ห น้ า | 1 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 2 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำส่ังกระทรวงศึกษาธกิ ารที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสงั่ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมคี ำส่ังให้โรงเรียนดำเนนิ การใช้หลักสตู รในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดย ใหใ้ ช้ในชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ และ ๔ ตั้งแตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นตน้ มา คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้บรรลุเจตนารมณ์ของหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน ขอขอบคุณผทู้ รงคุณวุฒิ ผู้ที่เก่ยี วข้องทกุ คนท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารดังกลา่ วให้มีความสมบูรณแ์ ละ เหมาะสมสำหรับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับช้ัน สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีกำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ต่อไป คณะผู้จัดทำ ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 3 เรือ่ ง หน้า คำนำ ๔ สารบญั ๕ สว่ นนำ ๖ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๖ เป้าหมายของคณติ ศาสตร์ ๘ เรียนรอู้ ะไรในคณิตศาสตร์ ๘ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ๙ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ๑๐ คุณลักษณะอันพึงประสงคใ์ นการเรียนคณิตศาสตร์ ๑๑ คุณภาพผูเ้ รยี น ๑๔ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๑๕ ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๑๖ โครงสร้างหลกั สูตรชนั้ ปี ๒๓ คำอธบิ ายรายวชิ า ๒๔ โครงสรา้ งรายวชิ า ๒๗ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ๒๘ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๒๙ โครงสรา้ งหลกั สตู รช้นั ปี ๓๖ คำอธบิ ายรายวิชา ๓๗ โครงสร้างรายวิชา ๔๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๔๒ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๔๓ โครงสร้างหลกั สูตรชัน้ ปี คำอธบิ ายรายวิชา โครงสรา้ งรายวิชา ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
เร่ือง ห น้ า | 4 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ หน้า ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๔๖ โครงสร้างหลกั สูตรช้ันปี ๔๗ คำอธบิ ายรายวิชา ๕๓ โครงสร้างรายวชิ า ๕๔ ๕๕ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๕๘ ตัวชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๕๙ โครงสรา้ งหลกั สูตรช้ันปี ๖๒ คำอธบิ ายรายวิชา ๖๓ โครงสร้างรายวชิ า ๖๔ ๖๗ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๖๘ ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๗๑ โครงสรา้ งหลักสูตรชัน้ ปี ๗๒ คำอธบิ ายรายวชิ า ๗๓ โครงสร้างรายวชิ า ๗๘ ๘๐ การตดั สินผลการเรียนตามหลักสตู รแกนกลาง ๘๕ อภธิ านศพั ท์ คำสัง่ ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้กู ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 5 ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ให้เป็นหลักสูตร แกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เปา้ หมายและกรอบทศิ ทางในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๔) พร้อมกนั นีไ้ ด้ปรบั กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รให้มคี วามสอดคลอ้ งกับเจตนารมณ์แหง่ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ท่ีมงุ่ เน้นการกระจาย อำนาจทางการศึกษาให้ทอ้ งถ่ินและสถานศึกษาไดม้ ีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพือ่ ใหส้ อดคล้อง กบั สภาพ และความต้องการของท้องถนิ่ (สำนกั นายกรฐั มนตร,ี ๒๕๔๒) จากการวจิ ัย และตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้หลกั สตู รในชว่ งระยะ ๖ ปที ีผ่ ่านมา (สำนักวชิ าการและมาตรฐาน การศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สำนักผู้ตรวจ ราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบว่า หลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจดุ ดีหลายประการ เช่น ช่วย สง่ เสรมิ การกระจายอำนาจทางการศกึ ษาทำใหท้ ้องถ่ินและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมบี ทบาทสำคัญในการพัฒนา หลักสูตรใหส้ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของท้องถิ่น และมีแนวคิดและหลักการในการสง่ เสรมิ การพัฒนาผเู้ รยี นแบบ องค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทัง้ ในส่วนของเอกสารหลกั สูตร กระบวนการนำหลักสูตรส่กู ารปฏิบตั ิ และผลผลิต ที่เกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่กำหนดสาระและผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวังไว้มาก ทำให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผลไมส่ ะท้อนมาตรฐาน สง่ ผลต่อปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศกึ ษาและการเทยี บ โอนผลการเรียน รวมท้ังปัญหาคุณภาพของผเู้ รยี นในดา้ นความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ อนั ยังไมเ่ ปน็ ทน่ี ่าพอใจ นอกจากนั้นแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ได้ช้ีให้เห็นถึง ความจำเปน็ ในการปรบั เปลยี่ นจดุ เนน้ ในการพฒั นาคุณภาพคนในสงั คมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรอู้ ย่างเทา่ ทนั ให้มีความพรอ้ มท้งั ด้านร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลยี่ น แปลงเพื่อนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างม่ันคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมงุ่ เตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐาน จิตใจท่ดี ีงาม มจี ติ สาธารณะ พร้อมท้งั มสี มรรถนะ ทกั ษะและความรพู้ น้ื ฐานทีจ่ ำเปน็ ในการดำรงชวี ิต อันจะสง่ ผลต่อ การพัฒนาประเทศแบบย่ังยนื (สภาพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ, ๒๕๔๙) ซึง่ แนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับ นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขา้ สู่โลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมี ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 6 คณุ ธรรม รักความเปน็ ไทย ใหม้ ีทักษะการคิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับ ผอู้ ่นื และสามารถอยรู่ ว่ มกบั ผู้อืน่ ในสงั คมโลกไดอ้ ย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑) จากข้อค้นพบในการศกึ ษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ท่ี ผา่ นมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๐ เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาคน ในสังคมไทย และจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพฒั นาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ ๒๑ จงึ เกดิ การทบทวนหลกั สูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมีความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกำหนดวสิ ัยทัศน์ จดุ หมาย สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ดั ทีช่ ัดเจน เพื่อใช้ เป็นทิศทางในการจดั ทำหลกั สตู ร การเรียนการสอนในแตล่ ะระดบั นอกจากนั้นได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนขัน้ ตำ่ ของแตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรใู้ นแตล่ ะช้นั ปไี ว้ในหลกั สตู รแกนกลาง และเปดิ โอกาสใหส้ ถานศึกษาเพม่ิ เติมเวลาเรยี น ได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละ ระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชดั เจนต่อ การนำไปปฏบิ ัติ การจัดหลักสูตรสถานศึกษาจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่ายที่เกีย่ วขอ้ งในระดับ ต่างๆ ต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริม สนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แก้ไข เพ่อื พัฒนาเยาวชนไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ท่กี ำหนดไว้ ๑. กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศษสตรม์ งุ่ พฒั นาผเู้ รียนใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ตาม ศกั ยภาพแตล่ ะบุคคล โดยเนน้ คณุ ธรรม จริยธรรม มีวินัย ใหม้ นุษยม์ ีความคดิ สร้างสรรค์ คดิ อย่างมเี หตผุ ล เป็นระบบ มแี บบแผน สามารถ วเิ คราะหป์ ญั หาหรือสถานการณ์ไดอ้ ยา่ งถ่ีถ้วนรอบคอบ ช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แกป้ ญั หา และนำไปใช้ ในชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม ๒. เปา้ หมายของวิชาคณติ ศาสตร์ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มเี ป้าหมายท่ตี ้องการใหเ้ กิดกับผเู้ รยี นเมือ่ จบหลักสูตร ดงั น้ี 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ในสาระคณิตศาสตร์ท่ีจำเป็น พร้อมทั้งสามารถ นำไปประยุกตไ์ ด้ 2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา ส่ือสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์เช่อื มโยง ให้เหตุผล และมี ความคดิ สร้างสรรค์ 3. มีเจตคติที่ดีตอ่ คณติ ศาสตร์ เห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของคณิตศาสตร์ สามารถนำความรู้ ทางคณติ ศาสตรไ์ ปเป็นเคร่ืองมอื ในการเรียนรใู้ นระดบั การศึกษาทสี่ งู ขนึ้ ตลอดจนการประกอบอาชพี 4. มีความสามารถในการเลือกใช้สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยแี ละแหล่งข้อมูลทีเ่ หมาะสมเพื่อเป็นเครอื่ งมือใน การเรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงาน และการแก้ปญั หาอย่างถกู ตอ้ งและมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นร้กู ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 7 ๓.เรยี นรู้อะไรในคณิตศาสตร์ ในหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร(์ ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดสาระพน้ื ฐานท่ีจำเปน็ สำหรบั ผู้เรียนทุกคนไว้ 3 สาระ ไดแ้ ก่ จำนวนและ พชี คณิต การวดั และเรขาคณติ และสถิตแิ ละความนา่ จะเปน็ จํานวนและพีชคณิต ระบบจำนวนจริง สมบัตเิ กี่ยวกับจำนวนจริงอัตราส่วน ร้อยละ การประมาณค่า การ แก้ปัญหาเกีย่ วกบั จำนวน การใช้จำนวนในชีวิตจริง แบบรปู ความสมั พันธ์ ฟังก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหนุ าม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบ้ียและมลู ค่าของเงนิ เมทริกซ์ จำนวนเชิงซอ้ น ลำดบั และอนุกรม และการนำความรเู้ ก่ยี วกับจำนวนและพชี คณติ ไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ การวัดและเรขาคณิต ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัด ระบบตา่ งๆ การคาดคะเนเกย่ี วกบั การวัดอตั ราส่วนตรีโกณมติ ิ รปู เรขาคณิตและสมบัติของรปู เรขาคณติ การนกึ ภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณติ ในเรือ่ งการเล่ือนขนาน การสะท้อน การ หมุน เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอร์ในสามมิติ และการนำความรู้เกี่ยวกับการวดั และเรขาคณิตไปใช้ในสถานการณ์ ตา่ ง ๆ สถิติและความน่าจะเปน็ การต้ังคำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การคำนวณค่าสถิติ การนำเสนอ และแปลผลสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับเบ้ืองต้น ความน่าจะเป็น การแจกแจงของ ตัวแปรสุม่ การใชค้ วามร้เู กยี่ วกบั สถิติและความน่าจะเปน็ ในการอธบิ ายเหตุการณต์ ่าง ๆ และช่วยในการตัดสนิ ใจ ๔.สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หลักสูตร ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐ สาระที่ ๑ จำนวนและพชี คณิต • มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำาเนินการของ จำนวน ผลท่เี กดิ ขนึ้ จากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ • มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรปู ความสัมพนั ธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนกุ รม และ นำไปใช้ • มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ ิพจน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสัมพันธ์ หรอื ช่วยแกป้ ัญหาท่ี กำหนดให้ สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ • มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้นื ฐานเกยี่ วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ • มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสมั พนั ธ์ระหว่าง รูปเรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระท่ี ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น • มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถิตใิ นการแกป้ ญั หา • มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนับเบ้อื งตน้ ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้ ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นร้กู ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 8 ๕. ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เปน็ ความสามารถทจ่ี ะนำความรูไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียนรูส้ ง่ิ ต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตรใ์ นที่นี้ เน้นที่ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น และต้องการพัฒนาให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ได้แกค่ วามสามารถต่อไปนี้ ๑.การแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการทำความเข้าใจปญั หาคิดวเิ คราะห์ วางแผนแกป้ ญั หาและ เลือกใชว้ ิธกี ารทเ่ี หมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบพรอ้ มทัง้ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๒.การสื่อสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ เปน็ ความสามารถในการใช้รูป ภาษาและ สญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมาย สรุปผล และนำเสนอไดอ้ ย่างถกู ต้อง ชัดเจน ๓.การเช่ือมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ คณิตศาสตรเ์ นื้อหาต่าง ๆ หรือศาสตร์อน่ื ๆและนำไปใชใ้ นชวี ิตจริง ๔.การใหเ้ หตผุ ล เปน็ ความสามารถในการให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผลสนบั สนนุ หรือโต้แยง้ เพ่ือ นำไปสกู่ ารสรุป โดยมีขอ้ เทจ็ จรงิ ทางคณติ ศาสตร์รองรับ ๕.การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดท่ีมีอยู่เดิมหรือสร้างแนวคิดใหม่เพื่อ ปรับปรุงพัฒนาองคค์ วามรู้ ๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นการเรียนคณิตศาสตร์ การจดั การเรียนรคู้ ณิตศาสตรค์ วรมงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ตอ่ ไปน้ี 1. ทำความเขา้ ใจหรอื สรา้ งกรณที ่วั ไปโดยใชค้ วามรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษากรณีตวั อยา่ งหลาย ๆ กรณี 2. มองเห็นว่าสามารถใช้คณติ ศาสตรแ์ กป้ ญั หาในชวี ิตจรงิ ได้ 3. มคี วามมมุ านะในการทำความเข้าใจปัญหาและแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์ 4. สรา้ งเหตผุ ลเพอื่ สนับสนุนแนวคดิ ของตนเองหรอื โตแ้ ยง้ แนวคิดของผอู้ นื่ อย่างสมเหตสุ มผล 5. ค้นหาลักษณะทเี่ กดิ ขนึ้ ซ้ำ ๆ และประยกุ ต์ใช้ลักษณะดงั กลา่ วเพ่ือทำความเข้าใจหรอื แกป้ ัญหาใน สถานการณ์ตา่ ง ๆ ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 9 ๗. คณุ ภาพผเู้ รียน จบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ • อา่ น เขยี นตัวเลข ตัวหนงั สือแสดงจำนวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 มีความรู้สกึ เชงิ จำนวน มที ักษะการบวก การลบ การคณู การหาร และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ • มีความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับเศษส่วนท่ีไม่เกิน 1 มีทักษะการบวก การลบ เศษส่วนที่ตัวส่วน เทา่ กนั และนำไปใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ • คาดคะเนและวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ เลอื กใช้เครอ่ื งมอื และหน่วยที่เหมาะสม บอก เวลา บอกจำนวนเงิน และนำไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ • จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอกและกรวย เขยี นรูปหลายเหลยี่ ม วงกลมและวงรีโดยใช้แบบของรปู ระบุรปู เรขาคณติ ท่ี มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร และนำไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ • อ่านและเขียนแผนภมู ริ ูปภาพ ตารางทางเดียว และนำไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ จบชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ • อ่าน เขียนตวั เลข ตวั หนังสือแสดงจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหนง่ อตั ราส่วน และ ร้อยละ มีความรู้สึกเชิงจำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคณู การหาร ประมาณผลลัพธ์ และ นำไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ • อธบิ ายลักษณะและสมบัตขิ องรปู เรขาคณติ หาความยาวรอบรูปและพื้นทีข่ องรปู เรขาคณติ สรา้ ง รูปสามเหลีย่ ม รปู ส่เี หลี่ยมและวงกลม หาปรมิ าตรและความจขุ องทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉาก และนำาไป ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ • นำเสนอข้อมลู ในรปู แผนภูมิแท่ง ใช้ขอ้ มลู จากแผนภมู ิแท่ง แผนภมู ิรูปวงกลม ตารางสองทาง และ กราฟเส้นในการอธบิ ายเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ และตัดสนิ ใจ ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 10 ช้นั ประถมศึกษปีที่ ๑ ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนร้กู ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 11 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่ เกิดข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. บอกจำนวนของส่ิงต่างๆ แสดงสงิ่ ต่างๆ จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ ตามจำนวนทีก่ ำหนด อา่ นและเขยี น - การนบั ทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐ ตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทยแสดง - การอา่ นและการเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย จำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ แสดงจำนวน ๒. เปรยี บเทียบจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ - การแสดงจำนวนนับไมเ่ กิน ๒๐ ในรูปความสัมพนั ธข์ อง ๐ โดยใชเ้ คร่ืองหมาย = ≠ > < จำนวน แบบส่วนยอ่ ย-สว่ นรวม (part-whole ๓. เรียงลำดบั จำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ relationship) ๐ ตง้ั แต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน - การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้เครือ่ งหมาย = ≠ > < - การเรียงลำดบั จำนวน ๔. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยค การบวก การลบ จำนวนนับ ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐ สัญลักษณ์ แสดงการบวกและประโยค - ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหา สัญลกั ษณ์แสดงการลบของจำนวนนบั ผลบวก การหาผลลบ และความสัมพันธข์ องการบวก ไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ และการลบ ๕. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา - การแก้โจทยป์ ญั หาการบวก โจทยป์ ญั หาการลบ และการ การบวกและโจทยป์ ัญหาการลบของ สร้างโจทยป์ ัญหา พรอ้ มท้งั หาคำตอบ จำนวนนับ ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 12 มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ นั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบจุ ำนวนทห่ี ายไปในแบบรปู ของจำนวน - แบบรปู ของจำนวนทเี่ พม่ิ ขนึ้ หรือลดลงทลี ะ ๑ และ ท่ีเพ่ิมขน้ึ หรือลดลงทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐ ทีละ ๑๐ และระบรุ ปู ทห่ี ายไปในแบบรูปซำ้ ของรปู - แบบรปู ซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณิตและรปู อ่ืนๆ เรขาคณติ และรปู อืน่ ๆ ทส่ี มาชกิ ในแตล่ ะ ชดุ ทซ่ี ำ้ มี ๒ รปู สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพืน้ ฐานเกยี่ วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ตี ้องการวัด และนำไปใช้ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑.วดั และเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ ความยาว เซนตเิ มตร เป็นเมตร - การวดั ความยาวโดยใชห้ นว่ ยทไ่ี ม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน - การวัดความยาวเปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร ๒. วัดและเปรยี บเทยี บน้ำหนักเปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขดี - การเปรยี บเทยี บความยาวเป็นเซนตเิ มตร เปน็ เมตร - การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก การลบเก่ียวกับความยาวทม่ี ี หน่วยเปน็ เซนตเิ มตร เป็นเมตร น้ำหนัก - การวัดนำ้ หนกั โดยใช้หน่วยที่ไมใ่ ช่หนว่ ยมาตรฐาน - การวัดนำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรัม เปน็ ขีด - การเปรียบเทียบน้ำหนกั เปน็ กโิ ลกรัม เปน็ ขีด - การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบเก่ยี วกบั นำ้ หนกั ที่มี หน่วยเป็นกโิ ลกรมั เป็นขีด ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนร้กู ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 13 มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบัตขิ องรปู เรขาคณติ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑.จำแนกรปู สามเหล่ียม รูปสีเ่ หลี่ยม วงกลม รูปเรขาคณิตสองมติ ิ และรูปเรขาคณติ สามมิติ วงรี ทรงสเ่ี หลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกลม - ลักษณะของรปู สเ่ี หล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก ทรงกระบอก และกรวย กรวย - ลกั ษณะของรปู สามเหลีย่ ม รปู สเ่ี หลี่ยม วงกลม และวงรี สาระท่ี ๓ สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแกป้ ญั หา ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑.ใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมริ ปู ภาพในการหา การนำเสนอข้อมูล คำตอบของ โจทยป์ ัญหา เมื่อกำหนด รปู - การอา่ นแผนภูมิรปู ภาพ ๑ รูป แทน ๑ หน่วย ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 14 โครงสรา้ งหลักสตู รช้ันปี หลักสตู รโรงเรยี นวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ดิ์ราษฎรบ์ ำรงุ ) ได้กำหนดเวลาเรียนของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลุม่ สาระ ทเ่ี ปน็ เวลาเรียนพน้ื ฐานเวลาเรียนเพม่ิ เตมิ และเวลาในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น จำแนกแต่ละชน้ั ปี ดงั น้ี โครงสรา้ งหลักสูตรชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 รหัส กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ปี) รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐) ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย1 ๒๐๐ ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์1 ๒๐๐ ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1 8๐ ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 1 4๐ ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ 1 ๔๐ พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1 ๔๐ ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ 1 ๔๐ ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ 1 ๔๐ อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ1 160 รายวชิ าเพิม่ เตมิ (8๐) อ 11201 ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร 40 ส ๑๑2๐3 การป้องกนั การทจุ ริต 40 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ชมุ นุม 30 รวมเวลาเรียนตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร ๑,040 ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 15 คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง/ปี ศกึ ษาการใช้จำนวนบอกปรมิ าณที่ได้จากการนบั การอ่าน และการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตวั เลขไทย แสดงจำนวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ การนับทีละ ๑ และทลี ะ ๑๐ การบอกอนั ดบั ท่ี การแสดงจำนวนนับไมเ่ กนิ ๒๐ ในรูปความสัมพันธ์ของจานวนแบบส่วนย่อย – ส่วนรวม หลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก การเขียนตัวเลข แสดงจำนวนนบั ในรูปกระจายการเปรียบเทียบจำนวน และการใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < การเรียงลาดับจานวนไม่ เกนิ ๕ จำนวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ ความสัมพันธ์ของการ บวกและการลบ โจทยป์ ญั หา แบบรูปของจำนวนท่เี พ่ิมข้นึ หรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ แบบรูปซ้ำของจำนวน รูป เรขาคณติ และรปู อ่ืน ๆ การเปรยี บเทียบและการวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร การเปรียบเทียบและการวดั น้ำ หนักเปน็ กโิ ลกรมั เป็นขดี โจทยป์ ญั หาการบวก และโจทยป์ ัญหาการลบเกี่ยวกับความยาว น้ำหนกั การจำแนกรปู สามเหล่ียม รูปส่ีเหลยี่ ม วงกลม วงรี ทรงสีเ่ หล่ยี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย การใชข้ ้อมลู จากแผนภูมิ รปู ภาพ เม่อื กำหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หน่วย ในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา โดยการจัดประสบการณ์หรอื การสรา้ งสถานการณ์ที่ใกลต้ ัวให้ผ้เู รียนได้ศกึ ษาคน้ คว้าโดยปฏิบัติจรงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ และทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสารและการส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณค์ วามรู้ ความคดิ ทักษะและกระ บวนการทีไ่ ดไ้ ปใช้ในการเรียนรู้ ส่ิงตา่ ง ๆ และใช้ในชวี ติ ประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทง้ั เหน็ คณุ คา่ และมเี จตคตทิ ่ดี ีต่อคณติ ศาสตรส์ ามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบ ระเบยี บ รอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ มีความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ และมีความเชอ่ื มั่นในตนเอง รหสั ตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔, ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวมทงั้ หมด ๑๐ ตัวช้ีวดั ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 16 โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา (ชม.) นำ้ หนักคะแนน ลำดบั ที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรยี นรู้ / ตวั ช้วี ดั ๑๘ ๘ ๑ จำนวนนบั ๑ ถงึ ๑๐ และ ๐ ค ๑.๑ ป. ๑/๑ -การบอกจำนวนนบั 1 ถึง 5 และ 0 ป. ๑/๒ -การเรียงลำดบั 6 ถึง 10 ป. ๑/๓ -การเขียนตวั เลข และตวั หนงั สือแสดง จำนวนหน่ึง และสอง -การเขียนตัวเลข และตัวหนังสอื แสดง จำนวนสาม และส่ี -การเขียนตัวเลข และตวั หนงั สือแสดง จำนวนห้า และศนู ย์ -การเขียนตัวเลข และตัวหนังสอื แสดง จำนวนหก และเจ็ด -การเขยี นตัวเลข และตัวหนังสือแสดง จำนวนแปด และเกา้ -การเขียนตวั เลข และตัวหนังสือแสดง จำนวนสิบ -การเปรยี บเทียบจำนวนโดยการจบั คู่ -การเปรยี บเทียบจำนวน 1 ถึง 10 และ 0 -การเรยี งลำดบั จำนวน 1 ถงึ 10 และ 0 -ความสัมพันธข์ องจำนวนแบบสว่ นย่อย- สว่ นรวมของจำนวนของจำนวน 0 ถงึ 5 -ความสัมพนั ธ์ของจำนวนแบบ ส่วนย่อย-สว่ นรวมของจำนวนของ จำนวน 6 ถงึ 10 -การบอกจำนวนโดยไมต่ อ้ งนบั ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 17 ลำดับท่ี ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา (ชม.) น้ำหนักคะแนน เรียนรู้ / ตวั ชี้วัด ๑5 7 ๒ การบวกจำนวนสองจำนวนท่มี ีผลบวก ไม่เกิน 10 ค ๑.๑ ป. ๑/๔ 16 7 ป. ๑/๕ -การรวมจำนวนสองจำนวน -การบวกและประโยคสญั ลกั ษณ์ -การหาผลบวกโดยการวาดรปู -ศูนยก์ ับการบวก -การบวกจำนวนเดยี วกนั -การบวกทผ่ี ลบวกเป็น 10 -ความสมั พันธ์ของจำนวนแบบส่วนยอ่ ย- สว่ นรวมกบั การบวก -การสลบั ทกี่ ารบวก -สถานการณก์ ารบวก -โจทย์ปญั หาการบวก -การสร้างโจทยป์ ญั หาการบวก ๓ การลบจำนวนสองจำนวนท่ีมีตวั ต้งั ค ๑.๑ ป. ๑/๔ ไม่เกนิ 10 ป. ๑/5 -การลบโดยการเอาออก -การลบโดยการเปรียบเทียบ -การลบโดยความสมั พนั ธข์ องการบวก และการลบ -การลบด้วยศนู ย์ -ความสัมพันธ์ของจำนวนแบบ- สว่ นย่อย-ส่วนรวมกบั การลบ -การหาผลลบโดยใช้กรอบสบิ -การหาผลลบโดยใช้เสน้ จำนวน -การหาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สญั ลักษณ์การบวกและประโยค สญั ลกั ษณก์ ารลบ -สถานการณ์การลบ -โจทย์ปญั หาการลบ -การสร้างโจทยป์ ญั หาการลบจากภาพ -การสรา้ งโจทยป์ ญั หาการลบจาก ประโยคสญั ลกั ษณ์ ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 18 ลำดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา (ชม.) นำ้ หนักคะแนน เรยี นรู้ / ตัวชวี้ ัด ๑2 7 ๔ จำนวนนบั ๑๑ ถึง ๒๐ ค ๑.๑ ป. ๑/๑ ป. ๑/๒ -การนบั สบิ เอด็ ถึงย่สี บิ ป. ๑/๓ -การแสดงจำนวนสิบเอด็ ถงึ ยสี่ ิบดว้ ย กรอบ -การเขียนเลขและตัวหนงั สอื แสดง จำนวนสบิ เอ็ดถึงยส่ี ิบ -การเขยี นจำนวนในรปู แบบกระจาย -การเปรยี บเทยี บจำนวนโดยใชเ้ ส้น จำนวน -การใชเ้ ครอ่ื งหมาย > < และ = -การเรยี งลำดบั จำนวน -ความสมั พนั ธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อย- สว่ นรวม ๕ การบวก การลบจำนวนนบั ไมเ่ กนิ ๒๐ ค ๑.๑ ป. ๑/๔ ๑๙ 9 -การหาผลบวกโดยใช้การนบั ตอ่ ป. ๑/๕ -การหาผลบวกโดยการใช้เส้นจำนวน -การหาผลบวกโดยการใช้การจำนวน เดียวกนั -การหาผลบวกโดยการทำใหค้ รบสบิ -การบวกจำนวนสามจำนวน -การหาผลลบโดยใชก้ ารวาดรปู -การหาผลลบโดยใช้เสน้ จำนวน -การหาผลลบโดยใชก้ ารนบั ตอ่ -การลบจำนวนสามจำนวน -การหาค่าของตัวไมท่ ราบค่า -โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทย์ปญั หา การลบ -การสรา้ งโจทยป์ ญั หาจากภาพ -การสร้างโจทย์ปญั หาจากประโยค สัญลักษณ์ ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 19 ลำดบั ท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา (ชม.) น้ำหนักคะแนน เรียนรู้ / ตัวชว้ี ดั 10 5 ๖ แผนภูมิรปู ภาพ ค 3.๑ ป. ๑/1 15 7 -การอ่านแผนภมู ริ ปู ภาพอยา่ งง่าย -การอ่านแผนภูมริ ปู ภาพ -รอยขดี แผนภูมิรปู ภาพ ๗ การวัดน้ำหนัก ค ๒.1 ป. ๑/2 -การวัดนำ้ หนกั โดยใช้เครอ่ื งชั่งสองแขน อย่างงา่ ย -การน้ำหนักที่ไม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน -การวดั น้ำหนกั เปน็ กโิ ลกรัมโดยใช้เครอื่ ง ช่ังสปรงิ -การคาดคะเนนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัม -การเปรยี บเทียบนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั -การวัดน้ำหนกั เปน็ ขดี -การเปรียบเทียบนำ้ หนักเปน็ ขีด -การแกป้ ัญหาการบวก การลบเกย่ี วกบั นำ้ หนัก -การแกป้ ัญหาการบวก การลบเกี่ยวกบั นำ้ หนักด้วยตัวไม่ทราบค่า ๘ การบอกตำแหน่งและอันดับที่ ค ๑.๑ ป. ๑/3 8 5 การบอกตำแหนง่ ของสง่ิ ตา่ งๆ -การบอกอันดบั ของสิ่งต่างๆ -การแสดงสงิ่ ตา่ งๆตามตำแหนง่ และ อนั ดบั ท่ี -การนำไปใช้ ๙ รปู เรขาคณติ ค ๒.2 ป. ๑/๑ ๑4 7 -ทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย -สง่ิ รอบตวั กับทรงสเี่ หล่ยี มมมุ ฉาก ทรง กลม ทรงกระบอก และกรวย ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 20 ลำดบั ท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา (ชม.) น้ำหนักคะแนน เรียนรู้ / ตวั ชว้ี ัด ๑4 7 ๙ รูปเรขาคณิต (ต่อ) ค ๒.2 ป. ๑/๑ -รปู สามเหลี่ยม รปู ส่ีเหลย่ี ม วงกลม และ วงรี -ลักษณะของรปู สามเหลย่ี ม รปู ส่เี หลีย่ ม วงกลม และวงรี -การเขยี นรปู สามเหล่ยี ม รูปสีเ่ หลี่ยม วงกลม และวงรี -โดยใชแ้ บบของรปู -แบบรูปซ้ำของรปู เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ -การหารปู ทห่ี ายไปในแบบรปู ซำ้ ของรูป เรขาคณิตและรปู อ่นื ๆ -การสรา้ งแบบรปู ซ้ำของรปู เรขาคณิต และรปู อ่นื ๆ -การนำไปใช้ ๑๐ จำนวนนับ ๒๑ ถงึ ๑๐๐ ค ๑.๑ ป. ๑/๑ ๑5 7 -การนบั ทลี ะ 10 ป. ๑/๒ -จำนวนนับ 21 ถงึ 30 ป. ๑/๓ -จำนวนนบั 31 ถงึ 50 -จำนวนนับ 51 ถงึ 100 -หลัก ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของ จำนวนนับไมเ่ กนิ 100 -การเขยี นแสดงจำนวนในรปู กระจาย -การเปรียบเทียบจำนวน -การเรียงลำดบั จำนวน -แบบรูปของจำนวนทเี่ พมิ่ ข้ึนทลี ะ 1 -แบบรปู ของจำนวนทลี่ ดลงทลี่ ะ1 -แบบรปู ของจำนวนทเี่ พม่ิ ขน้ึ ทลี ะ 100 -แบบรปู ของจำนวนทล่ี ดลงทล่ี ะ100 -แบบรปู ของจำนวนบนตารางร้อย ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 21 ลำดับท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา (ชม.) น้ำหนักคะแนน เรยี นรู้ / ตวั ช้ีวัด ๑3 7 ๑๑ การวัดความยาว ค 2.๑ ป. ๑/๑ -การเปรยี บเทียบความยาวของ ส่งิ ตา่ งๆ -การวัดความยาวโดยใช้หนว่ ยทไี่ มใ่ ช่ หนว่ ยมาตรฐาน -การเปรยี บเทียบความยาวโดยใช้หนว่ ย ทีไ่ ม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน -การวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตร -การคาดคะเนความยาวเป็นเซนตเิ มตร -การวัดความยาวเปน็ เมตร -การเปรียบเทียบความยาวทม่ี ีหนว่ ยเปน็ เซนตเิ มตร เป็นเมตร -โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หา การลบ ๑๒ การบวกท่มี ผี ลบวกไมเ่ กนิ ๑๐๐ ค ๑.๑ ป. ๑/๔ ๑2 7 -การบวกจำนวนสองหลกั กับจำนวนหน่ึง ป. ๑/๕ หลกั ท่ผี ลบวกไมเ่ กนิ 100 ไมม่ ีการทด -การบวกจำนวนสองหลกั กบั จำนวนสอง หลักทผ่ี ลบวกไมเ่ กิน 100 ไม่มกี ารทด -การบวกจำนวนสองหลกั กับจำนวนหน่งึ หลกั ท่ีผลบวกไมเ่ กนิ 100 มกี ารทด -การหาผลบวกโดยการตง้ั บวก ไมม่ กี ารทด -การหาผลบวกโดยการตงั้ บวกทมี่ ี การทด ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นร้กู ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 22 ลำดบั ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา (ชม.) น้ำหนกั คะแนน เรียนรู้ / ตวั ชวี้ ดั ๑5 7 ๑๓ การลบจำนวนทมี่ ตี ัวตั้งไมเ่ กิน ๑๐๐ ค ๑.๑ ป. ๑/๔ 18 10 -การลบจำนวนสองหลักกบั จำนวนหนึง่ ป. ๑/๕ หลกั ไมม่ ีการกระจาย ๒๐๐ ๑๐๐ -การลบจำนวนสองหลกั กบั จำนวนสอง หลักไมม่ กี ารกระจาย -การลบจำนวนสองหลักกบั จำนวนหน่งึ หลกั มกี ารกระจาย -การลบจำนวนสองหลักกบั จำนวนสอง หลักมีการกระจาย -การหาผลลบโดยการตง้ั ลบไมม่ ี การกระจาย -การหาผลลบโดยการต้งั ลบมี การกระจาย -ความสมั พันธข์ องการบวกและการลบ การหาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่า ๑๔ โจทยป์ ัญหาการบวกและ ค ๑.๑ ป. ๑/๔ โจทย์ปญั หาการลบ ป. ๑/๕ -สถานการณ์บวก -สถานการณล์ บ -โจทยป์ ญั หาการบวก และโจทยป์ ญั หา การลบ -การสรา้ งโจทย์ปญั หาการบวกและโจทย์ ปัญหาการลบ จากภาพ -การสร้างโจทย์ปญั หาการบวก และโจทยป์ ญั หาการลบจาก ประโยค สญั ลกั ษณ์ รวม ๑๐ ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 23 ช้นั ประถมศึกษปที ี่ ๒ ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนร้กู ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | 24 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวนระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลทเี่ กดิ ข้นึ จากการดำเนินการสมบัตขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๒ ๑. บอกจำนวนของสิ่งตา่ ง ๆ แสดงส่ิงต่าง ๆ จำนวนนบั ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตามจำนวนทก่ี ำหนด อ่านและเขียน -การนบั ทลี ะ ๒ ทีละ ๕ ทลี ะ ๑๐ และทลี ะ ๑๐๐ ตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย ตัวหนงั สอื -การอ่านและการเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ แสดงจำนวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจำนวน ๒. เปรียบเทยี บจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ - จำนวนคู่ จำนวนคี่ และ ๐ โดยใช้เครือ่ งหมาย = ≠ > < -หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการ ๓. เรียงลำดบั จำนวนนบั ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ เขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย ๐ ตัง้ แต่ ๓ ถงึ ๕ จำนวนจากสถานการณ์ -การเปรียบเทียบและเรียงลำดบั จำนวน ต่าง ๆ ๔. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนบั สัญลักษณแ์ สดงการบวกและประโยค ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ สัญลกั ษณแ์ สดงการลบของจำนวนนบั ไม่ -การบวกและการลบ เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ -ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร การหาผล ๕. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค คูณ การหาผลหารและเศษ และความสัมพนั ธ์ของการคณู สญั ลกั ษณ์แสดงการคณู ของจำนวน ๑ และการหาร หลกั กบั จำนวนไมเ่ กนิ ๒ หลัก -การบวก ลบ คณู หารระคน ๖. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยค -การแกโ้ จทยป์ ญั หาและการสร้างโจทยป์ ญั หาพร้อมท้ังหา สัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตวั ต้งั ไม่เกิน ๒ คำตอบ หลกั ตวั หาร ๑ หลกั โดยท่ผี ลหารมี ๑ หลกั ทง้ั หารลงตัว และหารไม่ลงตัว ๗. หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน ของจำนวนนบั ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ๘. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนบั ไมเ่ กิน๑,๐๐๐ และ ๐ ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 25 สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเกยี่ วกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ตี ้องการวัด และนำไปใช้ ชัน้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๒ ๑. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา เวลา เกยี่ วกบั เวลาท่ีมีหน่วยเดยี่ วและเป็น -การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ชว่ ง ๕ นาที) หน่วยเดยี วกัน -การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมง เป็นนาที -การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นช่ัวโมง เป็นนาที ๒. วดั และเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ เมตร -การอา่ นปฏิทิน และเซนตเิ มตร -การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกบั เวลา ๓. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการ ความยาว บวกการลบเกี่ยวกบั ความยาวทีม่ ีหนว่ ย -การวดั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร เป็นเมตรและเซนตเิ มตร -การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร ๔. วัดและเปรียบเทยี บน้ำหนกั เปน็ กโิ ลกรมั -การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสมั พันธร์ ะหว่าง และกรมั กิโลกรมั และขดี เมตรกับเซนตเิ มตร ๕. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาการ -การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั ความยาวท่ีมหี นว่ ยเปน็ เมตร บวกการลบเกย่ี วกบั น้ำหนกั ทม่ี ีหนว่ ยเปน็ และเซนตเิ มตร กิโลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขีด นำ้ หนัก ๖. วัดและเปรียบเทียบปรมิ าตรและความจุ เป็นลิตร -การวัดนำ้ หนกั เปน็ กิโลกรัมและกรัม กิโลกรมั และขดี - การคาดคะเนน้ำหนกั เป็นกโิ ลกรัม -การเปรียบเทียบนำ้ หนักโดยใช้ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง กโิ ลกรัมกับกรัม กิโลกรมั กบั ขดี -การแกโ้ จทย์ปญั หาเกย่ี วกับน้ำหนกั ทม่ี ีหน่วยเปน็ กโิ ลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขีด ปรมิ าตรและความจุ -การวัดปรมิ าตรและความจโุ ดยใช้หน่วยทไ่ี ม่ใช่หนว่ ย มาตรฐาน -การวดั ปรมิ าตรและความจเุ ป็นชอ้ นชา ช้อนโตะ๊ ถว้ ยตวง ลิตร -การเปรยี บเทยี บปริมาตรและความจเุ ป็น ช้อนชา ช้อนโตะ๊ ถว้ ยตวง ลิตร -การแกโ้ จทย์ปญั หาเกี่ยวกบั ปริมาตรและความจุทม่ี หี น่วย เป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะถ้วยตวง ลติ ร ตัวชีว้ ดั และสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | 26 มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๒ ๑. จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลาย รูปเรขาคณติ สองมิติ เหล่ียมและวงกลม - ลักษณะของรูปหลายเหล่ียม วงกลม และวงรี และการเขียนรปู เรขาคณติ สองมิตโิ ดยใช้แบบของรปู สาระที่ ๓ สถติ ิและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๒ ๑. ใชข้ ้อมลู จากแผนภมู ิรปู ภาพในการหา การนำเสนอข้อมูล คำตอบของโจทยป์ ัญหาเมอื่ กำหนดรปู - การอา่ นแผนภมู ิรปู ภาพ ๑ รปู แทน ๒ หน่วย ๕ หน่วย หรือ ๑๐ หน่วย ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๒๗ โครงสร้างหลักสตู รชน้ั ปี หลกั สูตรโรงเรียนวดั พชื นิมติ (คำสวสั ดิร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) ไดก้ ำหนดเวลาเรียนของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระ ทเี่ ป็นเวลาเรียนพน้ื ฐานเวลาเรียนเพม่ิ เติมและเวลาในการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน จำแนกแตล่ ะชน้ั ปี ดงั น้ี โครงสร้างหลกั สตู รชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ รหสั กลุ่มสาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี) รายวชิ าพ้ืนฐาน (๘๔๐) ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย2 ๒๐๐ ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ 2 ๒๐๐ ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 8๐ ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม2 4๐ ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ 2 4๐ พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 ๔๐ ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ 2 ๔๐ ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี 2 ๔๐ อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ2 160 รายวิชาเพม่ิ เตมิ (8๐) อ 12201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร2 40 ส ๑22๐3 การปอ้ งกนั การทจุ ริต2 40 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น (๑๒๐) แนะแนว 40 ลูกเสอื -เนตรนารี 40 กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ชมุ นมุ 30 รวมเวลาเรียนตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร ๑,040 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๒๘ คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง/ปี ศกึ ษาการอ่าน และการเขียนตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจำนวนนับไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ การนบั ทลี ะ ๒ ทลี ะ ๕ ทลี ะ ๑๐ และทลี ะ ๑๐๐ จำนวนคู่ จำนวนค่ี หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และ การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย การเปรยี บเทียบและการเรยี งลำดบั จำนวน การบวกและการลบจำนวน ความหมายของการคณู และการหาร การหาผลคณู การหาผลหารและเศษ ความสมั พันธข์ องการคณู และการหาร การบวก ลบ คณู หารระคน และโจทย์ปญั หา แบบรปู ของจำนวนทีเ่ พ่มิ ขึ้นหรอื ลดลงทลี ะ ๒ ทลี ะ ๕ และทลี ะ ๑๐๐ แบบรปู ซำ้ ของรปู เรขาคณิตและรปู อื่นๆการวัดและการเปรยี บเทียบความยาวเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร การคาดคะเน ความยาวเป็นเมตรการวัดและการเปรียบเทียบนำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั และกรมั กโิ ลกรมั และขีด การวัดและเปรยี บเทยี บ ปรมิ าตรและความจุเปน็ ชอ้ นชา ช้อนโตะ๊ ถ้วยตวง ลิตร โจทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบเกี่ยวกับความ ยาว นำ้ หนัก ปรมิ าตรและความจุ การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที (ช่วง ๕ นาท)ี การบอกระยะเวลาและการ เปรียบเทยี บระยะเวลาเปน็ ชั่วโมง เปน็ นาที การอา่ นปฎิทนิ โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั เวลา การจำแนกและบอกลกั ษณะ ของรปู หลายเหลย่ี ม วงกลม และวงรี การเขยี นรปู เรขาคณิตสองมติ โิ ดยใชแ้ บบของรปู การใช้ข้อมลู จากแผนภูมิ รปู ภาพ เม่อื กำหนดรูป ๑ รปู แทน ๒ หน่วย ๕ หนว่ ย หรอื ๑๐ หน่วย ในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา โดยการจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ท่ใี กล้ตวั ให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาคน้ ควา้ โดยปฎิบตั จิ ริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ และทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสารและการสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการท่ีได้ไปใชใ้ นการเรยี นรู้ส่ิง ต่างๆ และใชใ้ นชวี ิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ และมีความเช่อื มนั่ ในตนเอง รหัสตวั ชีว้ ดั ค ๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗ ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวชี้วัด ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๒๙ โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง ลำดับ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้/ตัวช้วี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ จำนวนนบั ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ ค ๑.๑ ป.๒/๑ ๑9 10 - เตรยี มความพร้อม ป.๒/๒ - การนับทีละ 5 ป.๒/3 - จำนวนนับไมเ่ กิน 200 - จำนวนนับ 201 ถงึ 1,000 - หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก ของจำนวนไม่เกนิ 1,000 - การเปรียบเทยี บจำนวน - การเรยี งลำดบั จำนวน - จำนวนคู่ จำนวนคี่ - แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พิม่ ข้นึ ทลี่ ะ 2 และแบบรปู ของจำนวนทลี่ ดลง ทลี ะ 2 - แบบรปู ของจำนวนทีเ่ พิม่ ขึน้ ทล่ี ะ 5 และแบบรปู ของจำนวนทล่ี ดลง ทลี ะ 5 - แบบรูปของจำนวนที่เพ่มิ ขนึ้ ทล่ี ะ 100 และแบบรูปของจำนวนทล่ี ดลง ทลี ะ 100 ๒ การบวกและการลบจำนวนนบั ค ๑.1 ป.๒/4 29 10 ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ - การหาผลบวกโดยใชเ้ สน้ จำนวน - การหาผลบวกโดยใช้แผ่นตาราง ร้อย แผ่นตารางสบิ แผน่ ตาราง หน่วย - การหาผลบวกโดยการตง้ั บวกไม่มี การทด ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ลำดับ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา ห น้ า | ๓๐ ที่ เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั (ช่ัวโมง) นำ้ หนกั ๒ การบวกและการลบจำนวนนบั ค ๑.1 ป.๒/4 29 คะแนน ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ (ต่อ) 10 - การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการ ทด - การหาผลบวกของจำนวนสาม จำนวน - การหาผลลบโดยใช้เส้นจำนวน - การหาผลลบโดยใช้แผ่นตารางร้อย แผน่ ตารางสบิ แผ่นตารางหน่วย - การหาผลลบโดยการตั้งลบไมม่ กี าร กระจาย - การหาผลลบโดยการตง้ั ลบมกี าร กระจาย - การหาผลลบของจำนวนสาม จำนวน - ความสัมพันธข์ องการบวกและ การลบ - การหาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ใน ประโยคสญั ลักษณ์การบวกและ ประโยคสญั ลักษณ์การลบ - โจทยป์ ัญหาการบวกและโจทย์ ปญั หาการลบ - การสร้างโจทยป์ ญั หาการบวกและ โจทยป์ ัญหาการลบ จากภาพ - การสร้างโจทยป์ ญั หาการบวกและ โจทยป์ ญั หาการลบจากประโยค สญั ลกั ษณ์ ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนร้กู ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ลำดับ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา ห น้ า | ๓๑ ที่ เรยี นร้/ู ตัวช้วี ดั (ช่วั โมง) นำ้ หนกั ๓ การวัดความยาว ค 2.1 ป.๒/2 ๑8 คะแนน ป.๒/3 - การแกป้ ญั หาการวดั ความยาวเป็น 10 เซนตเิ มตร - การวัดความยาวเปน็ เมตรและ 10 เซนติเมตร - ความสัมพันธร์ ะหว่างเมตรกับ เซนติเมตร - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร - การเปรยี บเทยี บความยาว(1) - การเปรยี บเทยี บความยาว(2) - การวดั และเปรียบเทียบระยะทาง - การบวกและการลบเก่ยี วกับความ ยาว - โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทย์ ปญั หาการลบ ๔ การวดั น้ำหนัก ค 2.๑ ป.๒/4 ๑9 - การวดั นำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั และขดี ป.๒/5 - การวัดน้ำหนักตัว - การวัดนำ้ หนักเป็นกรมั - การวัดนำ้ หนักเป็นกิโลกรมั และ กรัม - ความสมั พันธ์ของหน่วยน้ำหนัก - การเปรยี บเทยี บนำ้ หนัก - การบวกและการลบเกย่ี วกบั น้ำหนกั - โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทย์ ปัญหาการลบ ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ลำดับ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา ห น้ า | ๓๒ ท่ี เรียนรู/้ ตัวช้ีวัด (ชั่วโมง) น้ำหนกั ๕ การคณู ค ๑.1 ป.๒/5 22 คะแนน - ความหมายของการคณู 10 - หนึ่งและศนู ยก์ ับการคณู 10 - การคูณจำนวนหนงึ่ หลกั กบั จำนวน หนึ่งหลกั - การคูณจำนวนหนง่ึ หลักกบั 10 20 30…90 - การคณู จำนวนหนง่ึ หลกั กบั จำนวน สองหลกั โดยการต้ังคณู - การพฒั นาความรสู้ ึกเชงิ จำนวน เกย่ี วกับการคณู - การหาคา่ ของตวั ไมท่ ราบคา่ ใน ประโยคสญั ลกั ษณก์ ารคณู - โจทยป์ ญั หาการคูณ - การสรา้ งโจทยป์ ัญหาการคณู จากภาพ - การสรา้ งโจทย์ปญั หาการคูณ จากประโยคสัญลกั ษณ์ 6 การหาร ค ๑.1 ป.๒/6 21 - ความหมายของการหาร(1) - ความหมายของการหาร(2) - การหาผลหารโดยใช้ตัวนบั - ความสมั พนั ธข์ องการคูณและการ หาร - การหาผลหารโดยความสมั พนั ธ์ของ การคณู และการหาร - การหารลงตวั และการหารไมล่ งตวั - การหาผลหารและเศษ - การพฒั นาความรสู้ กึ เชงิ จำนวน เกย่ี วกับการหาร ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ลำดบั ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา ห น้ า | ๓๓ ที่ เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั (ชั่วโมง) นำ้ หนัก ๖ การหาร (ต่อ) ค ๑.1 ป.๒/6 21 คะแนน - การหาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ใน 10 ประโยคสญั ลักษณ์การหาร 8 - โจทยป์ ัญหาการหาร - การสรา้ งโจทย์ปัญหาการหาร จาก 8 ภาพ - การสรา้ งโจทย์ปัญหาการหาร จาก ประโยคสัญลักษณ์ 7 เวลา ค 2.1 ป.๒/1 ๑5 - การอ่านปฏิทนิ (1) - การอา่ นปฏทิ ิน(2) - การเขียนแสดงวัน เดอื น ปี - การบอกเวลาเป็นนาฬิกา - การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที - การบอกระยะเวลาเป็นชวั่ โมง เป็นนาที - การบอกเวลาดว้ ยนาฬิกา แบบใชต้ ัวเลข - โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั เวลา 8 การวัดปริมาตร ค ๒.๑ ป.๒/๖ ๑9 - การวดั และเปรียบเทียบปรมิ าตร ของของเหลวโดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่ หนว่ ยมาตรฐาน - การวัดและเปรียบเทียบปรมิ าตร ของของแหง้ โดยใช้หน่วยทไี่ ม่ใช่ หนว่ ยมาตรฐาน - การวดั ปริมาตรเปน็ ลิตร ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ลำดับ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา ห น้ า | ๓๔ ที่ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด (ชั่วโมง) นำ้ หนกั ๘ การวดั ปริมาตร (ต่อ) ค ๒.๑ ป.๒/๖ ๑9 คะแนน - การคาดคะเนปริมาตรเปน็ ลิตร 9 - การเปรียบเทยี บปรมิ าตรเป็นลติ ร 8 - การวดั และเปรียบเทียบปรมิ าตร เปน็ ช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง 8 - ความจขุ องภาชนะเป็นลติ ร - การเปรียบเทียบความจขุ องภาชนะ - โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทย์ ปัญหาการลบ 9 รปู เรขาคณติ ค ๒.2 ป.๒/1 10 - ทรงสเี่ หลีย่ มมมุ ฉากกบั รปู สเี่ หล่ยี ม มมุ ฉาก ทรงกลมกบั วงกลม - รปู หลายเหล่ยี ม - วงกลมและวงรี - แบบรูปซำ้ ของรปู เรขาคณิตและรปู อนื่ ๆ 10 การบวก ลบ คณู หารระคน ค ๑.1 ป.๒/7 16 ป.๒/8 - การหาผลลัพธ์การบวก ลบ คณู หารระคน - สถานการณ์การบวกและการลบ 2 ขนั้ ตอน - โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบ 2 ขัน้ ตอน - สถานการณก์ ารบวก การลบ การคณู และการหาร 2 ข้ันตอน - โจทยป์ ญั หาการบวก การลบ การคูณ และการหาร 2 ขน้ั ตอน ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ลำดบั ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา ห น้ า | ๓๕ ที่ เรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด (ชั่วโมง) นำ้ หนัก ๑๑ แผนภูมิรูปภาพ ค 3.๑ ป.๒/1 12 คะแนน - แผนภมู ิรปู ภาพทก่ี ำหนดรปู 1 รปู ๒๐๐ 8 แทน 2 หนว่ ย - แผนภูมิรปู ภาพท่ีกำหนดรปู 1 รปู ๑๐๐ แทน 5 หนว่ ย - แผนภูมิรปู ภาพที่กำหนดรปู 1 รูป แทน 10 หน่วย รวม ๑๖ ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๓๖ ช้นั ประถมศึกษปที ี่ ๓ ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนร้กู ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๓๗ ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระที่ ๑ จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวนระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกดิ ขนึ้ จากการดำเนนิ การสมบตั ิของการดำเนินการ และนำไปใช้ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.๓ 1. อา่ นและเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย จำนวนนับไม่เกนิ 100,000 และ 0 และตัวหนงั สอื แสดงจำนวนนบั ไม่เกิน - การอา่ น การเขยี นตัวเลขฮนิ ดอู ารบิกตัวเลขไทย 100,000 และ 0 และตัวหนงั สอื แสดงจำนวน 2. เปรยี บเทยี บและเรียงลำดับจำนวนนับไมเ่ กิน - หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียน 100,000 จากสถานการณ์ต่าง ๆ ตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย - การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับจำนวน 3. บอกอ่านและเขียนเศษสว่ นแสดงปริมาณสิ่ง เศษส่วน ตา่ ง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนทีก่ ำหนด - เศษส่วนท่ตี ัวเศษนอ้ ยกว่าหรอื เท่ากบั ตวั ส่วน 4. เปรยี บเทยี บเศษส่วนท่ีตวั เศษเท่ากัน โดยท่ีตวั - การเปรยี บเทยี บและเรียงลำ ดบั เศษส่วน เศษน้อยกวา่ หรือเทา่ กบั ตวั สว่ น 5. หาค่าของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์ การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ ไม่ แสดงการบวกและประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดง การ เกนิ 100,000 และ 0 ลบของจำ นวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 6. - การบวกและการลบ หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลกั ษณ์ - การคณู การหารยาว และการหารสั้น แสดงการคูณของจำ นวน 1 หลักกบั จำ นวน ไม่ - การบวก ลบ คูณ หารระคน เกิน 4 หลัก และจำ นวน 2 หลักกบั จำ นวน 2 - การแกโ้ จทยป์ ญั หาและการสรา้ งโจทยป์ ัญหา หลกั 7. หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยค พรอ้ มทั้งหาคำ ตอบ สญั ลกั ษณ์ แสดงการหารที่ตวั ตัง้ ไมเ่ กิน 4 หลกั ตวั หาร 1 หลัก 8. หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคนของ จำ นวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 9. แสดงวธิ หี าคำ ตอบของโจทยป์ ญั หา 2 ข้นั ตอน ของจำ นวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 10. หาผลบวกของเศษส่วนทีม่ ีตวั สว่ นเทา่ กนั การบวก การลบเศษสว่ น และ ผลบวกไม่เกิน 1 และหาผลลบของเศษสว่ น - การบวกและการลบเศษส่วน ที่มตี วั ส่วนเทา่ กนั - การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หา การ 11. แสดงวิธหี าคำ ตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก ลบเศษสว่ น เศษส่วนท่ีมีตวั สว่ นเท่ากนั และผลบวกไมเ่ กนิ 1 และโจทยป์ ญั หาการลบเศษสว่ นที่มีตวั สว่ น เท่ากัน ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | ๓๘ มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั ลำดบั และอนกุ รม และนำไปใช้ ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๓ 1. ระบจุ ำ นวนทห่ี ายไปในแบบรปู ของจำ นวน -แบบรูปของจำ นวนที่เพม่ิ ขน้ึ หรือลดลงทลี ะ เทา่ ๆ ที่เพิม่ ขนึ้ หรือลดลงทลี ะเทา่ ๆ กนั กนั สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเกีย่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ตี อ้ งการวัด และนำไปใช้ ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๓ ๑. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั เงิน เงิน - การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดงจำนวน เงนิ แบบใช้จุด - การเปรยี บเทียบจำนวนเงินและการแลกเงิน - การอ่านและเขยี นบนั ทกึ รายรับ รายจ่าย - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั เงนิ ๒. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ียวกบั เวลา เวลา และระยะเวลา - การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที - การเขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หพั ภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอา่ น - การบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมงและนาที - การเปรยี บเทยี บระยะเวลาโดยใชค้ วาม สมั พันธ์ ระหวา่ งชัว่ โมงกบั นาที - การอ่านและการเขยี นบันทกึ กจิ กรรมท่รี ะบุ เวลา - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกยี่ วกบั เวลาและระยะเวลา 3. เลอื กใชเ้ คร่อื งวัดความยาวทเ่ี หมาะสม วดั และ ความยาว บอกความยาวของสง่ิ ตา่ ง ๆ เปน็ เซนติเมตรและ - การวัดความยาวเปน็ เซนติเมตรและมลิ ลเิ มตร มิลลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร 4. คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็น เมตรและเซนติเมตร กโิ ลเมตรและเมตร เซนตเิ มตร - การเลอื กเครอื่ งวดั ความยาวทเ่ี หมาะสม 5. เปรยี บเทยี บความยาวระหวา่ งเซนตเิ มตรกบั - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเปน็ มิลลิเมตร เมตรกับเซนตเิ มตร กิโลเมตรกบั เมตร เซนตเิ มตร จากสถานการณต์ ่าง ๆ - การเปรยี บเทียบความยาวโดยใช้ความ สมั พนั ธ์ ระหวา่ งหน่วยความยาว 6. แสดงวิธหี าคำ ตอบของโจทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกบั ความยาว ความยาวที่มหี นว่ ยเปน็ เซนติเมตรและ มลิ ลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตร และเมตร ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรูก้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๓๙ ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 7. เลือกใชเ้ ครอื่ งชง่ั ที่เหมาะสม วดั และบอก นำ้ นำ้ หนกั หนักเปน็ กโิ ลกรัมและขดี กโิ ลกรมั และกรมั 8. คาดคะเนน้ำ หนกั เปน็ กิโลกรมั และเปน็ ขีด - การเลือกเครอ่ื งช่ังทเี่ หมาะสม 9. เปรยี บเทียบนำ้ หนักระหวา่ งกิโลกรมั กบั กรมั - การคาดคะเนน้ำ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั และเป็นขดี เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรัม จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ - การเปรยี บเทยี บน้ำ หนกั โดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ 10. แสดงวิธีหาคำ ตอบของโจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ระหว่างกโิ ลกรมั กบั กรัม เมตรกิ ตันกบั กิโลกรัม นำ้ หนักท่ีมหี น่วยเป็นกโิ ลกรัมกบั กรมั เมตริกตนั - การแก้โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั น้ำ หนัก กบั กโิ ลกรัม ๑๑. เลือกใชเ้ คร่ืองตวงท่เี หมาะสม วัดและ ปริมาตรและความจุ เปรียบเทียบปรมิ าตร ความจเุ ปน็ ลติ ร - การวดั ปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลิตรและ และมลิ ลลิ ิตร มิลลลิ ิตร ๑๒. คาดคะเนปริมาตรและความจเุ ป็นลติ ร ๑๓. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับ - การเลือกเครอื่ งตวงทเ่ี หมาะสม ปรมิ าตรและความจุท่มี หี น่วยเปน็ ลิตรและ - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจุเปน็ ลิตร มิลลลิ ิตร - การเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจโุ ดยใช้ ความสัมพนั ธ์ระหว่างลิตรกบั มลิ ลลิ ิตร ช้อนชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวงกบั มลิ ลิลติ ร - การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ปริมาตรและ ความจุทีม่ หี น่วยเป็นลิตรและมลิ ลลิ ติ ร มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหว่างรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.๓ 1. ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมิตทิ มี่ ีแกนสมมาตร รูปเรขาคณติ สองมิติ และจำ นวนแกนสมมาตร - รปู ท่ีมแี กนสมมาตร ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนร้กู ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๔๐ สาระท่ี ๓ สถติ ิและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ญั หา ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๓ ๑. เขียนแผนภมู ริ ปู ภาพ และใชข้ ้อมูลจาก การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการนำเสนอข้อมลู แผนภมู ริ ปู ภาพในการหาคำตอบของโจทย์ - การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และจำแนกข้อมลู ปัญหา - การอา่ นและการเขียนแผนภมู ริ ูปภาพ ๒. เขียนตารางทางเดียวจากขอ้ มูลท่เี ป็น - การอ่านและการเขยี นตารางทางเดียว จำนวนนับ และใช้ขอ้ มูลจากตารางทางเดียว (One-Way Table) ในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | ๔๑ โครงสรา้ งหลักสตู รช้ันปี หลักสตู รโรงเรยี นวัดพชื นิมติ (คำสวสั ดิร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) ได้กำหนดเวลาเรียนของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลุม่ สาระ ทเ่ี ปน็ เวลาเรียนพน้ื ฐานเวลาเรยี นเพม่ิ เตมิ และเวลาในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น จำแนกแต่ละชน้ั ปี ดงั น้ี โครงสรา้ งหลกั สูตรชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ รหัส กล่มุ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ป)ี รายวชิ าพื้นฐาน (๘๔๐) ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย 3 ๒๐๐ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ 3 ๒๐๐ ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 8๐ ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 3 4๐ ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ 3 ๔๐ พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 3 ๔๐ ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ 3 ๔๐ ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ 3 ๔๐ อ ๑๓๑๐๓ ภาษาอังกฤษ3 160 รายวชิ าเพิม่ เตมิ (8๐) อ 13201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 40 ส ๑32๐3 การป้องกันการทจุ ริต 40 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ชมุ นุม 30 รวมเวลาเรยี นตามโครงสรา้ งหลักสูตร ๑,040 ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๔๒ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐0 ชัว่ โมง ศกึ ษาการอ่านและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกบั จำนวนไม่เกิน ๔ หลกั และจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาค่าของตวั ไม่ ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการหารท่ีตวั ต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอน ของจำนวนนับ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณสง่ิ ตา่ ง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วนที่ กำหนด เปรยี บเทียบเศษส่วนที่ตวั เศษเท่ากนั โดยที่ทตี่ ัวเศษนอ้ ยกว่าหรือเทา่ กบั ตัวสว่ น หาผลบวกของเศษส่วนทม่ี ี ตวั ส่วนเทา่ กันและผลบวกไมเ่ กิน ๑ และหาผลลบของเศษส่วนทม่ี ีตวั ส่วนเทา่ กนั แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปญั หา การบวกเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน และผลบวกไม่เกิน๑ และโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันระบุ จำนวนที่หายไปในแบบรปู ของ จำนวนทเ่ี พ่ิมข้นึ หรอื ลดลงทลี ะเทา่ ๆ กัน เลือกใชเ้ ครื่องมอื วดั ความยาวท่ีเหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิง่ ต่าง ๆเป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร เมตร และเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร เปรียบเทยี บความยาวระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จาก สถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนกั เป็นกิโลกรัมและเป็นขดี เปรยี บเทยี บน้ำหนกั ระหว่างกโิ ลกรมั กับกรัม เมตรกิ ตันเปน็ กโิ ลกรัม จาก สถานการณ์ตา่ ง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมแี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขยี นแผนภูมิ และใช้ขอ้ มูล จากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา และเขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลท่ีเป็นจำนวนนับ และใช้ ข้อมูลจากตารางทางเดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาแสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวเงนิ ของโจทย์ ปญั หาเก่ียวกบั เวลา ระยะเวลา ความยาว ท่ีมีหน่วยเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตร และเมตร และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักท่ีมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับ กิโลกรัม โดยการจัดประสบการณห์ รือการสร้างสถานการณ์ทใี่ กลต้ ัวให้ผเู้ รยี นได้ศึกษาคน้ ควา้ โดยปฎิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ และทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสารและการส่ือ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และนำประสบการณ์ความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรยี นรูส้ ิ่ง ต่างๆ และใชใ้ นชวี ิตประจำวนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มคี วามคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ และมีความเช่อื ม่นั ในตนเอง รหัสตวั ช้วี ดั ค ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ป.๓/๑๒ ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ รวมท้ังหมด ๒๘ ตัวช้ีวัด ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | ๔๓ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง ลำดบั ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา นำ้ หนกั ที่ เรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน ๑ จำนวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ ป.๓/๑ ๑๘ ๙ ป.๓/๑- -การอ่านและเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย ป.๓/๒ และตวั หนังสือแสดงจำนวน -หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขยี น ตวั เลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย -การเปรียบเทียบจำนวน -การเรยี งลำดบั จำนวน -แบบรูปของจำนวนทเี่ พ่ิมขึ้น -แบบรปู ของจำนวนทล่ี ดลง ๒ การบวก และลบจำนวนทม่ี ผี ลบวกไม่เกิน ค ๑.๑ ป.๓/๕ ๑๘ ๙ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๐ ๖ -การบวกจำนวนสองจำนวนท่มี ผี ลบวกไม่เกนิ ๑,๐๐๐ ไม่มีทดและมตี วั ทด -การบวกจำนวนสองจำนวนทม่ี ผี ลบวกไมเ่ กิน ๑๐,๐๐๐ ไมม่ ที ดและมีตวั ทด -การบวกจำนวนสองจำนวนที่มผี ลบวกไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ไมม่ ที ดและมีตัวทด -การบวกจำนวนสามจำนวนที่มผี ลบวกไม่เกนิ 100,000 -การลบจำนวนสองจำนวนทมี่ ตี วั ตั้งไมเ่ กิน 1,000 ไม่มกี ารกระจายและมกี ารกระจาย -การลบจำนวนสองจำนวนทมี่ ีตัวต้ังไม่เกิน 1๐,000 ไมม่ กี ารกระจายและมกี ารกระจาย -การลบจำนวนสองจำนวนทมี่ ตี วั ตั้งไม่เกิน 1๐๐,000 ไมม่ กี ารกระจายและมกี ารกระจาย -การลบจำนวนสามจำนวนทมี่ ีตัวตง้ั ไม่เกนิ 100,000 -การหาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์ แสดงการบวกและการลบ ๓ โจทยป์ ัญหาการบวก และลบจำนวนที่มีผลบวก ค ๑.๑ ป.๓/๙ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ -วเิ คราะหแ์ ละแสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๔๔ ลำ ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา นำ้ หนกั ดับที่ เรียนรู/้ ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน -การแสดงวธิ ที ำโจทยป์ ัญหาการบวก ๗ -การวิเคราะห์โจทย์ปญั หาการลบและหาคำตอบ -การแสดงวิธีทำโจทยป์ ัญหาการลบ ๓ -การสรา้ งโจทยป์ ญั หาการบวกจากภาพ ๕ -การสรา้ งโจทยป์ ญั หาการลบจากภาพ ๘ -การสรา้ งโจทย์ปญั หาการบวกจากประโยค สญั ลักษณ์ ๑๐ ๔ เวลา ค ๒.๑ ป.๓/๑ ๑๖ -บอกเวลาบนหนา้ ปัดนาฬิกาช่วง -การอา่ นและเขยี นบอกเวลาทมี มี หพั ภาค (.) หรือ ๕ ทวิภาค (:) ๗ -การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาที ๑๖ -การเปรยี บเทียบระยะเวลา -โจทย์ปญั หาการบวกเกย่ี วกบั เวลาและระยะเวลา ๑๘ -การอ่านและเขียนบันทึกกจิ กรรมที่ระบเุ วลา ๕ รูปเรขาคณติ ค ๒.๒ ป.๓/๑ -รปู เรขาคณติ สองมิตทิ ่ีมแี กนสมมาตร -การประยุกต์ใช้รปู ทม่ี แี กนสมมาตร ๖ แผนภมู ริ ูปภาพและตารางทางเดยี ว ค ๓.๑ ป.๓/๑ -การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และจำแนกขอ้ มลู ป.๓/๒ -การอา่ นแผนภมู ริ ปู ภาพ -การเขียนแผนภมู ริ ูปภาพ -การอา่ นตารางทางเดยี ว -การเขียนตารางทางเดียว ๗ เศษสว่ น ค ๑.๑ ป.๓/๓ -การอา่ นและการเขียนเศษสว่ นทต่ี ัวเศษน้อยกว่า ป.๓/๔ หรอื เท่ากบั ตวั ส่วน ป.๓/๑๐ -การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดบั เศษส่วนทม่ี ีตวั ป.๓/๑๑ สว่ นเท่ากนั -การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดบั เศษส่วนทมี่ ตี วั เศษ เทา่ กัน -การบวกเศษส่วนที่มีตวั สว่ นเท่ากัน -การลบเศษส่วนทม่ี ีตวั สว่ นเทา่ กนั -โจทยป์ ญั หาการบวกเศษสว่ นทมี่ ตี ัวสว่ นเทา่ กัน -โจทย์ปญั หาการลบเศษส่วนท่มี ีตัวสว่ นเทา่ กนั ๘ การคูณ -การคูณจำนวนหนง่ึ หลักกบั จำนวนสองหลกั ค ๑.๑ ป.๓/๖ ป.๓/๙ -การคูณจำนวนหนงึ่ หลักกบั 100, 200, 300, ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๔๕ ลำ ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา น้ำหนัก ดบั ท่ี เรยี นรู้/ตัวชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน ..., 900 ๑๗ ๘ -การคูณจำนวนหนงึ่ หลักกบั 1,000, 2,000, ๑๙ 3,000, ..., 9,000 ๑๐ -การคณู จำนวนที่มหี นึง่ หลกั กับจำนวนสามหลกั (ไม่มีการทด) -การคณู จำนวนทมี่ หี นึ่งหลกั กับจำนวนสามหลกั (มี การทด) -การคูณจำนวนทม่ี หี น่งึ หลกั กับจำนวนสหี่ ลัก -การคูณจำนวนที่มสี องหลกั กับจำนวนสองหลกั -การหาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณ -การวเิ คราะห์โจทย์ปญั หาการคูณและหาคำตอบ -การแสดงวธิ ที ำโจทยป์ ัญหาการคูณ -การสรา้ งโจทยป์ ญั หาการคูณจากภาพและ ประโยคสัญลักษณ์ ๙ การหาร -การหารที่ตัวตัง้ สองหลกั ตัวหารหน่ึงหลกั โดยการ ค ๑.๑ ป.๓/๗ ป.๓/๙ หารยาว -การหารทตี่ ัวตง้ั สามหลัก ตวั หารหนึง่ หลกั โดยการ หารยาว -การหารทตี่ วั ตง้ั ส่หี ลัก ตัวหารหนึ่งหลกั โดยการ หารยาว -การหารทีต่ วั ตง้ั สองหลกั ตวั หารหนงึ่ หลักโดยการ หารสั้น -การหารทต่ี ัวตงั้ สามหลกั ตวั หารหนึง่ หลักโดยการ หารสน้ั -การหารทต่ี ัวตัง้ สหี่ ลัก ตวั หารหน่ึงหลกั โดยการ หารสนั้ -การหาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการหาร -การวิเคราะหโ์ จทยป์ ญั หาการหารและหาคำตอบ -การแสดงวธิ ีทำโจทยป์ ญั หาการหาร -การสร้างโจทยป์ ัญหาการหารจากภาพและ ประโยคสญั ลักษณ์ ๑๐ การวัดความยาว ค ๒.๑ ป.๓/๓ -การวดั ความยาวเป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร ป.๓/๔ -การวดั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร ป.๓/๕ -การวัดความยาวเปน็ กิโลเมตรและเมตร ป.๓/๖ -การเลอื กเครอ่ื งวัดความยาวที่เหมาะสม ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๔๖ ลำ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา นำ้ หนกั ดบั ที่ เรียนร้/ู ตวั ชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน -การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร ๗ -การวดั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร ๗ -ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว -การเปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสัมพันธ์ ระหว่างเซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร -การเปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสมั พันธ์ ระหว่างเมตรและเซนตเิ มตร -การบวกและการลบเก่ียวกับความยาวเป็น เซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร -การบวกและการลบเกีย่ วกบั ความยาวเปน็ เมตร และเซนตเิ มตร -การบวกและการลบเกี่ยวกบั ความยาวเป็น กิโลเมตรและเมตร -การคูณและการหารเกี่ยวกบั ความยาวเป็น เซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร -การคณู และการหารเกี่ยวกบั ความยาวเปน็ เมตร และเซนติเมตร -การคณู และการหารเกี่ยวกบั ความยาวเป็น กโิ ลเมตรและเมตร -โจทย์ปญั หาการบวกเกีย่ วกบั ความยาว ๑๑ การวดั น้ำหนัก ค ๒.๑ ป.๓/๗ ๑๕ -การวัดนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัมและขีด กโิ ลกรัมและ ป.๓/๘ ๑๖ กรัม ป.๓/๙ -การเลอื กเคร่ืองช่ังท่ีเหมาะสม ป.๓/๑๐ -การคาดคะเนน้ำหนกั เป็นกโิ ลกรัมและขีด -ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหนว่ ยนำ้ หนกั -การเปรยี บเทียบนำ้ หนัก -การบวกเก่ยี วกบั นำ้ หนกั -การลบเกีย่ วกบั น้ำหนัก -การคูณเก่ยี วกบั นำ้ หนกั -การหารเกย่ี วกบั น้ำหนกั -โจทย์ปญั หาการบวกและลบเก่ยี วกับน้ำหนกั -โจทย์ปญั หาการคูณและหารเกย่ี วกับน้ำหนัก ๑๒ การวัดปรมิ าตร ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ ป.๓/๑๒ -การวดั ปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตรและมลิ ลลิ ิตร ป.๓/๑๓ -การเลอื กเคร่อื งตวงที่เหมาะสม -การคาดคะเนปรมิ าตรเปน็ ลติ ร ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | ๔๗ ลำดบั ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา นำ้ หนกั ที่ เรียนร้/ู ตวั ชี้วัด (ช่วั โมง) คะแนน -ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยปรมิ าตร ค ๒.๑ ป.๓/๑ ๑๓ ๖ -การเปรยี บเทียบปริมาตรและความจุ ค ๑.๑ ป.๓/๘ ๑๒ ๕ ป.๓/๙ -การบวกเก่ยี วกับปริมาตรและความจุ -การลบเก่ียวกบั ปรมิ าตรและความจุ -การคูณ เกีย่ วกบั ปริมาตรและความจุ -การหาร เกี่ยวกับปรมิ าตรและความจุ -โจทยป์ ญั หาการบวกเกย่ี วกับปรมิ าตรและความจุ -โจทยป์ ญั หาการลบเก่ียวกบั ปริมาตรและความจุ -โจทยป์ ญั หาการคณู เกี่ยวกบั ปริมาตรและความจุ -โจทยป์ ญั หาการหารเก่ยี วกับปริมาตรและความจุ ๑๓ เงนิ และการบนั ทกึ รายรบั รายจ่าย -การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดงจำนวนเงิน แบบใชจ้ ุด -การเปรียบเทยี บจำนวนเงิน -การแลกเงนิ -การบวกและการลบจำนวนเงิน -การคูณและการหารจำนวนเงิน -โจทยป์ ญั หาเกย่ี วกบั เงิน -การอ่านและการเขยี นบนั ทึกรายรบั รายจา่ ย ๑๔ การบวกลบคูณหารระคน ป.๓/๘ -การหาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน -สถานการณก์ ารบวกและการลบ 2 ขน้ั ตอน -การหาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน -สถานการณก์ ารคูณและการหาร 2 ข้นั ตอน -สถานการณ์การบวก การลบ การคณู และการ หาร 2 ขั้นตอน -โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบ 2 ขัน้ ตอน -โจทยป์ ญั หาการคณู และการหาร 2 ขนั้ ตอน -โจทยป์ ญั หาการบวก การลบ การคณู และการ หาร 2 ขน้ั ตอน รวม ๒๘ ๒๐๐ ๑๐๐ ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรูก้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๔๘ ช้นั ประถมศึกษปที ี่ ๔ ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนร้กู ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ห น้ า | ๔๙ ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระท่ี ๑ จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน ผลท่ี เกดิ ขึน้ จากการ ดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๔ ๑.อา่ นและเขียนตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลข จำนวนนบั ท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ไทย และตวั หนงั สือแสดงจำนวนนบั ท่ี - การอา่ น การเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และ มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ ตวั หนงั สอื แสดงจำนวน ๒. เปรยี บเทยี บและเรยี งลำดบั จำนวนนับที่ - หลกั ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และ มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่างๆ การเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย - การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับจำนวน - คา่ ประมาณของจำนวนนับและการใชเ้ คร่ืองหมาย ≈ ๓.บอก อา่ น และเขียนเศษสว่ น จำนวนคละ เศษสว่ น แสดงปรมิ าณส่ิงตา่ งๆ และแสดงสงิ่ ตา่ งๆ - เศษสว่ นแท้ เศษเกิน ตามเศษส่วน จำนวนคละทก่ี ำหนด - จำนวนคละ ๔. เปรียบเทียบเรียงลำดบั เศษส่วนและ - ความสมั พันธร์ ะหวา่ งจำนวนคละและเศษเกนิ จำนวนคละที่ตวั ส่วนตัวหนงึ่ เป็นพหคุ ูณของ - เศษส่วนทเี่ ทา่ กนั เศษส่วนอย่างต่ำ และเศษสว่ นทเ่ี ทา่ กบั อีกตัวหน่งึ จำนวนนบั - การเปรยี บเทยี บ เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละ ๕. อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหนง่ ทศนยิ ม แสดงปริมาณของสงิ่ ต่างๆ และแสดงสิง่ ต่างๆ - การอา่ นและการเขยี นทศนยิ มไมเ่ กิน ๓ ตำแหนง่ ตาม ตามทศนยิ มที่กำหนด ปริมาณ ทีก่ ำหนด ๖. เปรยี บเทียบและเรียงลำดับทศนิยมไม่ - หลกั คา่ ประจำหลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของ เกนิ ๓ ตำแหนง่ จากสถานการณ์ต่างๆ ทศนยิ ม และการเขยี นตวั เลขแสดงทศนิยมในรปู กระจาย - ทศนิยมท่เี ทา่ กัน - การเปรียบเทียบและเรยี งลำดบั ทศนิยม ๗. ประมาณผลลัพธข์ องการบวก การลบ การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับที่มากกว่า การคณู การหารจากสถานการณต์ ่างๆ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ อยา่ งสมเหตสุ มผล - การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การ ๘. หาค่าของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค หาร สัญลักษณแ์ สดง การบวกและประโยค - การบวกและการลบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ห น้ า | ๕๐ ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สัญลกั ษณ์แสดงการลบของจำนวนนับท่ี - การคูณและการหาร มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ - การบวก ลบ คณู หารระคน ๙.หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยค - การแก้โจทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปญั หา พรอ้ มท้ังหา สัญลกั ษณ์แสดงการคูณของจำนวนหลาย คำตอบ หลัก ๒ จำนวน ทม่ี ผี ลคูณไมเ่ กิน ๖ หลัก และประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการหารที่ ตัวต้งั ไมเ่ กนิ ๖ หลัก ตัวหารไมเ่ กิน ๒ หลัก ๑๐. หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน ของจำนวนนับและ ๐ ๑๑. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ขั้นตอน ของจำนวนนบั ทม่ี ากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ๑๒. สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้นั ตอนของจำนวน นบั และ ๐ พรอ้ มทั้งหาคำตอบ ๑๓. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ การบวก การลบเศษส่วน จำนวนคละท่ีตวั สว่ นตัวหนงึ่ เป็นพหุคณู ของ - การบวก การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ ตวั สว่ นอีกตัวหน่งึ - การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบ ๑๔. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาการ เศษสว่ นและ จำนวนคละ บวกและโจทยปญั หาการลบเศษส่วนและ จำนวนคละที่ ตัวสว่ นตวั หนง่ึ เปน็ พหคุ ณู ของ ตวั สว่ นอีกตัวหนง่ึ ๑๕. หาผลบวก ผลบของทศนยิ มไมเ่ กิน ๓ การบวก การลบทศนยิ ม ตำแหน่ง - การบวก การลบทศนิยม ๑๖. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการ - การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ทศนิยมไม่เกิน ๒ บวก การลบ ๒ ข้ันตอนของทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ขั้นตอน ตำแหนง่ ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรูก้ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์
Search