียนควรรู กระวนิ โยงสัปคับช้าง (ที่นั่งบนหลงั ช้าง) องึ อล หมายถึง เซง็ แซ กายิน กาย กินนร เปน็ อมนษุ ย์ท่มี รี ูปร่างครงึ่ คนครึง่ นก ถา้ เปน็ หญิงเรียกวา่ กินรี กญุ ชร ช้าง เก้าแกว้ นพรัตน ์ คือ แกว้ เกา้ อยา่ ง ได้แก ่ เพชร ทับทมิ มรกต บษุ ราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทายและไพฑรู ย์ 123 @ มมุ IT ศกึ ษาเพิ่มเติมเกีย่ วกับภาพจิตรกรรมฝาผนังเรือ่ งรามเกียรติ์ หอ งที่ 76 ตอนอนิ ทรชติ ออกศกึ และแปลงกายเปน พระอนิ ทร http://www.era.su.ac.th/Marad/prasri/index.html คมู อื ครู 123

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธิบายความรู (ยอ จากฉบับนักเรยี น 20%) ครแู ละนกั เรียนรว มกนั แปล ค�าศพั ท์ ความหมาย ความหมายคาํ ศพั ทท ร่ี วบรวมเพมิ่ เตมิ โกมนิ แลว นักเรยี นบนั ทกึ ความรูลงสมดุ มาจากค�าว่าโกเมน หมายถงึ พลอยสีแดงเข้ม ขยายความเขาใจ คนธรรพ์ ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง เป็นบริวารท้าวธตรฐ มีความช�านาญในวิชาดนตรีและ ขบั ร้อง 1. ใหนักเรยี นใชจนิ ตนาการวาดภาพ จนั ทรี พระจันทร ์ ซง่ึ เปน็ เทพองค์หนงึ่ ในที่นี้ใช ้ จันทรี เพ่อื รบั สัมผัสกับ “สรุ ียศ์ ร”ี ประกอบคําศพั ททนี่ กั เรยี นคิดวา จับระบา� เร่ิมฟอ้ นร�า นาสนใจทสี่ ดุ ฉิมพลี ต้นง้ิว ตามเร่อื งเลา่ จากไตรภูมพิ ระร่วง ทเี่ ชิงเขาพระสุเมรุ มีป่าต้นงิ้วอย่รู อบ สระฉิมพลี เปน็ ท่อี าศยั ของฝงู ครุฑทง้ั หลาย 2. ใหนักเรียนเขียนพรรณนาภาพวาด ชนกั เครอื่ งผูกคอช้าง ทา� ด้วยเชอื กเป็นปมหรอื ห่วงหอ้ ยพาดลงมา เพือ่ ใหค้ นทขี่ ่คี อ ความยาว 5 บรรทดั ใช้หัวแม่เทา้ คบี กนั ตก ซองหาง เคร่อื งคลอ้ งโคนหางช้าง นักเรียนควรรู ดวงมาลย์ ดอกไม้ ตระพอง ส่วนทนี่ ูนเปน็ ป่มุ ๒ ข้างที่ศีรษะช้าง คนธรรพ ทง้ั หมดเปน เพศชาย ตาข่ายเพชรรตั น์ ตาขา่ ยร้อยโดยเพชรส�าหรับแต่งหัวชา้ ง คูกบั นางอัปสรซงึ่ เปนเพศหญงิ โตมร อาวธุ ส�าหรบั ซดั หอกซัด และเปน ชาวสวรรคเชน กนั ในตํานาน สามง่ามทม่ี ีปลอกรปู พระพุทธศาสนากลา ววา คนธรรพ เปน็ ใบโพสวมอยู่ เกิดจากตน ไมท่ีมีกลนิ่ หอม ถา ถลา โผลง 124 124 คูมอื ครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate คา� ศพั ท์ ความหมาย อธบิ ายความรู เทพอัปสร ธรณินทร์ นางฟ้า 1. ใหนักเรียนรวบรวมคําศพั ทใ น ตามศัพท์แปลวา่ ผู้เปน็ ใหญใ่ นแผน่ ดิน คา� ว่า ธรณ ี (แผ่นดิน) สมาสกับคา� ว่า บทประพันธต อนทีอ่ ินทรชติ กาํ ลงั ธบิ ดินทร์ อินทร ์ (ผู้เปน็ ใหญ)่ ค�าวา่ ธรณินทรใ์ นท่ีนใ้ี ช้เพอื่ ความไพเราะของบทประพนั ธ ์ แปลงกายเปนพระอนิ ทร นงพาล มคี วามหมายอย่างเดยี วกับธรณี หมายถึง แผ่นดิน นมิ ติ คือ อธิบดินทร ์ พระราชาผเู้ ปน็ ใหญ ่ หมายถึง พระราม 2. นักเรียนชวยกันหาความหมายของ บรรเทือง นางร่นุ สาว คําศัพทท่ีรวบรวมมา จากน้ันถอด บิดเบอื นกายนิ สรา้ ง แปลง ท�า คําประพันธบทที่อินทรชิตแปลง โบกขรณี ประเทอื ง ทา� ใหด้ ีขึน้ ในท่ีนี้หมายถงึ ตน่ื ขน้ึ กาย ผกา แปลงกาย ผ้าทิพย์ สระบัว ขยายความเขาใจ ดอกไม้ ในทีน่ ี้คอื ดอกบัว พรหมาสตร์ ปกติหมายถึง ผ้าที่ห้อยหน้าฐานพระพุทธรูปหรือหน้าราชอาสน์หรือพนัก ใหน ักเรียนเลอื กคาํ ศพั ทท นี่ ักเรียน พลับพลา ในท่ีนี้คอื ผ้าที่คลุมตระพองชา้ งเพอ่ื ตกแต่งให้สวยงาม สนใจนํามาสรา งประโยคจํานวน พระจักรี ศรทพ่ี ระอศิ วรประทานใหร้ ณพักตร์ซึ่งต่อมาคืออินทรชติ (ศรทีพ่ ระรามได้จาก 5 ประโยค ฤษวี ศิ วามติ รกช็ อ่ื พรหมาสตร ์ ทช่ี อื่ ซา�้ กนั เชน่ น ี้ เพราะพรหมาสตรเ์ ปน็ ชอื่ มนตร์ พระลักษมณ์ ท่ีใช้ชบุ ศรเม่ือชบุ แล้ว ศรนัน้ จงึ เรยี กว่า ศรพรหมาสตร์) นักเรียนควรรู ผู้ถือจกั ร คือ พระนารายณ์ ในทนี่ ้ีหมายถึง พระรามผูเ้ ปน็ อวตารปางหนึง่ ของ พระสรุ ยิ ศ์ รี พระนารายณ์ พรหมาสตร อา นวา พรม-มาด พัดโบก พระอนชุ าตา่ งพระมารดาของพระราม เปน็ โอรสนางสมทุ รชา เมอ่ื พระนารายณ์ เปนการสรางคาํ แบบสมาสอยาง อวตารลงมาเป็นพระราม สังขซ์ ึ่งเปน็ เทพอาวธุ ของพระนารายณ์และพญานาค มสี นธิ (พรหม + ศสั ตรา) ศัตรา พานรินทร์ ซงึ่ เปน็ บลั ลงั ก์ของพระนารายณ์กล็ งมาเกิดเปน็ พระลกั ษมณ์คบู่ ญุ ของพระราม มีความหมายวา อาวธุ พระอาทติ ย์ เครอื่ งสงู ชนดิ หนงึ่ แสดงถงึ อสิ รยิ ยศ เปน็ พดั สา� หรบั โบกลมถวายพระมหากษตั รยิ ์ ซึง่ ประทับ ณ ทสี่ งู ในท่ีนี้ใช้เพื่อความไพเราะของบทประพันธ์ มีความหมายอย่างเดียวกับพานร หมายถึง พลวานรในกองทพั พระราม 125 คมู ือครู 125

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธิบายความรู คา� ศพั ท์ (ยอจากฉบบั นกั เรยี น 20%) มยรุ ฉตั ร ใหน กั เรียนพิจารณาคําไวพจนท ี่ มาตลี ความหมาย ปรากฏในบทพากยเ อราวัณ มารยา แยง่ ยล เครื่องสงู สา� หรับแสดงอิสริยยศ เปน็ เคร่ืองกนั้ บังเป็นชนั้ ๆ ทา� ด้วยหางนกยูง • คาํ ไวพจนในเร่ืองน้ไี ดแกคาํ ใด เยาวมาลย์ มาตลเี ปน็ ชือ่ สารถีของพระอินทร์ มาขบั รถทรงใหพ้ ระราม บา ง และมคี วามหมายอยางไร โยธาจัตุรงค์ การแสรง้ ทา� การล่อลวง (แนวตอบ คาํ ไวพจนใ นบทพากย รถแกว้ โกสยี ์ แยงยล หมายความว่า มองดู เอราวัณ เชน คําท่มี คี วามหมาย รอย หญิงสาวสวย วา “งาม” ไดแกคําวา แยง ยล ระเหดิ กองทพั ๔ เหลา่ ไดแ้ ก ่ เหลา่ ชา้ ง เหลา่ มา้ เหลา่ รถ และเหลา่ ราบ (พลเดนิ เทา้ ) ลาํ เพา คําท่ีมคี วามหมายถึง ราพณ์ รถทรงทีพ่ ระอนิ ทร์ (โกสยี ์) ประทานใหพ้ ระรามพร้อมสารถ ี ชื่อ มาตลี หญงิ สาวสวย เชน คาํ วา ราศี เปน็ ลวดลาย ในความวา่ “เพลารอยพลอยประดับดุมวง” นงมาล เยาวมาลย) สูงตระหงา่ น ร้พี ล ทศกัณฐ์ • ทําไมในบทพากยเอราวัณจึง ฤทธริ งค์ ในที่นีห้ มายถึง ทวั่ ไป “ศรเต็มไปทัว่ ราศ”ี หมายความวา่ ศรทอ่ี นิ ทรชติ แผลง มีการใชคําไวพจน ฤทธิรณ ไปน้นั กระจายท่ัวไปในทอ้ งฟ้า (แนวตอบ เพราะบทพากย ฤๅษิต กระบวนทหาร กองทพั เอราวณั มลี กั ษณะเดน ตรงทใี่ ช ลา� เพา ความสามารถในการรบ (รงค แปลว่า สนามรบ) การพรรณนาโวหารตลอดเรอื่ ง โลทนั ความสามารถในการรบ (รณ แปลวา่ การส้รู บ) การใชค าํ ไวพจนจึงทําใหก าร วทิ ยา มาจาก “ฤๅษิตวิทยา” หมายถึง ผูร้ ู้อาคม พรรณนาใชคําไดหลากหลาย โฉมงาม โดยไมเสยี ความ) เวไชยันต์ เปน็ ชื่อสารถขี องอนิ ทรชติ เปน็ พลยักษก์ รุงลงกาผ้ขู บั รถศึกในครั้งตา่ งๆ มาจาก วทิ ยาธร หมายถงึ เทพบุตรพวกหนึง่ มฐี านะตา่� กวา่ เทวดา มหี นา้ ทเี่ ล่น ขยายความเขาใจ 126 ดนตรีบนสวรรค์ เวชยันต์หรือไวชยันต์ เป็นช่ือวิมานและรถทรงของพระอินทร์ ในสวรรค์ช้ัน 1. ใหนกั เรียนหาคําไวพจนของคําวา ดาวดึงส์มีเมืองไตรตรึงษ์ของพระอินทร์ เมืองไตรตรึงษ์มีวิมานใหญ่งดงามช่ือ เยาวมาลย จาํ นวน 10 คํา ไพชยนต์ หรอื ไวชยันต์ หรอื เวชยนั ต ์ เม่ือพระอนิ ทรป์ รารถนาจะเสดจ็ ไปทใี่ ด เชน นงคราญ วนิดา อรทัย วิมานนีก้ ็จะเปลีย่ นเปน็ พาหนะทรง 2. ยกคําประพนั ธจ ากวรรณคดี เรือ่ งอืน่ ๆ มา 3 คําประพนั ธ ทมี่ ี คาํ ไวพจนเ หมือนท่นี ักเรียนหามา 3. ใหนักเรยี นคนหาคาํ ศัพทใ น วรรณคดีไทยที่มีความหมายวา “ชาง” (แนวตอบ ตัวอยา งเชน กรี (กะร)ี กญุ ชร กรินทร คช คชา คชาธาร มาตงค คชสาร คเชนทร วารณะ สินธรุ ะ หตั ถี หสั ดิน ทนดี พารณ พารณะ) 126 คูมือครู

กระตุน ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate ค�าศพั ท์ ความหมาย อธิบายความรู เวหน สมรภูมิ ทอ้ งฟา้ 1. นักเรยี นชวยกนั รวบรวมคําท่แี สดง สร้อยสุมาลี สนามรบ อาการเคล่ือนไหว นําเสนอหนา สหสั นัยน์ ดอกไม้ ชนั้ เรียนคนละ 1 คาํ พรอ มอธิบาย สัตภัณฑ์ พันตา หมายถึง พระอนิ ทร์ ความหมาย ชอื่ หมู่เขา ๗ ชัน้ ทล่ี ้อมรอบเขาพระสุเมรุ ไดแ้ ก่ ยุคนธร อสิ นิ ธร กรวิก สุบรรณ สุทสั นะ เนมินธร วินตกะ และอสั กณั 2. บนั ทึกคําศัพทท่ีนกั เรยี นและเพอื่ น ครุฑ เป็นพาหนะของพระนารายณ์ นาํ เสนอลงสมุดของนักเรียน ขยายความเขาใจ ใหน กั เรียนจบั คูนําคําศพั ทท ี่แสดง การเคล่อื นไหว 1 คํา มาแตง บท ประพนั ธตามความสนใจของ นกั เรียน 1 บท อมรนิ ทร์ พระอนิ ทร ์ กายมสี เี ขียว เป็นเทพสงู สดุ บนสวรรคช์ ้ันดาวดงึ ส์ นกั เรียนควรรู อปั สร อารักษ์ นางฟ้า ครุฑ มีฉายานามหลายช่ือ แตที่ อินทเภรี รจู กั กนั มากคือ “เวนไตย” (เวนเตยะ) เทพารักษ ์ เทวดาผ้พู ทิ ักษ์ แปลวา ลูกนางวินตา เปนช่ือเรียก อินทรชิต พญาครุฑในนิทานเร่ืองกากีคํากลอน กลองที่ใช้ตีให้สัญญาณในกองทัพเวลาออกศึกในสมัยโบราณ เช่น ตีบอกให้ ช่ือ “สุบรรณ” แปลวาผูมีขนสีทอง ถอย ให้หยุด เป็นต้น งามรุงเรือง และ “วิษณุรถ” แปลวา พาหนะของพระวิษณุ ยักษ์ตนหนง่ึ ชอื่ เดมิ คอื รณพักตร์ เป็นโอรสของทศกัณฐ์ กับนางมณโฑ อนิ ทรชิต แปลวา่ รบชนะพระอินทร์ เอราวัณ เป็นเทพบตุ รองค์หนึง่ จะเนรมติ เป็นชา้ งทรง เมอ่ื พระอนิ ทรเ์ สดจ็ 127 คูม ือครู 127

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate กระตุน ความสนใจ (ยอจากฉบบั นักเรียน 20%) ครชู วนนักเรยี นสนทนา ครถู าม ๗ บทวิเคราะห์ นักเรียนวา ๗.๑ คณุ คา่ ดา้ นเนอื้ หา • การที่รณพักตรไดพรและ ศรวเิ ศษจากเทพท้งั สามนั้น เอราวัณเป็นชา้ งทรงของพระอนิ ทร์ มีกายสีขาว มเี ศียร ๓๓ เศยี ร ในไตรภมู ิพระร่วงมีการ นักเรียนวา ดหี รือไม พรรณนาถงึ ชา้ งเอราวณั เมอื่ พระอนิ ทรเ์ สดจ็ ลงมาสรา้ งเมอื งอโยธยาในเรอ่ื งรามเกยี รตก์ิ ม็ บี ทพรรณนา ถึงช้างเอราวัณ โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงบรรยายเหตุการณ์ตอนที่อินทรชิต • ถา นักเรียนเปนรณพักตรไ ด แปลงกายเป็นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณยกทัพไปรบกับพระราม ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทพากย ์ ครอบครองพรและศรวิเศษ โดยใช้กาพย์ฉบงั ๔๐ บท ดา� เนินเรื่องตง้ั แต่อนิ ทรชติ แปลงกายเปน็ พระอนิ ทร์ จนถึงสามารถแผลงศร จากเทพทงั้ สาม นกั เรียนจะทํา พรหมาสตร์ถกู พระลักษมณไ์ ด้ การใช้กาพย์ฉบัง ๑๖ ให้ความร้สู กึ โออ่ ่าเหมาะแกก่ ารใช้เป็นบทพากย์ อยา งไร บทพากย์เอราวัณใช้ประกอบกระบวนร�าในการเล่นโขน จุดเด่นของเรื่องจึงไม่อยู่ที่เน้ือเร่ือง การด�าเนินเร่ืองราวและการเล่าเรื่องมีขนาดสั้น แต่จะเน้นการพรรณนาความเคล่ือนไหวอันอ่อนช้อย สาํ รวจคนหา ของตวั ละคร การพรรณนากระบวนทพั เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ ความยิ่งใหญอ่ ลังการในศกึ ครง้ั นี้ วรรณคดเี รอ่ื งนแ้ี มไ้ มเ่ ดน่ ดา้ นเนอ้ื เรอื่ ง แตก่ ท็ รงคณุ คา่ ในประวตั คิ วามเปน็ มา บทพากยเ์ อราวณั ใหน ักเรยี นคน หาเกย่ี วกับพรและ เป็นตอนหน่ึงของเรื่องรามเกียรต์ิที่มีมาต้ังแต่สมัยอยุธยา โดยน�าเนื้อเรื่องมาแต่งเป็นบทส�าหรับการ ศรวิเศษท่ีรณพักตรไดค รอบครอง แสดงมหรสพการเล่นหนังใหญ่และโขน ประวัติความเป็นมาอันยาวนานท�าให้ผู้อ่านมองเห็นร่องรอย ทางความคดิ ของกษตั รยิ ใ์ นชว่ งการผลดั เปลย่ี นรชั สมยั เมอ่ื ครง้ั ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ า- • พรและศรวเิ ศษทรี่ ณพักตรได โลกมหาราชสถาปนากรุงรตั นโกสินทร์ทรงโปรดเกล้าฯ ใหก้ วฟี ้นื ฟบู ทละครเรอื่ งรามเกยี รติ์ เพอ่ื ใชใ้ น ครอบครองมีอะไรบา ง และ การแสดงละครสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราช- แตล ะอยา งใครเปน ผปู ระทาน นพิ นธบ์ ทพากย์เอราวณั บทพากยน์ างลอยและบทพากย์นาคบาศ และรัชกาลตอ่ ๆ มาทรงพระราช- ใหร ณพักตร นิพนธ์อีกหลายส�านวน ท�าให้เห็นได้ว่ามีการสานต่อวรรณคดีเร่ืองนี้ในฐานะที่เป็นราชูปโภคของ (แนวตอบ รณพกั ตรไ ดร ับ กษัตริย์ กษัตริย์ไทยทรงใช้วรรณคดีในการสร้างเอกลักษณ์ความเป็นชาติ สงครามในรามเกียรต์ิน้ัน ศรพรหมาสตรและพรในการ ย่ิงใหญ่เทียมเท่าเกียรติยศของราชาผู้ปกครองประเทศ รามเกียรต์ิจึงเป็นวรรณคดีคู่บ้านคู่เมืองและ แปลงกายเปน พระอนิ ทรจาก เป็นสญั ลกั ษณ์แห่งความยิง่ ใหญ่แสดงบญุ ญาบารมขี องพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย พระอิศวร ไดร บั ศรนาคบาศ จากพระพรหม และไดร บั ศร ๗.๒ คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ วษิ ณปุ าณัมจากพระนารายณ) บทพากย์เอราวัณ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีลักษณะ อธิบายความรู เฉพาะทางด้านวรรณศิลป์ที่งดงาม แสดงให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวของตัวละครและรายละเอียดของ ฉากมากกว่าการด�าเนินเรื่องหรือการเล่าเรื่อง วรรณศิลป์ของบทพากย์เอราวัณจะปรากฏชัดเจนใน นกั เรยี นอภิปรายรว มกันวา บทพรรณนา อนั สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถทางภาษาของกวี ดังนี้ • เหตุใดอินทรชิตจึงตองแปลงกาย 128 เปนพระอินทรทรงชางเอราวัณไป ลวงฝายพระราม ทั้งๆ ที่อินทรชิต ก็มีฝม อื ในการรบ (แนวตอบ เพราะอินทรชิตเหลือ เพียงศรวเิ ศษพรหมาสตร ซงึ่ มี ฤทธิแ์ ปลงกายเปนพระอนิ ทรได) ขยายความเขา ใจ ใหนักเรียนเลือกบทประพันธตอน ท่ีนักเรียนประทับใจจากบทพากย เอราวณั พรอมอธบิ ายเหตผุ ล แลว วาดภาพตามจนิ ตนาการ 128 คูม อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate ๑) การใช้โวหาร ความโดดเด่นด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีทุกเร่ือง นอกจากการ อธิบายความรู เลือกใช้ถ้อยค�าเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกแล้ว กวียังใช้ถ้อยค�าเพื่อสร้างจินตภาพหรือสร้างภาพ ใหเ้ กิดข้ึนแกผ่ อู้ า่ นอกี ด้วย ซง่ึ บทพากยเ์ อราวณั กวไี ดเ้ ลือกใช้ถอ้ ยคา� เพ่ือสรา้ งภาพโดยพรรณนาโวหาร ใหนกั เรยี นตอบคําถามเกี่ยวกบั ให้เห็นภาพของชา้ งเอราวัณ ดังบทประพันธ์ การใชโ วหารในบทพากยเ อราวัณ ดังตอไปนี้ ช้างนริ มติ ฤทธแิ รงแข็งขัน เผือกผอ่ งผวิ พรรณ • การใชโ วหารพรรณนามีความ สสี ังข์สะอาดโอฬาร์ เศยี รหนึ่งเจ็ดงา สระหนึ่งยอ่ มมี เหมาะสมกับการดําเนินเรอื่ ง สามสบิ สามเศยี รโสภา ดอกหนึง่ แบง่ บาน อยางไร ดังเพชรรัตนร์ จู ี เจด็ องค์โสภา (แนวตอบ การพรรณนาทาํ ใหการ อีกเจ็ดเยาวมาลย์ ดําเนนิ เรื่องมคี วามชดั เจน ผอู าน งาหนึ่งเจด็ โบกขรณี ชา� เลืองหางตา เกดิ จิตนภาพคลอ ยตาม) เจด็ กออุบลบนั ดาล ทกุ เกศกุญชร ขยายความเขา ใจ กอหนึง่ เจด็ ดอกดวงมาลย ์ มกี ลบี ได้เจ็ดกลีบผกา 1. ใหน กั เรียนเลอื กบทประพนั ธท ี่ นักเรียนประทบั ใจ แลว วิเคราะห กลบี หนึ่งมเี ทพธิดา วามีวรรณศลิ ปอ ยางไร แนง่ น้อยล�าเพานงพาล 2. ครสู ุมนกั เรียนออกมานาํ เสนอ นางหนึ่งย่อมมีบรวิ าร หนาชั้นเรียน ลว้ นรูปนิรมติ มายา เกรด็ แนะครู จบั ระบ�าร�าร่ายสา่ ยหา ท�าทีดงั เทพอปั สร ครบู รู ณาการความรกู บั วชิ า คณติ ศาสตร จากบทพรรณนาราย มวี ิมานแกว้ งามบวร ละเอียดของชา งเอราวัณเศยี รหน่ึง ดงั เวไชยนั ตอ์ มรนิ ทร์ มี 7 งา งาหนึง่ มี 7 สระ สระหน่งึ มี กอบัว 7 กอ กอหนง่ึ มดี อกบัว 7 ดอก จากบทประพันธ์กวีใช้ถ้อยค�าพรรณนาให้เห็นภาพของช้างเอราวัณที่มีกายสีขาวเหมือน ดอกหนึ่งมี 7 กลบี กลีบหน่ึงมีนางฟา สีสังข์ มีเศียรงามถึง ๓๓ เศียร โดยแต่ละเศียรมีงา ๗ กิ่งที่มีความสวยงามแวววาวเหมือนเพชร รา ยราํ อยู 7 องค แตละองคม บี รวิ าร ที่งาแต่ละกิ่งมสี ระบัว ๗ สระ แตล่ ะสระมกี อบัว ๗ กอ แต่ละกอมีดอกบัว ๗ ดอก แตล่ ะดอกมีกลีบ เปนหญิงงาม 7 คน ใหน ักเรียนคิดหา บัวบาน ๗ กลบี แต่ละกลบี มีนางฟา้ หรือนางอัปสรรูปงาม ๗ องค ์ แตล่ ะองคม์ ีบริวารทเ่ี ป็นหญิงงาม คาํ ตอบ คาํ นวณหญิงงามมจี าํ นวน ๗ นาง แสดงอากปั กริ ยิ ารา่ ยรา� ดว้ ยทา่ ทางเหมอื นนางฟา้ ทเี่ ศยี รชา้ งทกุ เศยี รมบี ษุ บกวมิ านงดงามราวกบั 3,882,417 องค วมิ านเวไชยันตข์ องพระอินทร์ นอกจากน ้ี ยังปรากฏบทพรรณนาท่สี ร้างจินตภาพให้เกิดขนึ้ แกผ่ ้อู า่ น เม่ือได้อ่านมาถงึ ตอนท่ีอนิ ทรชิตจะยกกองทพั ไปรบกับพระราม ดังบทประพันธ์ 129 คูมือครู 129

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate ขยายความเขาใจ (ยอ จากฉบับนกั เรียน 20%) ใหน กั เรยี นยกคาํ ประพนั ธท นี่ กั เรยี น บรรดาโยธาจัตรุ งค์ เปล่ยี นแปลงกายคง คดิ วาแสดงความยง่ิ ใหญท ี่สดุ ของ เปน็ เทพไทเทวัญ ทพั หลังสุบรรณ ชา งเอราวัณ พรอมทง้ั บอกเหตุผล สนบั สนุนความคิด ทัพหนา้ อารกั ษ์ไพรสัณฑ์ กินนรนาคนาคา เกร็ดแนะครู ปีกซา้ ยฤๅษิตวิทยา คนธรรพ์ปีกขวา ต้งั ตามตา� รบั ทัพชัย โตมรศรชัย ครชู วนนกั เรียนทํากจิ กรรมจาก รบี เรง่ ร้ีพล โคลงประจาํ ภาพอินทรชิตออกศึก ลว้ นถืออาวุธเกรยี งไกร และแปลงกายเปนพระอนิ ทรที่สมเด็จ พระขรรค์คทาถว้ นตน พระเจาบรมวงศเ ธอเจาฟามหามาลา กรมพระยาบําราบปรปกษท รงนพิ นธ ลอยฟ้ามาในเวหน ไวที่วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม โดย มาถงึ สมรภมู ชิ ยั รวมกันถอดคาํ ประพนั ธ ฯ เจรจา ฯ @ มมุ IT จากบทประพันธ์กวีเลือกใช้ถ้อยค�าพรรณนา เพ่ือให้ผู้อ่านมองเห็นภาพกองทัพของ อนิ ทรชติ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความยงิ่ ใหญแ่ ละความพรอ้ ม ซงึ่ อนิ ทรชติ ไดแ้ ปลงกายเปน็ พระอนิ ทร ์ แปลงกาย ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกบั ขอมูล ทหารท้ังสี่เหล่าของตนให้เป็นเทพและอมนุษย์ผู้มีฤทธิ์ การจัดกระบวนทัพเป็นไปตามต�าราสงคราม และภาพประกอบชางเอราวัณ ไดท ่ี ทหารทุกนายมีอาวุธพร้อมส�าหรับการท�าศึก การจัดกระบวนทัพเป็นดังน้ี เทพารักษ์ประจ�าทัพหน้า http://www.himmapan.com/ ครุฑ กนิ นรและนาค ท้งั สามประจา� ทพั หลัง วทิ ยาธรประจ�าปกี ซา้ ย สว่ นคนธรรพป์ ระจ�าปีกขวา thai/himmapan_elephant_ กวีใช้ถ้อยค�าเพื่อพรรณนาให้ผู้อ่านมองเห็นภาพของธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ดัง erawan.html บทประพันธ์ เมือ่ น้นั จึงพระจกั รี พอพระสุรยิ ศ์ รี อรุณเรอื งเมฆา ลมหวนอวลกลน่ิ มาลา เฟื่องฟุ้งวนา บรู ณาการสอู าเซยี น นวิ าสแถวแนวดง ร่อนราถาลง ผง้ึ ภ่หู มูค่ ณาเหมหงส ์ บทพากยเอราวัณเปนตอนหนึง่ แทรกไซ้ในสร้อยสุมาลี ของเรอื่ งรามเกยี รต์ทิ ี่รัชกาลท่ี 2 ดุเหวา่ เร้าเรง่ พระสรุ ิย์ศร ี ไกข่ นั ปกี ตี ทรงปรบั ปรุงใหเปน การละครไทยท่ี มาตรฐานสูงข้นึ ซึ่งทรงคณุ คาย่งิ แก ก่กู ้องในท้องดงดาน การละครไทย และเนอ่ื งในโอกาส มหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา7รอบ ปกั ษาตนื่ ตาขนั ขาน หาคูเ่ คยี งประสาน สา� เนียงเสนาะในไพร พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร- 130 มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช 5 ธนั วาคม 2554 กระทรวงวฒั นธรรม ไดบ รู ณาการ ความรวมมือกับประเทศสมาชกิ อาเซียนจัดการแสดงมหกรรมรามายณะนานาชาตขิ น้ึ โดยเสนอแนวคิดหลักในการจดั งานเพือ่ สงเสรมิ ความเขา ใจดานศลิ ปวัฒนธรรมรวมกนั ระหวางประเทศในภมู ิภาคอาเซยี น และเพอ่ื เฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช โดยนาํ มหากาพยเรอื่ งรามายณะ หรอื ที่ชาวไทยรจู ักกนั ในชื่อรามเกยี รต์ิ อนั เปน วรรณกรรมซึ่งถอื เปน มรดกทางวัฒนธรรมทห่ี ลายประเทศในภูมิภาคอาเซียนรจู ัก และมีการนําเร่ืองน้ี มารอ ยเรยี งจดั เปนการแสดงมหกรรมรามายณะนานาชาติ โดยเชิญประเทศอนิ เดียซ่งึ เปน ตนกาํ เนิดของมหากาพยร ามายณะเขารวมแสดงดวย เพ่ือเปด โอกาสใหป ระชาชนชาวไทยไดช มการแสดงรามายณะอนั หลากหลายจากนานาประเทศซ่งึ ผสมผสานไปดว ยความแตกตางและความคลา ยคลึง 130 คูมอื ครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate เดือนดาวดบั เศร้าแสงใส สรา่ งแสงอโณทยั ขยายความเขาใจ ก็ผา่ นพยับรองเรอื ง ธิบดนิ ทร์เธอบรรเทือง ใหน กั เรยี นเขยี นความเรยี งพรรณนา จบั ฟ้าอากาศแลเหลอื ง ถงึ ชางเอราวณั ตามจนิ ตภาพของ บรรทมฟ้นื จากไสยา นกั เรียน ความยาว 10 บรรทัด ฯ เจรจา ฯ เกร็ดแนะครู จากบทประพนั ธ์นี ้ กวเี ลือกใชถ้ อ้ ยคา� เพอ่ื สร้างภาพในจนิ ตนาการของผ้อู า่ น พรรณนา ให้เห็นบรรยากาศยามเช้าเม่ือพระรามต่ืนจากบรรทมได้ทอดพระเนตรธรรมชาติยามเช้า แมลงและ ครชู ใี้ หน กั เรยี นเหน็ วา วรรณคดไี ทย ผ้ึงออกหาอาหาร นกนานาชนิดที่ส่งเสียงร้องก้องแนวป่า ท้ังเดือนและดวงดาวต่างดับแสงลงเม่ือ ตั้งแตยุครัชกาลท่ี 2 ซึ่งมีสุนทรภูเปน แสงอาทติ ยโ์ ผล่พน้ ขอบฟ้า กวีเอกประจํารัชสมัย นิยมใชกลอน ส่วนบทพรรณนากองทัพของพระรามยังได้สร้างจินตภาพความคึกคักของการจัด สุภาพประพนั ธรอยกรอง และนิยมใช กระบวนทัพ มกี ารใช้ค�าขยายใหเ้ กิดความโออ่ ่างดงาม สัมผัสในอยางนอย 1 คูในวรรค เมื่อ ประพนั ธร อ ยกรองดว ยฉนั ทลกั ษณอ นื่ อึงอินทเภรตี รี ะงม แตรสงั ข์เสยี งประสม กวจี งึ ยงั นยิ มใหม เี สยี งสมั ผสั ในภายใน ประสานเสนาะในไพร เล่ือนลั่นสนนั่ ใน วรรคดวยเสมอ อ่อนเอียงเพยี งปลาย เสยี งพลโหร่ ้องเอาชัย เนือ้ นกตกใจ นักเรยี นควรรู พิภพเพียงท�าลาย หสั ดนิ อนิ ทรี หักถอนพฤกษา ฉิมพลี หรือสิมพลี สันนิษฐานวา สตั ภณั ฑบ์ รรพตทง้ั หลาย นาจะปรากฏในวรรณคดีไทยเปน ประนอมประนมชมชยั คร้ังแรกในไตรภูมิพระรวง ท่ีกลาววา โลหสิมพลีนรก เปนนรกบาวคํารบ 15 พสุธาอากาศหวาดไหว ทางนรกใหญที่ช่ือสัญชีพนรก ตอมา ซุกซอ่ นประหวัน่ ขวญั หนี “สิมพลี” ปรากฏในกากีกลอนสุภาพ ของเจา พระยาพระคลงั (หน) กลา วถงึ ลกู ครฑุ พลดั ตกฉิมพลี สมิ พลวี า เปน วมิ านทอ่ี ยขู องพญาครฑุ คาบช้างกว็ างไอยรา และเปน ทคี่ บชสู ชู ายของนางกากแี ละ นาฏกุเวรคนธรรพ ที่มาของชื่อวิมาน วานรสา� แดงเดชา สิมพลีนี้ คงเพราะตองการแนะวาผูท่ี ถือตา่ งอาวุธยุทธยง ประพฤติผิดในกามจะตองตายไปตก อยูในโลหสิมพลีนรก ดังนั้น “สิมพลี” จากบทประพันธ์น้ีได้แสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของกองทัพของพระราม รวมถึงบุญ- จงึ เปน ทงั้ ชอ่ื นรกและวมิ านในดนิ แดน ญาธิการของพระองค์ ซ่ึงความยิ่งใหญ่และเสียงโห่ร้องเอาฤกษ์เอาชัยในครั้งนี้สร้างความอกสั่นขวัญ ท่ีหา งไกลมนุษย หายใหก้ บั บรรดาสัตวป์ า่ และนกนานาชนดิ แมก้ ระท่ังนกหัสดลี ิงคท์ ีก่ า� ลงั คาบชา้ งอย่ยู งั ตกใจจนปลอ่ ย ช้างออกจากปาก พลทหารวานรต่างพากนั ฮึกเหมิ หกั โคน่ ตน้ ไมม้ าเปน็ อาวธุ พรอ้ มรบ 131 คูม ือครู 131

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธิบายความรู (ยอจากฉบบั นกั เรยี น 20%) ใหนกั เรยี นอธิบายการใชภ าพพจน ๒) การใช้ภาพพจน์ บทพากย์เอราวัณพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ- ในบทพากยเอราวณั เลศิ หลา้ นภาลยั ปรากฏลกั ษณะการใชภ้ าพพจน์เพอื่ สรา้ งจินตนาการให้แกผ่ ู้อา่ น ผ้ฟู ัง ดังตอ่ ไปนี้ • นักเรยี นพบโวหารภาพพจน ๒.๑) อติพจน์ คือการกล่าวเกนิ จรงิ วรรณคดีไทยกวมี กั เลอื กใชโ้ วหารอตพิ จน์หรือ ชนิดใดบาง การกล่าวเกินจริงในเร่ืองท่ีต้องการให้ผู้อ่านสัมผัสความยิ่งใหญ่ ซ่ึงวรรณคดีเรื่องบทพากย์เอราวัณ (แนวตอบ พบการใชภาพพจน อตพิ จนแ ละบคุ คลวัต) ปรากฏลกั ษณะเชน่ น้ี ดงั บทประพนั ธ์ • การใชโ วหารภาพพจนช นิดนัน้ เสียงพลโหร่ อ้ งเอาชัย เลือ่ นล่ันสนั่นใน สงผลตอเรื่องอยางไรบา ง พิภพเพียงทา� ลาย (แนวตอบ การใชโวหารภาพพจน อติพจน และบุคคลวัตท้ังหมดนี้ จากบทประพันธ์ดังกล่าว กวีได้ใช้อติพจน์ซ่ึงเป็นการเปรียบเทียบเกินจริงเพ่ือ ทาํ ใหผ อู า นสรา งภาพในจนิ ตนา- การไดช ดั เจน แสดงความยง่ิ ใหญ กล่าวว่า เม่ือกองทัพของพระลักษมณ์จะสู้รบกับกองทัพของอินทรชิตได้มีการเปล่งเสียงโห่ร้องของ และสมจริง และการใชคําซ้ํา ทาํ ใหเกิดเสียงไพเราะ เชน เศียร ทหาร ซึ่งการโห่รอ้ งในครงั้ นี้ท�าให้เกิดเสียงดังราวกบั ว่าจะทา� ให้โลกพังทลายย่อยยบั ลง หนึ่งเจ็ดงา งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี เจด็ กออบุ ลบนั ดาล เปน ตน ) แมบ้ ทประพนั ธน์ จี้ ะปรากฏคา� วา่ “เพยี ง” ซงึ่ เปน็ คา� ทใี่ ชใ้ นการเปรยี บเทยี บ (อปุ มา) แตห่ ลกั การใชค้ า� เปรยี บเทยี บจะตอ้ งมตี วั เทยี บเพอื่ ใหเ้ หน็ ความเหมอื นระหวา่ งสองสง่ิ วรรคทวี่ า่ “พภิ พ ขยายความเขาใจ เพยี งทำ� ลำย” จะไมเ่ หน็ การเปรยี บเทยี บพภิ พกบั สงิ่ ใด ในทนี่ กี้ ารใชค้ า� วา่ “เพยี ง” จงึ ใหค้ วามหมายวา่ ราวกับโลกจะถูกทา� ลายให้พินาศยอ่ ยยับ เปน็ การเพิม่ กระบวนจินตภาพให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธ ทมี่ กี ารใชภ าพพจนแ ละเสยี งสมั ผสั ใน ๒.๒) บุคคลวัต คือการสมมติหรือก�าหนดให้สิ่งไม่มีชีวิตสามารถแสดงอากัปกิริยา ทชี่ ว ยใหก ารอา นมคี วามไพเราะ ได้เช่นเดียวกับส่ิงมีชีวิต เช่น ฟ้าร้องไห้ ภูเขายกมือไหว้ เป็นต้น บทพากย์เอราวัณใช้บุคคลวัต (แนวตอบ เชน การใชภ าพพจน ดงั บทประพนั ธ์ บคุ คลวัต สตั ภณั ฑบ์ รรพตท้งั หลาย ออ่ นเอียงเพยี งปลาย สัตภณั ฑบ รรพตท้ังหลาย ประนอมประนมชมชัย ออ นเอียงเพียงปลาย ประนอมประนมชมชัย จากบทประพนั ธก์ วไี ดส้ มมตใิ หภ้ เู ขาทง้ั หลายแสดงอากปั กริ ยิ าของมนษุ ย ์ คอื อาการ เปน ตน ) พนมมือไหว้ เกรด็ แนะครู ๓) การเลน่ เสยี ง ในวรรคแรกของเกอื บทกุ บททกี่ ลา่ วถงึ ชา้ งเอราวณั จะมเี สยี งสมั ผสั ใน ซ่ึงปรากฏท้งั สัมผสั อักษรและสมั ผัสสระ ช่วยให้การอ่านหรอื การพากยม์ ีความไพเราะขน้ึ เช่น ครูแนะนํานักเรียนวา นอกจาก ภาพพจนอติพจนท่ีเปนการกลาวเกิน “อินทรชิตบิดเบือนกายิน” จริง เพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพถึง ความย่ิงใหญมากสุดประมาณแลว เสียงสมั ผสั ใน คอื ชิต - บดิ (สัมผสั สระ) บิด - เบือน (สมั ผัสอักษร) ยังมีภาพพจนอวพจน ซึ่งเปนการ กลาวเปรียบเทียบใหนอยเกินจริง 132 เปนการเนนใหเห็นความไมสําคัญ นอยนิด เชน บานของเขาเล็กกวา รูหนู เปน ตน 132 คมู อื ครู

กระตุน ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate “ชา้ งนมิ ิตฤทธิแรงแข็งขนั ” อธบิ ายความรู เสยี งสมั ผสั ใน คอื มติ ร - ฤทธ ิ์ (สัมผัสสระ) ฤทธ ิ - แรง (สัมผัสอักษร) ใหน กั เรียนรวมกนั อภปิ รายวา ๗.๓ คณุ คา่ ดา้ นสงั คมและสะทอ้ นวถิ ไี ทย • ในสงั คมไทยมีความเช่ือหรือ บทพากย์เอราวัณเป็นวรรณคดีที่นับได้ว่ามีความโดดเด่นทางด้านวรรณศิลป์อย่างเด่นชัด ทศั นคติอยา งไรตอชา งเอราวัณ และในขณะเดียวกันยงั ไดส้ ะท้อนให้เหน็ สภาพสังคมของสมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น ดงั ต่อไปน้ี (แนวตอบ คนไทยมีคานิยมยกยอง ชาง เพราะเปนสตั วใหญม พี ลงั ๑) ความเชื่อในเรื่องเทพเจ้า ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เพราะเน้ือหาและเรื่องราว เปนสัญลักษณของชาติ และถือวา ล้วนมคี วามเกี่ยวข้องกับพระอศิ วร พระพรหม พระนารายณ ์ พระอนิ ทร ์ บทพากย์เอราวณั ได้สะทอ้ น ชา งเปน สตั วค บู ารมขี องกษตั รยิ ไ ทย ใหเ้ ห็นว่าในช่วงระยะเวลาดงั กลา่ วหรอื ก่อนหน้านั้น ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดไู ด้เข้ามามีอิทธิพลต่อความ คนไทยสว นหน่ึงใหความเคารพ คดิ ความเชื่อของสังคมไทย จนกระทง่ั สะท้อนออกมาในรปู แบบของศลิ ปกรรม นาฏศิลป์ วรรณกรรม ชางเอราวัณ โดยปรากฏใหเห็น วา มกี ารสรา งรปู เคารพชา งเอราวณั ๒) ความเช่ือในเรอ่ื งโชคลาง ในบทพากยเ์ อราวัณ ซึ่งมีเนือ้ หาพรรณนาให้เห็นภาพ หรือสถาปตยกรรมที่เปนรูปชาง กองทพั ของอนิ ทรชติ และพระลกั ษมณท์ พี่ รอ้ มสรู้ บกนั ไดส้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ความเชอื่ บางประการทมี่ คี วาม เอราวณั ดวย) เก่ียวโยงกับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู กล่าวคือ เม่ือกองทัพของพระลักษมณ์พร้อมที่จะสู้รบกับกองทัพ ของอินทรชติ ได้มีการเปา่ แตรและสังข ์ พร้อมกับทีท่ หารหาญโห่ร้องเอาชยั ดงั บทประพนั ธ์ ขยายความเขา ใจ อึงอนิ ทเภรีตีระงม แตรสังข์เสยี งประสม ครแู ละนกั เรยี นรว มกันอภิปรายวา ประสานเสนาะในไพร เลอื่ นล่ันสน่นั ใน • ปจจุบนั ในสงั คมไทยยงั ปรากฏ เสียงพลโหร่ อ้ งเอาชยั ความเชื่อเรอื่ งเทพเจา อยูหรือไม พิภพเพียงทา� ลาย สังเกตจากอะไร (แนวตอบ ยังปรากฏความเช่ือเรื่อง จากบทประพันธ์กองทัพของพระลักษมณ์ได้มี เทพเจาอยู สังเกตไดจากรูปเคารพ เทวรปู ทป่ี ระดษิ ฐานอยตู ามสถานที่ การเป่าแตรและสังข์ก่อนออกทัพ ซึ่งธรรมเนียมนิยมนี้ได้มา ตางๆ) จากศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ด ู กลา่ วคอื ตามวรรณคดกี ล่าวไวว้ ่า พระอินทร์เป่าสังข์ปลุกพระนารายณ์ให้ตื่นจากบรรทมสินธุ์ ในสะดือทะเลเพื่อขึ้นมาปราบยุคเข็ญในโลก สังข์ตามลัทธิ พราหมณถ์ อื ว่าเป็นมงคล ๓ ประการ คอื สังขถ์ อื กำ� เนดิ จำก พระพรหม ท้องสังข์เคยเป็นท่ีซอนคัมภีร์พระเวท เพรำะใน ครั้งหน่ึงขณะที่พระพรหมลงสรงน�้ำในพระมหำสุมทร ได้น�ำ คัมภีร์พระเวทไปวำงไว้ที่ริมฝง สังขรอสูรคิดแกล้งพระพรหม จึงกลืนคัมภีร์พระเวทลงไป เมื่อพระพรหมขึ้นมำจำกสรงน้�ำ พรำหมณห์ ลวงผทู้ �ำพิธีในรำชสำ� นกั 133 คูม อื ครู 133

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate ขยายความเขาใจ (ยอ จากฉบับนักเรยี น 20%) จากขอ คิดควรใชช ีวิตอยา งมสี ติ เห็นคัมภีร์พระเวทหำยไปจึงไปทูลพระอิศวรให้ทรงทรำบ พระอิศวรจึงให้พระนำรำยณ์เป็นผู้ไปปรำบ ในบทพากยเ อราวณั นักเรียนชวยกนั โดยพระองค์อวตำรเป็นปลำกรำย (มัจฉำอวตำร) เม่ือทรงได้รับชัยชนะจึงแหวกอกของสังขรอสูรน�ำ แสดงความคดิ เห็นวา คัมภรี พ์ ระเวทออกมำ และตวั สังข์มีรอยนิ้วพระหัตถ์ของพระนำรำยณ ์ ในพิธที างศาสนาพราหมณจ์ งึ มี การเป่าสังข์เพื่อความเป็นสิริมงคล สังข์ถือเป็นเคร่ืองเป่าชนิดหน่ึงท�าจากเปลือกหอยสังข์ โดยน�ามา • เหตใุ ดจึงควรนาํ ขอคดิ นี้ไปใช ขดั ใหเ้ กลยี้ งเกลาแลว้ เจาะกน้ หอยใหท้ ะลเุ ปน็ ชอ่ งสา� หรบั เปา่ ซงึ่ การเปา่ สงั ขถ์ อื วา่ เปน็ ของขลงั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ในชีวติ ประจําวนั ใช้เฉพาะงานทีม่ ีเกียรติสูงและใหเ้ ป่าคกู่ บั แตร (แนวตอบ ควรใชช วี ิตอยางมีสติ เห็นไดจากพระลักษมณตองศร ๗.๔ ขอ้ คดิ ทส่ี ามารถนา� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจา� วนั ของอนิ ทรชติ เพราะความลมุ หลง ในรปู ไมม สี ติ ความห ลงมกั ทาํ ให บทพากย์เอราวัณเป็นวรรณคดีที่ถือก�าเนิดข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความบันเทิงใจ แต่ ลมื ตวั ขาดสตจิ นเกิดภัยแก อย่างไรกต็ ามผ้อู ่านยังสามารถพบข้อคิดท่ีสามารถน�าไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจ�าวันได้ ดงั น้ี ตนเอง) ๑) การต้ังใจศึกษาเล่าเรียน กล่าวถึงภูมิหลังของอินทรชิตโอรสของทศกัณฐ์ท่ีมี เกร็ดแนะครู ความสามารถเช่ียวชาญทางด้านการรบ สามารถแปลงกายเป็นพระอินทร์ได้ เน่ืองมาจากเมื่ออายุได้ ๑๕ ปี ได้ลาพระบิดาเพื่อไปเรียนศิลปวิทยา บ�าเพ็ญพรตเพื่อขอพรและศรวิเศษจากพระอิศวร ครูแนะนํานักเรียนวา หากมีโอกาส พระนารายณ์และพระพรหม ดังนั้นในชีวิตประจ�าวันเราจึงควรท่ีจะฝึกตนให้เป็นคนใฝ่รู้ใฝ่เรียนเพื่อ ควรหาเวลาศึกษาวรรณคดีเร่ือง ประโยชนใ์ นอนาคต ไตรภมู พิ ระรว ง เนอื่ งจากเปน วรรณคดี ท่ีสะทอนคติความเชื่อทางพระพุทธ- ๒) การใหอ้ �านาจแก่บคุ คลใดควรไตร่ตรองใหด้ ี กลา่ วคอื พระอศิ วร พระนารายณ ์ ศาสนาท่ีไทยรับมาจากอินเดีย หาก และพระพรหมได้ประทานพรและศรวิเศษให้แก่อินทรชิต แต่อินทรชิตได้น�าไปใช้เพื่อการสงคราม ศึกษาเร่ืองนี้แลวก็จะเขาใจพ้ืนฐาน ท�าลายล้าง ก่อให้เกดิ ความสูญเสียเพราะอนิ ทรชิตเปน็ คนเหมิ เกรมิ ไม่มสี ตใิ นการดา� รงชีวติ หากเทพ ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติของกวีที่ ทั้งสามองค์ไตร่ตรองพิจารณาลักษณะนิสัยของอินทรชิตอย่างลึกซ้ึงก็จะไม่ให้ตามค�าขอ สงครามก็จะ ปรากฏในวรรณคดเี รอ่ื งตา งๆ ไดด ขี นึ้ ไมเ่ กิดขึ้น ๓) การมีอ�านาจควรใช้ไปในทางท่ีถูกต้อง เมื่ออินทรชิตได้รับพรและศรวิเศษจาก เทพทั้งสามองค์จึงบังเกิดความเหิมเกริม ใช้ศรวิเศษไปในทางท่ีผิด ในชีวิตประจ�าวันของเราก็เช่นกัน ถ้าเรามีความรู้ ซ่ึงเปรียบเหมือนเครื่องมือท่ีใช้ในการประกอบอาชีพ แต่หากน�าไปใช้ในทางท่ีผิด ความรู้ก็จะกลายเป็นอาวุธร้ายท�าลายผู้อื่นและประเทศชาติ ศรวิเศษของอินทรชิตจึงเหมือนความรู้ที่ เป็นดาบสองคมตอ้ งใช้ให้ถูกทาง ๔) การใช้ชีวิตอย่างมีสติ บทพากย์เอราวัณเป็นเร่ืองราวตอนที่อินทรชิตแปลงตน และกองทัพให้เป็นกองทัพของพระอินทร์เพ่ือต่อสู้กับกองทัพของพระลักษมณ์ ในท่ีสุดแล้ว พระลักษมณ์ต้องศรพรหมาสตร์ของอินทรชิตซึ่งสาเหตุประการส�าคัญที่ท�าให้พระลักษมณ์ต้องศร กเ็ พราะวา่ พระลักษมณเ์ คลิ้มพระองค์ไปกับระบ�าทอ่ี นิ ทรชติ สง่ั ให้บริวารจัดใหช้ ม ดงั บทประพันธ์ 134 134 คมู อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain เม่ือนั้นอินทรชิตยักษี ตรัสสงั่ เสนี ขยายความเขาใจ ให้จบั ระบ�าร�าถวาย นักเรียนนําขอคิดจากบทพากย ใหอ้ งค์อนุชานารายณ ์ เคลบิ เคล้มิ วรกาย เอราวัณไปประยุกตใชในชีวิตประจํา จะแผลงซ่งึ ศสั ตรศรพล วันไดในเร่อื งใดบาง บันทึกลงสมดุ ฯ เจรจา ฯ (แนวตอบ อินทรชติ สถติ เหนือเอรา วณั ทอดทศั นา 1. เมอื่ นอ ยใหเ รยี นวชิ า สะทอ นจาก เหน็ องค์พระลักษมณฤ์ ทธิรงค์ อนิ ทรชติ ในวยั เยาว ไดศ กึ ษาวชิ า ... ตางๆ จนมีความสามารถ ชีวิต ประจาํ วนั ของเราควรหมนั่ ฝก ฝน ศรเต็มไปทวั่ ราศี ตอ้ งองคอ์ นิ ทรยี ์ ใฝรใู ฝเ รียน พระลักษมณก์ ็กลงิ้ กลางพล 2. ควรใชชีวิตอยางมีสติ รอบคอบ พจิ ารณาสงิ่ ตา งๆ อยา งไตรต รอง ฯ เจรจา อนิ ทรชติ กลับทัพ ฯ ไมห ลงเชอ่ื อะไรงา ยๆ ฯลฯ 3. ผูทม่ี อี ํานาจควรใชอาํ นาจ ในทางทถ่ี กู ท่คี วร ไมน ําไปใช หากน�ามาเปรียบเทียบกับการใช้ชีวิตในปัจจุบันที่มากมายด้วยสิ่งอันล่อตาล่อใจ จะท�า ในทางทผ่ี ดิ ) ให้ได้แงค่ ดิ ว่าควรใชช้ วี ติ อยา่ งระมัดระวงั มีสต ิ หากไม่มสี ตใิ นการใชช้ วี ติ แล้วจะเกิดความสูญเสยี ตรวจสอบผล ๕) สงครามคอื ความสญู เสยี บทพากยเ์ อราวัณได้นา� เนื้อเรอื่ งมาจากรามเกยี รติ์ ซงึ่ เป็นเร่ืองราวการท�าสงครามระหว่างมนุษย์และยักษ์โดยมีสาเหตุมาจากการแย่งชิงนางสีดา สงคราม 1. ครสู ุมตวั อยา งนกั เรียนแตล ะคน เกิดขึ้นบ่อยครั้งและในทุกคร้ังก็ได้สร้างความเสียหายให้เกิดข้ึน เช่น หลังจากที่กุมภกรรณอนุชาของ ในหอ งเรียนสรุปเรอื่ งยอ วา ใคร ทศกณั ฐถ์ กู สงั หารไปแลว้ อนิ ทรชติ จงึ อาสาออกรบซงึ่ สงครามในครง้ั นพี้ ระลกั ษมณต์ อ้ งศรของอนิ ทรชติ ทําอะไร ท่ไี หน เมือ่ ไร อยางไร แต่ฝ่ายพระรามก็สามารถแก้พิษศรได้ เม่ืออินทรชิตออกรบอีกครั้งจึงถูกสังหาร จะเห็นว่าสงคราม แลวเขยี นลงในสมดุ ไม่ได้ท�าให้ใครได้รับประโยชน์ แม้กระทั่งผู้ก่อสงคราม ดังนั้นเม่ือมีปัญหาเกิดข้ึน ไม่ควรใช้ก�าลัง ห�้าหัน่ กันแตค่ วรใช้สติปญั ญาในการแกไ้ ขปญั หา 2. นักเรียนยกคาํ ประพันธทใ่ี หคณุ คา ดานวรรณศลิ ปและสงั คม บทพากย์เอราวณั เปน็ บทพระราชนพิ นธท์ ี่เลอื กลักษณะคÓประพนั ธ์ได้เหมาะสม กบั เนอื้ หา กลา่ วคอื ใชก้ าพยฉ์ บงั ๑๖ สÓหรบั พรรณนาเรอ่ื งราวทกี่ ระชบั รวดเรว็ เชน่ การ 3. นกั เรียนทอ งจําบทอาขยาน เดนิ ทาง การรบ (ฉบงั หมายถงึ การต่อสู้) อกี ประการหนึง่ คอื กาพยฉ์ บังมีฉนั ทลักษณ์ ตามทก่ี าํ หนด ไมย่ าวนักซงึ่ เหมาะสÓหรบั ผ้อู า่ นจะได้ลองฝกึ พากย์ตามบท มคี ุณค่าทางวรรณศลิ ป์ด้วย การใช้คÓที่เหมาะสมจนสามารถจดจÓกันได้โดยทั่วไป เหมาะสมสÓหรับเป็นบทพากย์ 4. นักเรียนบอกขอ คดิ ท่ีสามารถนําไป ในการแสดงโขนท่ีจะทÓให้ผู้ชมได้รับอรรถรส ความสนุกสนาน ช่ืนชมความงามของ ปรบั ใชไ ดในชีวิตจรงิ ทา่ ทางรา่ ยรÓ ความอลงั การของฉาก ทÓใหเ้ กดิ จนิ ตนาการ เกดิ ความประทบั ใจในศลิ ป- วัฒนธรรมทีค่ วรส่งเสริมและอนุรักษไ์ ว้เปน็ มรดกของชาตสิ บื ไป 5. นักเรียนตอบคาํ ถามประจาํ หนว ย การเรียนรู 135 เกร็ดแนะครู จากบทพากยเ อราวณั ปรากฏคาํ ยมื ท่ีเปนภาษาเขมร ไดแก คําวา ตรัส ถวาย อํานาจ ครูชวนนักเรียนหา คาํ ศพั ทท เี่ ปน คาํ ยมื ภาษาเขมรทใี่ ชใ น ภาษาไทย เชน เสด็จ ตําบล บํานาญ บําเหนจ็ เปน ตน คูมอื ครู 135

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate เกรด็ แนะครู (ยอ จากฉบบั นักเรยี น 20%) (แนวตอบ คาํ ถามประจําหนว ย คำ� ถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ การเรียนรู 1. ชางเอราวัณมีลกั ษณะกายสขี าว ๑. ในจินตนาการของนกั เรียน ช้างเอราวณั มลี ักษณะอย่างไร ใหว้ าดภาพประกอบ ๒. บทประพนั ธใ์ ดทนี่ กั เรยี นคดิ วา่ มีความไพเราะมากท่ีสุด เพราะเหตุใด เหมอื นสสี งั ข มเี ศยี รงามทง้ั 33 เศยี ร ๓. ข้อคิดท่ีได้รับจากบทพากย์เอราวณั เก่ยี วกับเรอ่ื งใดบา้ ง โดยแตละเศียรมีงา 7 ก่ิง แตละกิ่ง ๔. คณุ คา่ ทางดา้ นใดของบทพากย์เอราวัณท่ีมีความโดดเด่นมากทส่ี ุด มีสระบัว 7 สระ แตละสระมีกอบัว ๕. บทพากยเ์ อราวัณได้สะท้อนใหเ้ หน็ คุณคา่ ด้านสังคมและวิถีไทยเก่ยี วกบั เรอ่ื งใดบา้ ง 7กอแตล ะกอมดี อกบวั 7ดอกแตล ะ ดอกมกี ลบี บวั บาน7กลบี แตล ะกลบี กจิ กรรม สร้ำงสรรค์พฒั นำกำรเรียนรู้ มนี างฟา 7 องค แตละองคม ีบริวาร เปนหญิงงาม 7 นาง ทเ่ี ศียรชางทุก กจิ กรรมท ี่ ๑ ศกึ ษาบทพากยโ์ ขนตอนอน่ื ๆ ทน่ี กั เรยี นสนใจเปรยี บเทยี บกลวธิ กี ารใชภ้ าษาวา่ มคี วาม เศยี รมีบษุ บกวมิ าน กิจกรรมที ่ ๒ สอดคลอ้ งกบั เนื้อหา ฉาก และอารมณ์ความรู้สกึ ของตัวละครในเรอื่ งอย่างไร 2. คําตอบขึน้ อยกู ับความคดิ ของ นักเรียนอ่านบทพากย์เอราวัณในแบบท�านองเสนาะ ฝึกพากย์โขนแล้วลองสังเกต นกั เรยี น เปรยี บเทียบวา่ แบบใดเกิดรสความ รสค�าไพเราะกวา่ กนั 3. ขอคิดท่ีไดรบั จากเร่ือง 1. สงครามทําใหเกดิ ความ สญู เสียทัง้ 2 ฝาย 2. เมือ่ นอยใหเรียนวิชา 3. การใหอ ํานาจแกบ ุคคลใด ควรไตรต รองใหดี 4. เมอื่ มอี าํ นาจควรใชในทางท่ีถูก ทค่ี วร 4. คณุ คา ดา นวรรณศลิ ป เพราะสะทอ น ใหเหน็ การสรรคําของกวี มกี ารใช โวหารคมคาย ใชภ าพพจนใหเ ห็น ชดั เจน และมีการเลนสัมผสั ทง้ั สมั ผสั สระและสมั ผสั อกั ษรใหเ กดิ ความไพเราะ และเหน็ การ เคลื่อนไหวของตัวละครเดน ชดั 5. สะทอ นใหเ หน็ ความเชอ่ื ของคนไทย ในเรื่องเทพเจา โชคลาง ศาสนา เปน ตน ) 136 หแสลดกั งฐผานลการเรียนรู 1. การสรปุ เรอ่ื งยอ เปนแผนผงั ความคิด 2. ตัวอยา งคําประพันธทมี่ คี ุณคา ดา นวรรณศลิ ปแ ละสังคม 3. ทอ งจาํ บทประพนั ธตามทก่ี ําหนด 136 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate บทอาขยาน เปา หมายการเรยี นรู ๑ การท่องจÓบทอาขยาน ทอ งจําบทอาขยานและบอกคุณคา บทอาขยานท่ีกาํ หนด ค�าว่า อาขยาน (อา - ขะ - หฺยาน) ตามความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ หมายถึง บททอ่ งจ�า การเลา่ การบอก การสวด เร่อื ง นทิ าน กระตุนความสนใจ ตัง้ แต่พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ เปน็ ตน้ มา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ก�าหนดใหม้ กี ารทอ่ งบทอาขยาน ในสถานศึกษาข้ึน ท้ังน้ีเพื่อให้นักเรียนมีโอกาสท่องจ�าบทร้อยกรองที่มีความไพเราะ ให้คติสอนใจ ครูสนทนาเกี่ยวกับการทอ งบท ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความซาบซ้ึง เห็นความงดงามทางภาษาและเห็นคุณค่าของภาษา อาขยานดว ยคาํ ถาม และวรรณคดีไทยท่ีเป็นเอกลักษณ์และมรดกทางวัฒนธรรมของชาติควรค่าแก่การรักษาและสืบสาน ให้คงอยู่ตลอดไป รวมทง้ั ยงั ชว่ ยกลอ่ มเกลาจิตใจใหน้ า� ไปสูก่ ารดา� เนินชีวติ ที่ดีงามอีกดว้ ย • นกั เรยี นเคยทองบทอาขยาน เรื่องใดบา ง นักเรยี นจําได หลกั การในการอา่ นบทอาขยาน หรือไม การอา่ นบทอาขยานสว่ นใหญเ่ ปน็ การอา่ นออกเสียง คือ ผอู้ า่ นเปล่งเสียงออกมาดังๆ ในขณะ • บทขยานใดที่นักเรยี นช่ืนชอบ ที่ใช้สายตากวาดไปตามตัวอกั ษร ยึดหลักการอ่านออกเสียงเหมือนหลกั การอ่านท่ัวไป เพือ่ ใหก้ ารอ่าน ประทับใจทส่ี ุด พรอมใหเ หตผุ ล ออกเสียงมีประสทิ ธิภาพควรฝึกฝน ดงั น้ี ๑. กวาดสายตาจากคา� ตน้ วรรคไปยงั ทา้ ยวรรค และเคลอื่ นสายตาไปยงั วรรคถดั ไปอยา่ งรวดเรว็ • นกั เรียนชวยกันตอบวา โดยไมต่ ้องสา่ ยหนา้ ทําอยา งไรจึงจะอา น ๒. ฝึกเปล่งเสียงให้ดังพอประมาณโดยพิจารณาถึงกลุ่มผู้ฟังและสถานที่ แต่ไม่ตะโกน ควร บทอาขยานไดไ พเราะ บังคบั เสียง เน้นเสียง ปรับระดบั เสยี งสูง-ต่�า ให้สอดคลอ้ งกับจังหวะ ลีลา ท่วงท�านองและความหมาย ของเน้ือหาทีอ่ า่ น ๓. อ่านด้วยเสียงท่ีชัดเจน แจ่มใส ไพเราะ มีกระแสเสียงเดียว ไม่แตกพร่า เปล่งเสียงจาก ล�าคอโดยตรงด้วยความม่ันใจ ๔. ควรทรงตวั และรกั ษาอากปั กริ ยิ าใหถ้ กู วธิ ี จะชว่ ยใหร้ ะบบกลา้ มเนอื้ ตา่ งๆ ทา� งานประสานกนั ท�าให้เปลง่ เสียงไดด้ ี มที ่วงทา่ นา่ เชือ่ ถือ ลักษณะการทรงตัวทถี่ กู วธิ คี อื ไมว่ า่ จะยนื หรือนงั่ อา่ น ลา� ตวั ต้องตั้งตรงและอยู่ในอาการสมดุล ควรถือบทหรือหนังสือห่างจากสายตาประมาณหน่ึงฟุต ขณะอ่าน พยายามให้ล�าคอตัง้ ตรง เงยหน้าเล็กนอ้ ย สบตากับผู้ฟงั เป็นระยะๆ ๕. อา่ นออกเสียงใหถ้ ูกอักขรวิธีหรอื ความนิยม และต้องเขา้ ใจเนอื้ หาของบทอาขยาน ๖. อ่านออกเสียง ร ล คา� ควบกลา้� ใหถ้ กู ตอ้ งชดั เจน ๗. อา่ นให้ถกู จงั หวะและวรรคตอน ๘. พยายามอา่ นใหไ้ ด้อารมณ์และความรู้สกึ ตามเนอื้ หา 137 คูม ือครู 137

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate สํารวจคนหา (ยอ จากฉบับนกั เรยี น 20%) ใหน กั เรยี นเลอื กทอ งจาํ คาํ ประพนั ธ ๒ บทอาขยานระดบั มธั ยมศึกษาปีที ่ ๓ ท่ีชอบพรอมท้ังบอกเหตุผลที่เลือก เพราะอะไร ๒.๑ บทอาขยานหลกั อธิบายความรู อิศรญาณภาษิต 1. ใหนักเรียนถอดคําประพนั ธเ ปน   ชายข้าวเปลือกหญงิ ข้าวสารโบราณวา่   น้�าพ่งึ เรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสยั ภาษาของนักเรยี นเอง 1 หวั ขอ จากบทอาขยานหลักอิศรญาณ เราก็จติ คดิ ดูเล่าเขาก็ใจ  รกั กนั ไว้ดกี ว่าชงั ระวงั การ ภาษิตและบทพากยเ อราวัณ พรอมบอกความหมาย ผใู้ ดดดี ีตอ่ อยา่ ก่อกิจ  ผูใ้ ดผดิ ผอ่ นพกั อยา่ หกั หาญ 2. ใหนักเรียนทองคําประพันธที่เปน สิบดีก็ไม่ถึงกบั กึง่ พาล  เปน็ ชายชาญอยา่ เพอ่ คาดประมาทชาย บทหลกั สลบั คกู บั เพอ่ื น บนั ทกึ เสยี ง สง ครู รกั ส้ันน้ันใหร้ อู้ ยเู่ พยี งสน้ั   รกั ยาวนั้นอย่าให้เยนิ่ เกนิ กฎหมาย มใิ ชต่ ายแตเ่ ขาเราก็ตาย  แหงนดูฟ้าอยา่ ให้อายแก่เทวดา อย่าดถู ูกบุญกรรมวา่ ทา� น้อย  น้�าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา อย่านอนเปลา่ เอากระจกยกออกมา  ส่องดูหนา้ เสยี ทหี นึ่งแล้วจงึ นอน บทพากย์เอราวัณ เกร็ดแนะครู   อินทรชิตบิดเบอื นกายิน  เหมอื นองค์อมรนิ ทร์ ครใู หน กั เรยี นมสี ว นรว มในการทอ ง ทรงคชเอราวณั จาํ บทรอ ยกรองทเี่ กดิ จากความซาบซงึ้ โดยเลือกบทประพันธตอนใดเร่ืองใด   ชา้ งนิรมติ ฤทธิแรงแขง็ ขนั   เผือกผอ่ งผิวพรรณ ก็ไดที่ชอบมาอานใหครูและเพ่ือนๆ ฟง หนา ชน้ั เรยี น สีสังขส์ ะอาดโอฬาร์   สามสิบสามเศียรโสภา  เศยี รหนึ่งเจ็ดงา ดงั เพชรรตั นร์ จู ี   งาหนึง่ เจด็ โบกขรณ ี สระหนึ่งย่อมมี เจ็ดกออบุ ลบนั ดาล   กอหนึ่งเจด็ ดอกดวงมาลย์  ดอกหนึ่งแบง่ บาน มกี ลบี ไดเ้ จด็ กลบี ผกา   กลีบหนึง่ มเี ทพธดิ า  เจ็ดองค์โสภา แนง่ นอ้ ยล�าเพานงพาล   นางหนึ่งย่อมมบี รวิ าร  อกี เจ็ดเยาวมาลย์ ลว้ นรปู นริ มิตมารยา   จับระบ�ารา� ร่ายสา่ ยหา  ชา� เลืองหางตา ท�าทดี ังเทพอปั สร   มีวมิ านแกว้ งามบวร  ทุกเกศกญุ ชร ดงั เวไชยนั ตอ์ มรินทร์ 138 138 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore ๒.๒ บทอาขยานเลอื ก อธิบายความรู พระอภัยมณี นกั เรยี นคิดวาบทประพันธ ตอนพระอภัยมณีหนีนางผเี ส้อื พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนี นางผเี สอ้ื ทย่ี กมาเปน บทอาขยานเลอื ก พระโฉมยงองค์อภยั มณนี าถ เพลินประพาสพศิ ดหู มู่มจั ฉา มีลักษณะเดนที่เหมาะสําหรับการ เหล่าฉลามลว้ นฉลามตามกันมา คอ่ ยเคลือ่ นคลาคล้ายคล้ายในสายชล ทองจําอยางไร ฉนากอยคู่ ฉู่ นากไมจ่ ากค ู่ ขนึ้ ฟ่องฟพู ่นฟองละอองฝน ฝงู พิมพาพาฝงู เขา้ แฝงวน บ้างผดุ พน่ ฟองน�้าบา้ งด�าจร (แนวตอบ บทที่คัดเลือกมาเปนบท พรรณนาฉากมหาสมุทรท่ีมีส่ิงมีชีวิต กระโหเ้ รียงเคยี งกระโห้ข้นึ โบกหาง ลอยสลา้ งกลางกระแสแลสลอน หลายชนิดแสดงกิริยาอาการตางๆ มังกรเก่ียวเลี้ยวลอดกอดมงั กร ประชุมซอ่ นแฝงชลขน้ึ วนเวียน ที่นาเพลิดเพลิน และพรรณนาให ฝงู ม้านา�้ ท�าทา่ เหมือนมา้ เผ่น ขน้ึ ลอยเล่นเลย้ี วลัดฉวัดเฉวียน เห็นภาพรอบเกาะ เปนบทประพันธ ท่ีมีความเดนทางดานวรรณศิลป กวี ตะเพยี นทองทอ่ งนา้� นา� ตะเพยี น ดาษเดียรดูเพลนิ จนเกินมา เลือกสรรถอยคําที่ไพเราะเสนาะหู เหน็ ละเมาะเกาะเขาเขยี วชอ่มุ โขดตะคุ่มเคียงเคียงเรยี งรุกขา เลนเสียงสัมผัสคลองจอง ทําใหงาย จะเหลยี วซา้ ยสายสมทุ รสุดสายตา จะแลขวาควนั คลมุ้ กลุ้มโพยม ตอการทองจํา เกิดเสียงไพเราะจาก จะเหลยี วดูสรุ ยิ แ์ สงเขา้ แฝงเมฆ ให้วิเวกหวาดองค์พระทรงโฉม รสคํา ซาบซ้ึงในรสความ และเขาถึง ฟงั ส�าเนียงเสียงคล่นื ดงั คร้นื โครม ย่งิ ทกุ ข์โทมนสั ในฤทยั ทวี อารมณของตวั ละครเอกอยา ง พระอภยั มณ)ี การท่องจ�าบทอาขยาน นับได้ว่ามีส่วนส�าคัญท่ีช่วยกระตุ้นการเรียนการสอนภาษาไทยเป็น อย่างยิ่ง เพราะการทอ่ งจา� บทอาขยานจะท�าให้นักเรยี นได้รบั รูถ้ ึงความไพเราะของบทประพันธ ์ สัมผสั ขยายความเขาใจ ท่ีคล้องจองกันอย่างลงตัว รวมถึงการได้ข้อคิดคติสอนใจจากบทอาขยานต่างๆ ท่ีได้น�ามาท่อง ทั้งน้ี บทอาขยานโดยสว่ นใหญท่ ค่ี ดั เลอื กใหน้ กั เรยี นทอ่ งจ�าลว้ นมคี วามโดดเดน่ ทงั้ ดา้ นวรรณศลิ ปแ์ ละเนอื้ หา นักเรยี น อา นและทอ งจาํ ซ่งึ นกั เรยี นจะไดร้ บั รูถ้ งึ คณุ คา่ ของบทประพนั ธด์ ว้ ยการทอ่ งจ�า บทอาขยานเลือก พระอภัยมณีตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ แลวให 139 นักเรียนบรรยายอารมณความรูสึก ของพระอภัยมณีตามบทประพันธ และชวยกันตอบคําถาม (แนวตอบ พระอภัยมณีกําลังรูสึก เปลาเปลี่ยว หว่ันใจ ทุกขใจ ดังวา “ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม...ย่ิง ทุกขโทมนสั ในฤทัยทว”ี ) • ในบทอาขยานทเี่ ลอื กมีสง่ิ มชี วี ิต อะไรบา ง (แนวตอบ ฉลาม ฉนาก พมิ พา ปลากระโห มังกร มานา้ํ ตะเพียนทอง) หแสลดกั งฐผานลการเรียนรู ตรวจสอบผล 1. ทอ งจาํ บทอาขยานหลัก 1. นักเรยี นทองบทอาขยานหลกั 2. ถอดคาํ ประพนั ธบทอาขยานหลกั ตามทกี่ าํ หนด 2. นักเรยี นเลือกทอ งคําประพันธ ท่ีชอบ พรอ มทั้งบอกเหตผุ ล คูม ือครู 139


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook