Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทย์ ม.3

วิทย์ ม.3

Published by วศินี บรรจโรจน์, 2019-11-14 22:38:56

Description: มาเรียนกันจ้าาา

Search

Read the Text Version

189 กางเขนใตใ้ นตอนดึก แต่ในฤดฝู นจะเห็นในตอนหัวค่า ดวงดาวล้างสดุ ของดาวกางเขนใตจ้ ะช้ีไป ทางทศิ ใต้ 3. การบอกเวลา กลุ่มดาวที่บอกเวลาท่ีนิยมกันเป็นส่วนใหญ่คือ ดาวหมีใหญ่ (Ursa Major) เป็น กลุ่มดาวท่ีอยู่ในซีกโลกเหนือ กลุ่มดาวดังกล่าวนี้คนไทยจินตนาการเป็นรูปจระเข้ จึงเรียกว่า กลุ่มดาวจระเข้ ในตอนหัวค่าเราจะเห็นด้านหัวของดาวจระเข้ขึ้นทางทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือ และเม่ือเวลา 24.00 น. ดาวกลุ่มน้ีจะอยู่กลางท้องฟ้าโดยส่วนหัวจะชี้ไปทางทิศ เหนือ และเม่ือใกล้สว่างส่วนหัวจะค่อย ๆ ลับขอบฟ้าไปทางทิศตะวันตก เราจึงนิยมใช้กลุ่มดาว หมใี หญ่หรือกลุ่มดาวจระเขใ้ นการบอกเวลา 4. การศึกษา ในอดีตผู้คนมักต่ืนตกใจกลัวเวลาที่เกิดปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ต่าง ๆ เช่น ปรากฏการณ์ สุริยุปราคา จันทรุปราคา ดาวหางปรากฏบนฟ้า ทง้ั นีเ้ พราะความไม่เข้าใจสาเหตุ การเกิดท่ีแท้จริงปัจจุบันเราไม่ต้องต่ืนตกใจอีกต่อไป อันเป็นผลมาจากการศึกษาดาราศาสตร์ ทง้ั สนิ้ การศกึ ษาคน้ คว้าทางดา้ นดาราศาสตร์สามารถให้ความรู้ ความเข้าใจธรรมชาตแิ ก่เรามาก ขึ้นเสมอ ยิ่งมีความรู้มากข้ึนก็ยิ่งมีความสงสัยมากขึ้น ดาราศาสตร์จึงเป็นวิชาที่ตอบปัญหา เหล่านี้ เทคโนโลยหี ลายอย่างที่ใช้เพื่อศึกษาดวงดาว ถูกนามาพัฒนาในการดารงชีวิต เชน่ รีโมท เซนซ่งึ การถา่ ยภาพระบบซีซีดี ดาราศาสตร์ไม่เพียงช่วยให้เราเข้าใจธรรมซาติ แต่ชว่ ยใหเ้ ราอยู่ กับธรรมชาตไิ ดอ้ ย่างมีความสุข

190 บทท่ี 6 อาชีพชา่ งไฟฟ้า แบบฝึกหดั ที่ 1 1. ข 2. ง 3. ง 4. ก 5. ข แบบฝกึ หดั ที่ 2 1. บอกคาศัพท์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการประกอบอาชีพช่างไฟฟา้ มอี ะไรบ้าง กาลังไฟฟ้า (electric power) พลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ไปในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็นวัตต์ (W) หรอื จลู ต่อวินาที วัตต์ (watt) หน่วยวัดกาลังไฟฟ้า (W) เช่น หลอดไฟ 1,000 วัตต์ เครื่องป้ิงขนมปัง 1,000 วตั ต์ กิโลวัตต์ (kilowatt) หน่วยกาลังไฟฟ้าที่มคี า่ เทา่ กับ 1,000 วตั ต์ เราใช้ตัวยอ่ ว่า KW กิโลวัตต์ – ชัวโมง (kilowatt – hour) หน่วยวัดการใช้กาลังไฟฟ้าในเวลา 1 ชั่วโมง (KWH) พลังงานไฟฟ้าตามบ้านจะวัดค่าออกจากเครื่องวัดพลังงาน (หรือที่เราเรียกกันว่าหม้อ มิเตอร์) มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ – ช่ัวโมง หรือที่เรียกกันว่า ยูนิต (unit) แล้วคิดราคาไฟฟ้าท่ีเรา ตอ้ งจ่ายเท่ากับ จานวนยนู ิตทเี่ ราตอ้ งใช้คูณด้วยราคาไฟฟ้าต่อหนึง่ ยนู ติ ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternating current) ระบบไฟฟ้าที่ทิศทางการว่ิงของอิเลก็ ตรอน มีการสลับไปมาตลอดเวลา ใช้สัญลักษณ์ AC และมักนิยมใช้เป็นระบบไฟฟ้าตามบ้าน อาคาร โรงงานท่วั ๆ ไป ไฟฟ้ากระแสตรง (direct current) ระบบไฟฟ้าที่อิเล็กตรอนมีการวิ่งไปทางเดียวกัน ตลอดเวลาและต่อเนอ่ื งกนั มกั จะพบว่าใช้กนั อยู่ทัว่ ๆ ไป ก็คือ เครอ่ื งชารจ์ แบตเตอรี่ ถา่ นไฟฉาย แบตเตอรร่ี ถยนตเ์ ป็นตน้ ใช้สัญลกั ษณ์ DC วงจรไฟฟ้า (circuit) ทางเดนิ ไฟฟา้ ทีต่ อ่ ถงึ กันและไฟฟ้าไหลผ่านไดด้ ี วงจรอนกุ รมหรือ วงจรอันดับ (series circuit) วงจรไฟฟ้าที่มีทางเดินไฟฟ้าได้เพียงทางเดียวจากแหล่งจ่ายไฟฟ้า ผา่ นวงจรไฟฟ้าไปครบวงจรอกี ขั้วของแหล่งจ่ายไฟ วงจรขนาน (parallel circuit) วงจรไฟฟ้าที่มีทางเดินไฟฟ้าของกระแสไฟฟ้าผ่านได้ มากกว่า 1 ทางเดินข้ึนไป และจะมีอุปกรณ์เช่นพวกเต้าเสียบหลอดไฟต่อขนานกัน และข้อดีของ

191 วงจรก็คือถ้าอุปกรณ์ตัวหนึ่งตัวใดไม่ทางาน ขัดข้องหรือเสียข้ึนมา อุปกรณ์ในวงจรขนานตัวอ่ืน ๆ ยงั คงทางานได้ วงจรเปิด (open circuit) สภาวการณ์ที่ทางเดินไฟฟ้าเกิดขาดวงจร กระแสไฟฟ้าไหลไม่ได้ วงจรลัด (short circuit) สภาวการณ์ที่เกิดมีการลัดวงจรทางเดินของกระแสไฟฟ้าอัน เน่ืองมาจากรอยตอ่ ของสายต่าง ๆ พาดถึงกัน มีกระแสไฟฟ้ารัว่ ตอ่ ถึงกัน เปน็ ตน้ แอมแปร์ (ampere) หน่วยการวัดค่าอัตราการไหลของไฟฟ้าที่ผ่านตัวนาใช้สญั ลกั ษณ์ A หรือ amp แทน เฮริ ต์ ซ์ (hertz) หนว่ ยความถี่มคี า่ เปน็ รอบต่อ ใช้สญั ลกั ษณ์ Hz โอหม์ (ohm) หน่วยความตา้ นทานทางไฟฟ้าใชส้ ญั ลักษณ์Ω กฎของโอห์ม (Ohm’s law) กฎที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันกระแส และ ความต้านทานในวงจรไฟฟ้า กฎน้ีกล่าวว่า ค่ากระแสไฟฟ้า (I) จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับค่า แรงดันไฟฟา้ (E) และเปน็ สัดส่วนผกผนั กับค่าความต้านทาน (R) I=E/R โวลต์ (volt) หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้าหรือแรงดันที่ทาให้เกิดมีการเคลื่อนท่ี ของอิเล็กตรอนภายในตัวนาไฟฟ้าเราใช้ตัวย่อแทนแรงดันไฟฟ้าด้วย V, E หรือ EMF แอมมิเตอร์ (ammeter) เป็นเคร่ืองวัดทางไฟฟ้าชนิดหนึ่งใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้าท่ีไหล ในวงจรทีเ่ ราต้องการวดั โอห์มมิเตอร์ (ohm meter) เป็นเครื่องวัดทางไฟฟ้าชนิดหนึ่งใช้วัดค่าความต้านทาน ไฟฟ้าเวลาใช้จะต้องไมม่ กี ารจ่ายไฟจากแหลง่ จา่ ยไฟใดในวงจรไฟฟ้าน้ัน โวลต์มิเตอร์ (volt meter) เป็นเคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้าชนิดหน่ึงใช้วัดค่าแรงดันไฟฟ้า มลั ติมเิ ตอร์ (multimeter) เป็นเครือ่ งมือวัดทางไฟฟ้าชนดิ หนึ่งที่สามารถวดั ค่าแรงดัน กระแสและความต้านทานได้ในเครื่องวดั ตัวเดียวกัน National Electric Code เป็นหนงั สอื ค่มู ือรวบรวมข้อแนะนาและกฎข้อบังคับในการ ตดิ ตงั้ อุปกรณไ์ ฟฟ้าให้มคี วามปลอดภยั

192 สวิตซ์อัตโนมัติหรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ (circuit breaker) เป็นอุปกรณ์ป้องกันท่ีใช้ จากัดกระแสไฟฟ้าสูงสุดในวงจรเม่ือกระแสเกินค่าจากัดเซอร์กิตเบรกเกอร์จะเปิดวงจรไม่ให้ กระแสไฟฟา้ ไหลสวู่ งจรอกี จนกว่าจะกดปุ่มทางานใหม่ หม้อแปลง (transformer) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เปล่ียนแรงดันไฟฟ้าให้สูงข้ึนหรือต่าลง เพื่อให้ตรงกับแรงดันท่ีใชก้ บั อุปกรณไ์ ฟฟ้าตา่ ง ๆ เฟส (phase) เป็นชนิดของระบบไฟฟ้าท่ีใช้มีท้ังระบบ 1 เฟส 2 สาย และ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณไ์ ฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย จะใช้ตามบ้านท่อี ยอู่ าศยั ส่วนระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย นยิ ม ใชก้ ับธุรกจิ ใหญก่ ับโรงงานอตุ สาหกรรม 2. บอกหลกั การปฏิบัตงิ านท่เี ก่ียวกับการเดนิ สายไฟฟา้ และต่อสายไฟฟา้ ในบ้าน ควรคานึงถงึ อะไรบ้าง การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟ้าภายในอาคารหรือบ้านเรือน ควรคานึงถึงส่ิง ต่อไปนี้ 1) ความปลอดภยั ตอ้ งรูจ้ ักเลอื กใช้สายไฟฟ้าใหถ้ กู ตอ้ งกบั ชนิดของอปุ กรณไ์ ฟฟา้ 2) ความประหยัด ต้องเผื่อระยะขนาดความยาวสายได้ถูกต้อง จัดวางอุปกรณ์ เหมาะสม รู้จกั เลอื กใช้อปุ กรณไ์ ฟฟ้าทม่ี คี ุณภาพ และราคาไม่แพง 3) ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ต้องเดินสายไฟฟ้าให้เรียบร้อยสวยงาม โดยติดตั้ง อุปกรณแ์ ละเขา้ หัวสายใหเ้ ปน็ ระเบียบ 4) ความเหมาะสม ต้องติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับตาแหน่ง และตรงกับ ความต้องการของผูใ้ ช้ ท้ังควรเผือ่ ขนาดสายใหโ้ ตเพอ่ื การใชไ้ ฟฟ้าเพ่มิ เตมิ ในอนาคต 3. บอกข้อควรระวังเกย่ี วกบั การต่อสายไฟฟ้าและการใช้ไฟฟา้ ในบา้ น มีอะไรบ้าง 1) อยา่ ใช้การดงึ สายไฟท่ปี ล๊กั ตวั ผู้ เมือ่ ตอ้ งการถอดปลัก๊ 2) เวลาต่อสายในปลั๊ก ตอ้ งตรวจสอบใหด้ อี ย่าใหส้ ายไฟสัมผสั กันเป็นอันขาด 3) ขนั สกรใู ห้ตะปูควงให้แน่น ปอ้ งกันสายหลุด

193 4. บอกการนาความรเู้ กี่ยวกับอาชีพช่างฟ้าไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นใดบ้าง 1) งานไฟฟา้ ใช้ในการสรา้ งเคร่ืองมอื เครอ่ื งใชต้ ่าง ๆ ที่ใหพ้ ลงั งานความร้อน พลังงานแสง สว่าง พลังงานกล ท่ีมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ เช่น เคร่ืองทาน้าอุ่น เคร่อื งปรับอากาศ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ลฟิ ต์ เปน็ ต้น 2) งานไฟฟ้าช่วยพัฒนาระบบส่ือสาร คมนาคน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ รถไฟฟ้า เป็นตน้ 3) งานไฟฟ้าชว่ ยพัฒนาระบบการผลติ สินคา้ ของโรงงานอุตสาหกรรม 4) ช่วยใหส้ ามารถใช้เครอ่ื งมือ เครอื่ งใช้ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั งานไฟฟา้ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 5) เข้าใจคณุ สมบตั ิของวสั ดขุ องอุปกรณท์ เี่ กีย่ วขอ้ งกับงานไฟฟ้า 6) สามารถซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้าได้เองช่วยทาให้เกิดความประหยัด ทาให้ยืดอายุการ ใช้งานของเครอ่ื งมอื เครื่องใช้ บกพรอ่ งของอปุ กรณ์ 7) หากพัฒนาฝีมือและความรู้จนเกิดความชานาญ สามารถเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง ประกอบเป็นอาชพี เสรมิ หรอื อาชีพหลักได้

194 บรรณานุกรม การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. วทิ ยาศาสตร์ ม.1 หมวดวชิ าวิทยาศาสตร์, 2544. ชุดการศกึ ษา นอกโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธกิ าร . สงขลา : เทมการพิมพ์, มปป. คณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ, สานกั งาน. มนษุ ย์กับธรรมชาต.ิ กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภา, มปป. คณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ, สานักงาน. มนุษยก์ ับธรรมชาต.ิ จัดแปลและพิมพ์ : กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรสุ ภา ถนดั ศรีบญุ เรือง และคณะ. ส่ือการเรยี นรรู้ ายวชิ าพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ สัมฤทธมิ์ าตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 4. กรุงเทพฯ : บริษทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด, มปป. นุภาศพัฒน์ จรูญโรจน์ และคณะ. คู่มอื วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ชวี ภาพ ม.4-5-6. กรุงเทพฯ : ไฮเอด้ พับลชิ ซิง่ บญั ญตั ิ ลายพยคั ฆ์ และชนนิ ทร์ทิพย์ ลายพยคั ฆ์. หมวดวชิ าวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์บรรณกิจ, 2546. ประวติ ร ชศู ลิ ป,์ ยพุ า วรยศ และคณะ. กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ม 3. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทัศน์ อจท.จากัด, มปป. ศึกษาธิการ, กระทรวง. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2544. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภา ลาดพรา้ ว, มปป. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี,สถาบัน. คมู่ อื การทาและการจัดแสดงโครงงาน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, กรุงเทพฯ : สถาบนั การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี, 2531. สถาพร ทพั พะกุล ณ อยุธยา และคณะ. คมู่ ือเตรียมสอบวทิ ยาศาสตร์ ม. 1, 2, 3. กรุงเทพฯ : หจก.สานักพมิ พ์ ภมู บิ ัณฑิตการพิมพ์ จากดั , 2547. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. หนังสือเรียนสาระความรู้ พ้ืนฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์ (พว21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ฉบับ ปรับปรงุ พ.ศ. 2554. กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท., 2554. (เอกสารอัดสาเนา)

195 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั , เอกสารสรุปเนื้อหาทีต่ อ้ งรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (พว21001) หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2558. (เอกสารอดั สาเนา) สุรศักด์ิ อมรรตั นศกั ดิ.์ คณิตศาสตร์ 2, กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวชิ าการ, ม.ป.ป. สุรินทร์ พงศ์ศุภสมิทธ์ิ. คู่มือปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ : สถาบันสง่ เสริม การสอนวิทยาศาสตร์. มปพ., 2550. สวุ ฒั ก์ นิยมค้า. ทฤษฎีและทางปฏบิ ตั ใิ นการสอนวทิ ยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ เล่ม 1. บริษัท เจเนอรลั บุ๊ค เซนเตอร์ จากดั 2531, 385 หนา้ . สวุ ัฒน์ คล่องดี. เทคนคิ การสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ประสบการณ)์ , 2534. เอกสาร เผยแพร่. เสยี ง เชษฐศิริพงศ์. สารและสมบัตขิ องสาร มธั ยมศึกษาปที ี่ 1. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพพ์ ัฒนาศกึ ษา, 2549. ไสว ฟกั ขาว. โครงงานวิทยาศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์ุ, 2540. หน่วยศกึ ษานิเทศก์, กรมอาชีวศกึ ษา. โครงงานวทิ ยาศาสตร์. 2544. เอกสารเผยแพร.่ เว็บไซต์ การแบ่งประเภทดาวเคราะห.์ (ออนไลน์). แหลง่ ท่ีมา : https://goo.gl/LNSJ30. 2 กุมภาพนั ธ์ 2560. การแพร่. (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : https://goo.gl/mJrzlx. 2 กมุ ภาพันธ์ 2560. การแพร่และออสโมซิส. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : http://www.sritani.ac.th/ebook/ chem40222/pretest.htm. การรกั ษาสมดุลของเซลล์. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : http://student.nu.ac.th/ kaewsa/lesson2.htm. คลอโรพลาส. (ออนไลน์). แหล่งท่มี า : http://www.geocities.com/[email protected]/ pic/forweb/ chloroplastsfigure 1.jpg. 17 มิถนุ ายน 2552. ความหมายของสารละลาย. (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : https://goo.gl/nlV7xv. 1 กุมภาพนั ธ์ 2560.

196 โครงสรา้ งพ้ืนฐานของเซลล.์ (ออนไลน์). แหล่งทมี่ า : http://www.student.nu.ac.th/ kaewsa/lesson1.htm. เซลล์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/ contest2551/ science04/45/2/cell/content/nucleus. html. 17 มิถนุ ายน 2552. เซลลแ์ ละการแบ่งเซลล.์ (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : http://www.muichatyai.ac.th/ redesign/download/cell_grade7.ppt#267, 1 ภาพนิง่ 11. 17 มถิ ุนายน 2552. เซลล์และทฤษฎเี ซลล.์ (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมา : http://www.thaigoodview.com/ .../25/.../ cp00_cellandtheory.html. 17 มถิ ุนายน 2552. ดาวพลโู ต. (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : https://goo.gl/RXxJtq. 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2560. ตวั ทาละลาย. (ออนไลน์). แหลง่ ท่ีมา : https://goo.gl/cuWNZ9. 1 กมุ ภาพันธ์ 2560. ทฤษฎีเซลล์. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า : http://www.school.obec.go.th/saneh/ cell/cell/indexk1.htm. 17 มถิ ุนายน 2552. ทาอยา่ งไรใหป้ ลอดภัยในการใช้สารเคมี. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : https://goo.gl/XJBKv7. 2 กมุ ภาพันธ์ 2560. ประเภทของดวงดาว. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://goo.gl/daGt5y. 2 กุมภาพันธ์ 2560. ประโยชนข์ องกลมุ่ ดาว. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : https://goo.gl/CDAVY0. 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2560. ประโยชนข์ องไฟฟ้ากระแสสลับ. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทมี่ า : http://www.thaigoodview.com/node/55812. 2 กุมภาพนั ธ์ 2560. แผนทีด่ าวคืออะไร. (ออนไลน)์ . แหล่งท่มี า : https://goo.gl/GZ5DGC. 2 กุมภาพันธ์ 2560. สมบัตขิ องธาตุ. (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : https://goo.gl/enZ9nt. 1 กมุ ภาพันธ์ 2560. สมบตั ขิ องสารประกอบ. (ออนไลน)์ . แหล่งทมี่ า : https://goo.gl/VBsUgh. 1 กมุ ภาพันธ์ 2560.

197 คณะผจู้ ดั ทา ทป่ี รกึ ษา 1. นายประเสรฐิ บุญเรอื ง เลขาธิการ กศน. 2. นายชาญวิทย์ ทบั สุพรรณ รองเลขาธิการ กศน. 3. นายสุรพงษ์ จาจด รองเลขาธกิ าร กศน. 4. นางวทั นี จนั ทรโ์ อกลุ ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะด้านพฒั นาส่อื การเรียนการสอน 5. นางกนกพรรณ สวุ รรณพทิ กั ษ์ ผ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะด้านการเผยแพร่ทางการศกึ ษา 6. นางศทุ ธินี งามเขตต์ ผ้อู านวยการกลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผเู้ ขียนและเรียบเรียง ขา้ ราชการบานาญ 1. นายอชุ ุ เชอ้ื บ่อคา กศน.อาเภอปางศิลาทอง จงั หวดั กาแพงเพชร 2. นายอนันต์ คงชุม ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาเอกมยั 3. นายสุพจน์ นิธินันทน์ อุทยานวิทยาศาสตรพ์ ระจอมเกล้า ณ หว้ากอ 4. นางสาวนนั ทยา ทวีศักดิ์ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาลาปาง 5. นางประทุม โพธิง์ าม ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษารงั สิต 6. นายอภิชาติ คอยคา กศน.อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท 7. นางอาพันธุ์ คาทวี กศน.อาเภอเมอื ง จังหวดั ราชบรุ ี 8. นางสาวอญั ชลี ภูวพานิช กศน.อาเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบุรี 9. นายวิโรจน์ สุขเทพ กศน.เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10. นางสาวสายใหม่ คงเมอื ง บรรณาธกิ าร ขา้ ราชการบานาญ 1. นายอุชุ เชือ้ บ่อคา ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาลาปาง 2. นางประทมุ โพธิ์งาม กศน.อาเภอจอมบงึ จังหวัดราชบรุ ี 3. นายวโิ รจน์ สขุ เทพ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษารังสติ 4. นายอภชิ าติ คอยคา กศน.เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 5. นางสาวสายใหม่ คงเมอื ง

198 คณะทางาน กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ์ มัน่ มะโน กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป์ กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวสุลาง เพ็ชรสว่าง กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวชมพนู ท สังข์พิชยั กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ผพู้ มิ พ์ตน้ ฉบับ กล่มุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางสาวจุรรี ัตน์ หวงั สริ ริ ัตน์ 2. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผู้ออกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป์

199 คณะผ้จู ดั ทากิจกรรมทา้ ยบทเอกสารสรปุ เนอื้ หาทตี่ อ้ งรู้ ระหว่างวนั ที่ 1 - 3 มถิ นุ ายน 2559 ณ ห้องประชุมบรรจง ชูสกลุ ชาติ ชนั้ 6 สานกั งาน กศน. ทป่ี รกึ ษา เลขาธิการ กศน. 1. นายสรุ พงษ์ จาจด รองเลขาธิการ กศน. 2. นายกิตติศกั ดิ์ รตั นฉายา ผูอ้ านวยการกลมุ่ พฒั นาระบบการทดสอบ 3. นางพรรณทพิ าชนิ ชัชวาล ผูเ้ ขยี น/ผู้เรยี บเรยี ง และบรรณาธกิ าร ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 1. วา่ ที่ ร.ต. พรศักด์ิ ธรรมวานชิ กศน.อาเภอชุมตาบง จงั หวัดนครสวรรค์ 2. นายอภชิ าต คอยคา กศน.อาเภอชมุ แสง จังหวัดนครสวรรค์ 3. นายอนันต์ คงชมุ ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษารงั สิต 4. นางสาวเสาวลักษณ์ พมิ พภ์ ูลาด คณะทางาน กลุ่มพฒั นาระบบการทดสอบ 1. นางเกณิกา ซิกวาร์ทซอน กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ 2. นายธานี เครืออยู่ กลมุ่ พฒั นาระบบการทดสอบ 3. นางสาวจรุ รี ตั น์ หวงั สิรริ ตั น์ กลมุ่ พฒั นาระบบการทดสอบ 4. นางสาวอุษา คงศรี กลุม่ พัฒนาระบบการทดสอบ 5. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพ์ พิ ัฒน์ กล่มุ พฒั นาระบบการทดสอบ 6. นายภาวิต นิธิโสภา กลุม่ พฒั นาระบบการทดสอบ 7. นางสาวหทยั มาดา ดิฐประวรรตน์

200 คณะทางานปรบั ปรุงเอกสารสรุปเนื้อหาทตี่ อ้ งรู้ ระหวา่ งวนั ที่ 1 – 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 ณ ห้องประชุมสถาบนั กศน.ภาคตะวันออก จงั หวัดระยอง ท่ีปรึกษา นายสรุ พงษ์ จาจด เลขาธกิ าร กศน. นางตรนี ชุ สุขสุเดช ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นายวราวธุ พยคั ฆพงษ์ ผู้อานวยการ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก นายเอกวัฒน์ บุญใบ รองผ้อู านวยการ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก คณะทางานปรบั ปรุงเนอ้ื หา/กิจกรรมท้ายบท และบรรณาธกิ าร นางพัชรี ภู่พมุ่ ครู คศ. 3 สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก นางสาวสมทรง นลิ น้อย ครู คศ. 3 สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก นางสปุ รดี า แหลมหลัก ครู คศ. 3 สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก นางสาวพนติ ตา กจิ จนศริ ิ ครู คศ. 3 สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก นางสาวบษุ ยา ปิยารมย์ ครู คศ. 3 สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก นายธวัชชยั สุนทรสวัสด์ิ ครู คศ. 1 สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก นางสาวอุบลรัตน์ ตันไล้ ครู กศน. ตาบล กศน.อาเภอบางคลา้ สานกั งาน กศน. จังหวดั ฉะเชิงเทรา นายนิพนั ธ์ ยอดนิล ครู กศน. ตาบล กศน.อาเภอราชสาส์น สานักงาน กศน. จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา นายสมศกั ดิ์ ศะลาลาศ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมอื งระยอง สานกั งาน กศน. จังหวดั ระยอง นายไพรวรรณ ออ่ นศรี ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมืองระยอง สานกั งาน กศน. จงั หวดั ระยอง นายทน โนนสุวรรณ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอแกลง สานักงาน กศน. จงั หวดั ระยอง นางสาวจุฑารตั น์ โสภะบุญ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอบางละมุง บรรณาธิการ/จัดทาตน้ ฉบับ/จดั ทา QR Code วีดทิ ัศน์ (Clip VDO) นางกญั ญาทพิ เสนาะวงศ์ ครู คศ. 3 สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook