Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

1

Published by WACHIRA CHANEL, 2021-02-18 07:51:41

Description: 1

Search

Read the Text Version

ความรู้เบือ้ งตน้ เกี่ยว กับการตัดต่อวิดีโอ

เสนอ อาจารย์อรทยั เลิศขนุ ทศ

จดั ทาโดย นางสาววัชราภรณ์ ดูเถอะ ปวส.1/1 คธ.

ในปัจจบุ ันงานวิดโี อไดเ้ ข้ามามีบทบาทในชีวิตของเรามากขน้ึ ดว้ ยความสามารถของงานทางด้านมลั ตมิ เี ดยี ทที่ าให้ การนาเสนองานของเรานา่ สนใจแลว้ ราคากล้องวดิ โี อกร็ าคาถกู ลงมามากและหาซอื้ ไดไ้ มย่ าก พร้อมกับโปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการ ตดั ตอ่ วดิ โี อกม็ ีให้เลอื กใชม้ ากมายและกไ็ มย่ ากจนเกนิ ไปท่ีจะ เรยี นรู้ สาหรบั สื่อนจ้ี ะขอนาเสนอการตดั ตอ่ ด้วยโปรแกรม Cyberlink Power Director เพื่อเป็นพน้ื ฐานในการตดั ตอ่ เพือ่ นาไปใช้ประโยชนด์ งั นี้

ประโยชน์ของงานวดิ ีโอ 1.แนะนาองค์กรและหนว่ ยงาน การสร้างงานวิดโี อเพอ่ื แนะน า สถานทีต่ า่ งๆ หรอื ในการนาเสนอขอ้ มลู ภายใน หน่วยงานและองค์กร เพ่ือสร้าง ความนา่ สนใจใหก้ บั ผู้ชมผ้ฟู ังและยงั กอ่ ให้เกดิ ความเข้าใจในตวั งานได้ง่ายข้นึ 2.บันทกึ ภาพความทรงจา และเหตกุ ารณส์ าคัญตา่ งๆ เชน่ การเดนิ ทาง ไปท่องเทยี่ วในสถานทต่ี า่ งๆ งานวนั เกดิ งานแตง่ งาน งานรบั ปรญิ ญางานเลยี้ ง ของหน่วยงานหรือองค์กร ซ่งึ เดิมเราจะเกบ็ ไวใ้ นรูปแบบภาพนิ่ง 3.การท าสือ่ การเรียนการสอน คุณครสู ามารถสรา้ งสือ่ การสอนใน รปู แบบวิดโี อไวน้ าเสนอได้หลายรูปแบบ เชน่ เป็นวิดีโอโดยตรง เป็นภาพวดิ ีโอ ประกอบในโปรแกรม POWER POINT เป็นภาพวิดีโอประกอบใน Homepage และอื่นๆ

4. การนาเสนอรายงาน วิทยานิพนธ์ และงานวิจยั ตา่ งๆ ซึง่ ปรับเปล่ียนการน าเสนองานจากรปู แบบเดิม ท่ีเปน็ เอกสาร ภาพประกอบ แผ่นชารจ์ แผน่ ใส ให้ทนั สมัเหมาะสมกบั สถานการณ์ปจั จบุ ัน 5. วิดีโอสาหรบั บคุ คลพเิ ศษ บคุ คลสาคญั ในโอกาส พิเศษ อาจหมายถึง วิทยากรทเี่ ชญิ มาบรรยาย ผจู้ ะเกษยี ณอายุ จากการท างาน เจา้ ของวนั เกดิ คบู่ า่ วสาว โอกาสของบุคคลที่ ไดร้ ับรางวัลตา่ งๆ

ก่อนทลี่ งมอื สรา้ งผลงานวิดโี อสกั เร่อื ง จะตอ้ งผ่าน กระบวนการคดิ วางแผนมาอยา่ งรอบครอบ ไมใ่ ชไ่ ปถา่ ยวดิ โี อ แล้ว กน็ ามาตัดต่อเลย โดยไม่มีการคดิ ใหด้ ีกอ่ นที่จะถา่ ยท า เพราะปญั หาท่ีมกั เกิดขนึ้ เสมอก็คือการที่ไมไ่ ด้ภาพตามท่ี ต้องการ เนอื้ หาทถ่ี า่ ยมาไม่สอดคลอ้ งกบั สิ่งท่ีตอ้ งการน าเสนอ ในท่ีน้ขี อแนะน าแนวคดิ ในการท างานวดิ ีโออย่างมี ประสิทธิภาพ ตรง ตามความต้องการ จะไม่ตอ้ งมาเสยี เวลา แก้ไขภายหลัง โดยมลี าดับแนวคดิ ของงานสรา้ งวิดโี อเบอื้ งตน้ แนวคดิ ในการสรา้ งวิดโี อ

เขียน Storyboard ส่ิงแรกที่เราควรเรยี นรู้ก่อนสร้างงานวดิ ีโอ ก็คอื การเขียน Storyboard คอื การจินตนาการฉากต่างๆ กอ่ นท่จี ะ ถา่ ย ทาจริงในการเขียน Storyboard อาจวธิ ีง่ายๆ ไม่ถงึ ขนาด วาดภาพปรกอบก็ได้ เพียงเขียนวตั ถุประสงคข์ องงานให้ชัดเจน วา่ ต้องการสอ่ื อะไรหรืองานประเภทไหน จากนน้ั ดูวา่ เรา ตอ้ งการภาพอะไรบ้าง เขียนออกมาเป็นฉาก เรียงลาดบั 1, 2, 3,.......

เตรยี มองค์ประกอบต่างๆ ทีต่ อ้ งใช้ ในการทางานวิดโี อ เราจะตอ้ งเตรยี มองคป์ ระกอบตา่ งๆ ให้ ครบถ้วน ไม่วา่ จะเป็นไฟล์วดิ ีโอ ไฟลภ์ าพนิง่ ไฟลเ์ สียง หรอื ไฟลด์ นตรี ตัดตอ่ งานวิดีโอ การตดั ต่อคือการน าองค์ประกอบต่างๆ ท่ีเตรยี มไว้มาตัดต่อ เปน็ งานวิดโี อ งานวดิ ีโอจะออกมาดีน่าสนใจเพียงใด ข้นึ อยู่กบั การตัดต่อเป็นส าคญั ซง่ึ เราจะต้องเรียนรูก้ ารตดั ตอ่ ในบท ตอ่ ไปก่อน

ใส่เอ็ฟเฟก็ ต์/ตดั ตอ่ ใส่เสยี ง ในขนั้ ตอนการตัดตอ่ เราจะต้องตกแต่งงานวิดโี อดว้ ย เทคนคิ พิเศษต่างๆ ไม่ว่าจะเปน็ การเล่นสี การใส่ข้อความ หรอื เสยี งดนตรี ซง่ึ จะชว่ ยให้งานของเรามีสสี ัน และนา่ สนใจมาก ยิง่ ข้นึ แปลงวดิ ีโอ เพอ่ื น าไปใชง้ านจริง ขน้ั ตอนการแปลงวิดีโอเป็นขั้นตอนสุดท้าย ในการท างานวิดีโอทเ่ี ราไดท้ าเรยี บรอ้ ยแลว้ นั้นไปใชง้ าน โปรแกรม Ulead Video Studio สามารถท าไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ ท าเปน็ VCD, DVD หรอื เป็นไฟลW์ MV สาหรบั นาเสนอ ทาง อนิ เทอรเ์ นต็

อปุ กรณ์ในการ ตัดต่อวดิ ีโอ 1. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณช์ น้ิ แรกที่ จาเป็นตอ้ งมี ปจั จบุ ัน เทคโนโลยกี า้ วหน้าไปไกล ทาให้เราสามารถมีเครอ่ื ง คอมพิวเตอร์ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพสูงในราคาประหยัด สาหรบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ สาหรับการตดั ต่อควรมสี เป็คเครื่องข้นั ต่า

2. กลอ้ งถ่ายวิดโี อ กล้องถา่ ยวิดีโอ มหี ลายประเภท หลายรูปแบบ แต่ในที่ จะกล่าวถงึ การใช้งานเฉพาะกลอ้ งถ่าย วิดโี อแบบดจิ ิตอล หรือ กล้องดิจติ อลแบบ MiniDV 3. Capture Card (การ์ดจับภาพวดิ โี อ) เนือ่ งจากเราไม่ สามารถนาภาพวิดโี อท่ีอยู่ ในกล้องวิดโี อ มาใชก้ บั เครอื่ ง คอมพิวเตอร์โดยตรง ดงั น้นั เราจาเป็นตอ้ งมี อุปกรณ์ท่เี รียกวา่ การ์ดแคปเจอร์ หรอื การ์ดจับภาพวดิ ีโอ ช่วย เปล่ยี นเสมือนเปน็ สื่อกลางในการส่งถา่ ยขอ้ มลู จากกล้องมายัง เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ น้นั เอง และแคปเจอร์ หรือการ์ดจบั ภาพ วิดีโอ กม็ หี ลายรูปแบบ เชน่ กนั

3. Capture Card (การ์ดจับภาพวิดีโอ) เน่อื งจากเราไมส่ ามารถนาภาพวิดีโอที่อยู่ ในกลอ้ งวิดีโอ มา ใช้กับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์โดยตรง ดงั นัน้ เราจาเป็นตอ้ งมี อุปกรณ์ท่เี รยี กวา่ การ์ดแคปเจอร์ หรือการ์ดจับภาพวดิ โี อ ช่วย เปลย่ี นเสมือนเป็นสือ่ กลางในการส่งถา่ ยขอ้ มลู จาก กลอ้ งมายงั เครือ่ งคอมพวิ เตอร์นนั้ เอง และแคปเจอร์ หรือ การ์ดจบั ภาพ วดิ ีโอ ก็มหี ลายรปู แบบเช่นกนั 4. ไดรวส์ าหรับเขียนแผน่ CD หรอื DVD อุปกรณน์ จี้ าเป็นตอ้ งมหี ากเรา ตอ้ งการสร้างงานให้อยู่ ในรูปแบบ VCD หรอื DVD ซึ่งในปัจจบุ นั ก็หาซอ้ื ไดไ้ มย่ าก ราคาก็ไม่แพง

4. ไดรว์สาหรบั เขยี นแผน่ CD หรอื 5. แผ่น CD ส าหรบั บันทึกข้อมูล แผน่ DVD อุปกรณ์น้จี าเป็นต้องมีหากเราต้องการ CD-R (CD-ReWrite หรือ CD Record) ใช้ สาหรบั บันทกึ ขอ้ มูลท่ัวไป เชน่ ข้อมูลต่างๆ สรา้ งงานใหอ้ ยู่ ในรูปแบบ VCD หรอื DVD ซ่งึ ใน โปรแกรมเพลง รปู ภาพและภาพยนตร์สามารถเขยี น ปจั จบุ ันก็หาซอื้ ได้ไม่ยาก ราคาก็ไมแ่ พง หรอื บันทกึ ข้อมูลได้เพยี ง ครัง้ เดยี วจนกว่าจะเตม็ แผ่น

รูปแบบของแผ่นดวี ดี ี แผน่ CD-RW (CD- ดีวีดีอาร์ดบั บลิวไดรว ์ ดวี ดี ี Write) แผน่ CD-RW (CD- ดอี าร์ดบั บลิวไดรว์ (DVD+-RW drive) ก็คลา้ ย กับซีดอี าร์ดบั บลวิ Write) ใช้สาหรบั บันทกึ ข้อมลู ไดรว์น่ันเอง คือสามารถอา่ นและขยี น ทว่ั ไปเชน่ เดียวกบั แผน่ CD-R แต่มี ความพเิ ศษกวา่ ตรงท่ี สามารถท่ีจะ แผน่ ดวี ดี ีแบบพิเศษ คือแผ่น DVD+- เขยี นหรือบันทึกซ้า และลบขอ้ มลู ที่ R และแผ่น DVD+- RW ได้ เขียนไป แล้วได้

แผ่นดีวีดอี าร์ ดวี ีดีอาร์ (DVD+R : Digital แผน่ ดีวีดอี าร์ดับบลิว Versatile DiscRecordable) เป็นแผน่ ดีวดี ีทผ่ี ู้ใชส้ ามารถบันทึก หรอื เขยี นขอ้ มลู ลงไป ดวี ีดีอารด์ บั บลิว (DVD+RW : Digital ได้คร้งั เดยี ว จนกว่าจะเตม็ แผน่ มใี ห้ เลือกแบบ Versatile Disc-Re-recordable) เปน็ แผน่ ดวี ดี ี ท่ีใช้เขียน และลบ ข้อมูลได้หลายครัง้ มีความจุ 4.7 GB ดา้ นเดยี ว และ 2 ด้าน ในความจดุ ้านละ 4.7 GB แผ่น ประเภทน้ียงั แบง่ ออกเป็น 2 มาตรฐาน (จาก 2 ค่าย) คอื แผน่ DVD-R DVD+R

รูปแบบไฟล์ภาพ BMP (Bitmap) ไฟลภ์ าพประเภททีเ่ กบ็ จดุ ของ ภาพแบบจดุ ต่อจดุ ตรงๆ เรยี กวา่ ไฟลแ์ บบ บิตแมพ( Bitmap ) ไฟล์ประเภท น้จี ะมีขนาดใหญ่แตส่ ามารถเก็บรายละเอยี ดของ ภาพได้ อยา่ งสมบรู ณ์แตเ่ นอื่ งจากการเกบ็ แบบ Bitmap ใช้ เน้ือ ท่ีในการเก็บจ านวนมาก จึงไดม้ กี ารคดิ ค้นวิธกี ารเก็บ ภาพ ใหม้ ขี นาดเล็กลงโดยยังคงสามารถเก็บภาพได้ เชน่ เดิม ขน้ึ มา หลายวิธกี าร เชน่ JPEG และ GIF JPEG (Joint Graphics Expert Group ) เปน็ การเกบ็ ไฟล์ภาพแบบท่ีบบี อัด สามารถท าภาพ ใหม้ ขี นาดของไฟล์ภาพเลก็ กวา่ แบบ Bitmap หลายสิบ เท่า แต่เหมาะจะใชก้ บั ภาพท่ถี า่ ยจากธรรมชาติเทา่ นัน้ ไมเ่ หมาะกบั การเกบ็ ภาพเหมือนจรงิ เช่น ภาพการต์ นู เปน็ ตน้

GIF ( Graphics Interchange TIFF ( Tagged Image File Format ) Format ) เป็นวิธีการเกบ็ ไฟล์ภาพแบบบีบอดั คลา้ ยกบั คอื การเกบ็ ไฟลภ์ าพในลกั ษณะเดียวกบั ไฟล์แบบ JPEG โดยทัว่ ไปแล้วไม่สามารถเก็บภาพที่ถ่ายจาก ธรรมชาติได้มี ขนาดเลก็ เท่ากบั แบบ JPEG แต่สามารถ BMP แตใ่ นไฟลม์ Tี agged File ซ่ึงเป็น เก็บภาพทไ่ี ม่ใช่ ภาพถ่ายจากธรรมชาติเช่น ภาพการต์ ูน ได้ สัญลกั ษณท์ ี่ ช่วยโปรแกรมควบคุมการแสดงภาพ เชน่ การแสดงหรือไม่แสดงภาพบางส่วนได้ ภาพที่ เปน็ อย่างดี นากจากน้ีGIF ยังสามารถเกบ็ ภาพไว้ได้หลายๆ ภาพ ใน ไฟลเ์ ดยี ว จึงถูกน าไปใชส้ ร้างภาพเคลอ่ื นไหว เกบ็ ไวใ้ นลกั ษณะของ TIFF จึงมคี วามพเิ ศษกว่าการ เกบ็ แบบอนื่ ที่กลา่ วมา นอกจากนี้ยงั มีไฟลภ์ าพแบบ ง่ายๆ เช่น ในอินเตอรเ์ นต็ ต่างๆ อีกหลายแบบ โดยแต่ ละแบบจะมีจุดเดน่ แตกต่างกันไป มกั นิยมใช่ในงานกราฟกิ การพมิ พ์

ระบบการส่งสัญญาณโทรทศั น์ ในปจั จุบนั นม้ี ีระบบการส่งสัญญาณโทรทศั นท์ ี่นยิ มใชใ้ น แถบภูมภิ าคต่างๆ คือ 1. ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เป็นระบบโทรทัศน์สีระบบแรกที่ใชง้ านใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ต้งั แตป่ คี .ศ.1953 ประเทศท่ใี ชร้ ะบบนี้ตอ่ ๆ มา ได้แก่ ญี่ปนุ่ แคนาดา เปอเตอรโิ ก้และเมก็ ซิโก เป็น ต้น

2. ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เปน็ ระบบโทรทัศน์ท่ี พัฒนามาจากระบบ NTSC ท าใหม้ ีการเพ้ยี น ของสี นอ้ ยลง เรม่ิ ใช้งานมาตั้งแต่ปีค.ศ.1967 ใน ประเทศทางแถบยโุ รป คอื เยอรมันตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยย่ี ม บราซิล เดนมารก์ นอร์เวย์สวีเดน สวิตเซอรแ์ ลนด์ และมหี ลาย ประเทศในแถบเอเซียทใ่ี ชก้ ันคอื สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไป ถงึ ประเทศไทยกใ็ ชร้ ะบบนี้

3. ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire(\"memory sequential\") เปน็ ระบบโทรทัศน์อกี ระบบหนึ่งคดิ คน้ ข้ึนโดย Dr.Henry D.France เริม่ ใชม้ า ตง้ั แตป่ ีค.ศ.1967 นยิ มใชก้ ันอยู่หลายประเทศแถบยโุ รป ตะวันออก ไดแ้ ก่ ฝรัง่ เศส อลั จเี รยี เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตนู เี ซยี รมู าเนีย และรสั เซีย เป็นต้น

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook