รายงานการอบรม โครงการพฒั นาครรู ปู แบบครบวงจร ดว้ ยระบบออนไลน์ หลักสูตร “การลดความเสีย่ งภัยพิบัตธิ รรมชาติและการปรบั ตัว รับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ” รหัสหลกั สตู ร 62037 ปีการศกึ ษา 2562 นางสาวจริ ะพนั ธ์ุ ปากวเิ ศษ ตำแหนง่ ครู โรงเรียนวัดพืชนมิ ติ (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) สำงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวัสดิร์ าษฎร์บำรุง) ที.่ ................................................................................................................................................................ เร่อื ง รายงานผลการไปประชุม/การอบรม/การสัมมนา/การศึกษาดูงาน เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต(คำสวัสดิ์ราษฎรบ์ ำรงุ ) ตามคำสั่ง/หนงั สือ/บันทึกข้อความที่.......................................ลงวันท่ี 31 ตลุ าคม 2562 ให้ข้าพเจ้า นางสาวจิระพันธ์ุ ปากวิเศษ ตำแหนง่ ครู ได้เข้ารว่ มอบรมหลกั สตู รออนไลน์ การลดความเส่ยี งภัยพิบัติ ธรรมชาตแิ ละการปรับตวั รับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหสั หลักสตู ร 62037 ปีการศกึ ษา 2562 ในวันที่ 14 เดือนสงิ หาคม 2562 ที่ผ่านมา จำนวน 20 ชวั่ โมง หน่วยงานผจู้ ัดฝกึ อบรมโดย มูลนธิ ศิ ภุ นิมิต แหง่ ประเทศไทย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และกระทรวงศึกษาธิการ บัดน้ี การปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการไป ราชการ/การอบรมสัมมนา/การศกึ ษาดูงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. สรปุ สาระสำคญั การฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน โครงการหลักสูตรความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย และ Save the Children เป้าหมายเพ่ือสร้างความรู้ให้แก่ ครู อาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษาให้รู้ถึงความเส่ียงภัยของตนโดยเฉพาะในพื้นท่ี และสามารถวางมาตรการ วิธีการท่ี เหมาะสมตลอดจนสามารถดูแลผลกระทบเมื่อเกิดภัยพิบัติจากธรรมชาติกรอบการทำงานเพ่ือความปลอดภัย รอบด้านในสถานศึกษา ไดแ้ ก่ สามเสาหลักของความปลอดภยั รอบดา้ นในโรงเรยี น ความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน ซึ่งอยู่ภายใต้นโยบายและการปฏิบัติด้านการศึกษา มีความ สอดคล้องกับการบริหารจัดการภัยพิบัติในระดับประเทศ , ภูมิภาค , จังหวัดและดับพ้ืนที่รวมทั้งโรงเรียน กรอบแนวคดิ ความปลอดภยั รอบด้านในโรงเรยี น ประกอบดว้ ยสามเสาหลกั ไดแ้ ก่ เสาหลกั ที่ 1 ส่ิงอำนวยความสะดวกในการเรียนทปี่ ลอดภัย ผู้มีบทบาทหลัก : บุคลากร/หน่วยงานด้านการศึกษาและการวางแผน สถาปนิก วิศวกร ผู้รับเหมาก่อสร้างบุคลากรโรงเรียน และสมาชิกชุมชนที่มีบทบาทในการตัดสินใจด้านการเลือกสถานที่ตั้ง โรงเรียนที่ปลอดภัย การออกแบบ การก่อสร้าง และการดูแลรักษาโรงเรียน (รวมถึงการเข้าถึงอาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวกไดอ้ ย่างปลอดภยั สมำ่ เสมอ)
เสาหลกั ท่ี 2 : การบริหารจดั การภัยพิบัตใิ นโรงเรยี น ผู้มีบทบาทหลัก : ผู้บรหิ ารภาคการศึกษาทั้งในระดับประเทศและระดับจังหวัด รวมทงั้ ชมุ ชนโรงเรียน ในพื้นท่ีซ่ึงร่วมงานกับหน่วยงานด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติที่เก่ียวข้องในแต่ละพ้ืนท่ี ในระดับโรงเรียน ได้แก่ บุคลากรในโรงเรียน นักเรียนและผู้ปกครองที่มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนที่ ปลอดภยั ตัวอย่างกจิ กรรม เช่น การประเมนิ และลดความเส่ียงทางสังคมส่ิงแวดลอ้ ม สาธารณูปโภคและความ เส่ียงทีไ่ มใ่ ช่โครงสรา้ งและโดยการพัฒนาศักยภาพในการรับมือภัยพิบัติและวางแผนการศึกษาต่อเน่ือง เสาหลกั ท่ี 3 : การศึกษาด้านการลดความเสยี่ งและการรรู้ บั ปรบั ตวั จากภัยพบิ ัติ ผู้มีบทบาทหลัก : ผู้จดั ทำหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ผู้อบรมครู ครู กลุ่มเยาวชน ผู้นำในการจัดกิจกรรมเยาวชน และนักเรียน ที่จะร่วมมือการเพื่อพัฒนาและสร้างความ เข้มแขง็ ใหก้ บั วฒั นธรรมแหง่ ความปลอดภัยและมีความสามารถในการรรู้ บั ปรับตวั และพน้ื คนื กลับจากภยั พบิ ัติ สถานศึกษาถอื เป็นอาคารสาธารณะที่มผี ู้คนเป็นจำนวนมากเขา้ ไปใช้ในแตล่ ะวนั ไม่ว่าจะเป็นนกั เรียน ครู ผู้ปกครอง ดังนั้น จึงมีการบัญญัติการควบคุมการก่อสร้างและการใช้อาคารเรียนไว้ในกฎหมายควบคุม อาคาร โดยกฎหมายควบคุมอาคารน้ันมผี ลใช้กบั “โรงเรยี นและสถานศึกษา ซึ่งเป็นสถานที่อบรมให้การศึกษา แก่เยาวชนของ ประเทศเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพจนสามารถเป็นฐานการพัฒนาประเทศ ดังน้ัน อาคารของ โรงเรียน และสถานศึกษาต่างๆ จึงจะต้องมีการก่อสร้างให้ถูกต้องและเป็นไปตามหลักการวิชาการและตาม กฎหมายควบคุมอาคารกําหนดต้ังแต่อนุบาลจนถึงระดับปริญญา”ผู้บริหารสถานศึกษาควรปรึกษาผู้เชย่ี วชาญ ด้านกฎหมายควบคุมอาคาร และควรศึกษาระเบียบกระทรวงศึกษาธิการท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือการวางแผนการ ออกแบบ การก่อสร้าง และการจัดทำงบประมาณเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ขอาคารเรียน การจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษาควรมีการจัดตั้งคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษามี บทบาทเป็นแกนนำในการวางแผน เฝ้าระวงั เตรยี มพรอ้ ม และดำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัยรอบดา้ นใน สถานศึกษา รวมถึงจัดการก่อน ระหว่าง และหลังเกิดภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉินในโรงเรียน รวมท้ังติดตามและ ประเมนิ ผล ข้อควรคำนึงในการจดั ตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยรอบด้าน มดี ังนี้ • ให้นักเรียนมีส่วนร่วม (โดยเฉพาะนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 หรืออายุ 13 ปีขึ้นไป) พร้อม กับผู้ท่เี กยี่ วข้องอื่น ๆ o ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา o ผู้แทนนักเรยี น o คณะกรรมการสถานศกึ ษา o ผู้แทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผ้นู ำชุมชน ปราชญช์ าวบา้ น o หนว่ ยงาน/องคก์ รท่ีเก่ยี วข้องอน่ื ๆ ในพ้นื ท่ี เชน่ หน่วยงานดา้ นอนามยั องค์กรพฒั นาเอกชน • จัดตั้งเกณฑใ์ นการคัดเลือก/เลือกตัง้ ผ้ทู จ่ี ะมาเป็นคณะกรรมการฯ • คดั เลอื ก/เลือกตง้ั คณะกรรมการฯโดยความยนิ ยอมของผูไ้ ด้รับการเสนอช่ือ • คณะกรรมการแตล่ ะฝ่ายควรมสี มาชิกทงั้ เพศหญิงและชาย • มีโครงการเสรมิ สรา้ งศักยภาพให้แกค่ ณะกรรมการแตล่ ะฝ่าย เช่น โดยการจัดอบรมในโรงเรียน การส่ง ผู้แทนเขา้ ร่วมโครงการอบรมนอกสถานที่
หลกั การจัดการเรยี นรู้เรื่องการลดความเส่ยี งภยั พบิ ัติต้องมีองค์ประกอบ 5 มิติ ไดแ้ ก่ 1. ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และกลไกการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งการศึกษาจากตำรา วิชาการและการศึกษาจากสภาพแวดลอ้ มจรงิ นอกห้องเรยี น 2. การเรยี นรู้และฝกึ ฝนทกั ษะและข้ันตอนการปฏบิ ตั เิ พ่ือความปลอดภยั ในบริบทของภัยต่าง ๆ 3. ความเข้าใจปัจจยั ผลักดันทีท่ ำให้เกิดความเส่ียงและกลไกที่ทำให้ภยั ธรรมชาติกลายเปน็ ภยั พบิ ตั ิ 4. สรา้ งศกั ยภาพในการลดความเส่ียง ไมว่ ่าจะเป็นสถานศกึ ษา ชุมชน และกล่มุ สังคมตา่ ง ๆ 5. สร้างวัฒนธรรมแห่งความปลอดภัย (culture of safety) และการรู้รับปรับตัว (resilience) ใน สถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนเรื่องการลดความเสี่ยงภัยพิบัติและการปรับตัวได้อย่าง เหมาะสม ทั้งในและนอกหลักสูตร จึงได้มีการบรรจุเนื้อหาเรอื่ งการจัดการภัยพิบัตไิ วใ้ นหลกั สูตรแกนกลางขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซง่ึ ไดม้ กี ารปรับเนอื้ หาตลอดจนบริบทให้สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการ ของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยจัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน มีการสอดแทรกเน้ือหาด้านการลดความเสี่ยงภัย พิบัติและการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไว้ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและ พลศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และสามารถบูรณาการข้ามกลุ่มสาระ และจัดเป็นรายวิชา เพิม่ เติม โดยมีวตั ถุประสงคแ์ ละขอบเขตดังน้ี ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ • ให้นกั เรียนมคี วามรู้ และความเขา้ ใจถงึ อนั ตรายของภยั พิบัตแิ ละการรักษาชีวิตของตนเอง • ให้นกั เรียนเรียนรู้วธิ ีการแจ้งเหตุใหค้ รูหรอื ผูป้ กครองทราบ • ใหน้ กั เรยี นรจู้ ักการสงั เกตการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศ • ให้นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการปรบั สภาพแวดล้อมในทอ้ งถน่ิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ขอบเขตการเรยี นรู้ มาตรฐาน / ตวั ช้ีวัด สุขศกึ ษา • พื้นฐานการป้องกนั และการหลีกเลีย่ ง • ปฏบิ ตั ติ นตามกฎ กติกา ข้อตกลงและตามคำแนะนำ จากภัย (พ 3.2 ป.1/2) • การตระหนักร้สู ่ิงทปี่ ลอดภัยและไม่ ปลอดภัย • ระบุส่ิงท่ที ำใหเ้ กดิ อันตรายที่บา้ น โรงเรียน และการ • การระมัดระวงั ตนจากสิง่ ทเ่ี ป็น ป้องกัน(พ 5.1 ป.1/1) อันตรายและสถานที่อนั ตราย • การปฏบิ ัตติ นอยา่ งเหมาะสมทัง้ ใน • ปฏบิ ัตติ นในการป้องกันอบุ ัติเหตทุ อ่ี าจเกดิ ขึ้นทางนำ้ การซ้อมอพยพ และเวลาเกดิ เหตกุ ารณ์ และทางบก(พ5.1 ป.2/1) ฉุกเฉนิ • การขอความช่วยเหลือดว้ ยวธิ กี าร • ปฏบิ ตั ติ นตามสัญลกั ษณแ์ ละปา้ ยเตือนของสงิ่ ของหรือ ตา่ งๆ สถานท่ีทีเ่ ปน็ อันตราย (พ 5.1 ป.2/4) • อธิบายสาเหตอุ ันตรายวิธีป้องกนั อคั คีภัยและแสดง การหนีไฟ (พ 5.1 ป.2/5) • ปฏบิ ตั ิตนเพือ่ ความปลอดภยั จากอุบัติเหตุในบ้าน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ขอบเขตการเรียนรู้ มาตรฐาน / ตัวชี้วดั ภาษาไทย • การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ • โรงเรียนและการเดนิ ทาง(พ 5.1ป.3/1) แสดงวธิ ีขอ สังคมศึกษา ความชว่ ยเหลอื จากบุคคลและแหลง่ ต่างๆเมื่อเกดิ • การถา่ ยทอดเร่ืองราว แสดงความ เหตุรา้ ยหรอื อบุ ัติเหตุ (พ 5.1ป.3/2) คิดเหน็ และความรูส้ ึกในเหตุการณ์ทพ่ี บ เห็น • แสดงวธิ ปี ฐมพยาบาลเมื่อไดร้ ับบาดเจบ็ (พ 5.1ป. • การเรียนรู้ป้ายประกาศสญั ลักษณ์ 3/3) การเตอื นภัยอันตราย • พูดแสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ จากเรื่องท่ีฟงั หรือ • ธรรมชาติและการเปลย่ี นแปลงของ ด(ู ท3.1 ป.1/3, ป.2/5, ป.3/4) สภาพภูมิอากาศ • การวเิ คราะห์ปัญหาทเี่ ปน็ สาเหตุการ • พดู สอื่ สารได้ชัดเจนตามวตั ถุประสงค์ (ท 3.1ป.1/4,ป. เกิดภยั พิบตั ธิ รรมชาติในท้องถิ่น 2/6,ป.3/5) • การทำกิจกรรมทำแผนทีเ่ สย่ี งภยั • พน้ื ฐานการบำเพญ็ ตนให้เป็น • บอกความหมายของสญั ลักษณท์ ี่พบเห็นใน ประโยชนต์ ่อสงั คม ชีวิตประจำวัน (ท 1.1ป.1/ 7) • ความเข้าใจและการปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมอื งดี • มสี ว่ นรว่ มในการจดั ระเบียบสิ่งแวดลอ้ มทบี่ ้านและชั้น เรยี น (ส 5.2ป.1/3) • สงั เกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศใน รอบวัน (ส 5.1ป.1/5) • แยกแยะสิ่งตา่ งๆรอบตวั ท่ีเกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติและ ทม่ี นุษยส์ ร้างขึน้ (ส 5.1 ป.1/1) • บอกสงิ่ ตา่ งๆทเ่ี กิดตามธรรมชาติ ที่สง่ ผลต่อความ เปน็ อยูข่ องมนุษย์ (ส 5.2 ป.1/2) • ตระหนกั ถึงการเปลย่ี นแปลงของสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน (ส 5.2 ป.3/5) • มีสว่ นร่วมในการฟน้ื ฟปู รับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรยี น และชุมชน ( ส 5.2 ป.2/4) • ระบบุ ทบาทหนา้ ท่ีของคนในชุมชนในการมสี ว่ นรว่ มใน กจิ กรรมต่างๆ (ส 2.2 ป.3/1) วทิ ยาศาสตร์ • การรณรงคเ์ รื่องการใชท้ รัพยากรใน • เขยี นแผนผังงา่ ยๆ เพ่ือแสดงตำแหนง่ ทตี่ ง้ั ของสถานที่ ท้องถิน่ สำคัญในบริเวณโรงเรยี นและชมุ ชน (ส 5.2 ป.3/2) • กระบวนการเปลีย่ นแปลง สถานะ ของอุณหภูมโิ ลกที่ก่อให้เกดิ สภาวะโลก • ระบุการใชท้ รัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดปัญหา รอ้ นและปรากฏการณ์ตา่ งๆ เชน่ การไหล สิง่ แวดล้อมในท้องถนิ่ (ว 2.2 ป.3/2) ของกระแสน้ำและความเสี่ยงภยั พิบัติ • ทดลองและอธบิ ายผลของการเปลย่ี นแปลงทเี่ กิดข้นึ กบั วสั ดเุ มื่อถกู แรงกระทำหรือทำใหร้ ้อนข้ึนหรือเย็นลง (ว 3.2 ป.3/1)
ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ ได้แก่ • ใหน้ ักเรียนเรียนมีการปฏิบตั ิตนไดอ้ ย่างเหมาะสม สามารถป้องกนั ตนเอง ดแู ลตนเองและผอู้ นื่ ให้ ปลอดภยั ได้เม่ือเกดิ เหตุการณ์ฉกุ เฉนิ • ให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมรณรงค์ในการใช้ทรพั ยากรเพอ่ื พทิ ักษ์ส่งิ แวดล้อม • ใหน้ ักเรียนศึกษาสาเหตุการเกิดภัยธรรมชาตแิ ละรู้จักการเตรยี มพร้อม กลุม่ สาระการ ขอบเขตการเรยี นรู้ มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด เรยี นรู้ • อธิบายการเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มใน สังคมศึกษา • การวิเคราะห์การเปลย่ี นแปลง ทอ้ งถิ่นและผลจากการเปล่ียนแปลง (ส 5.2 สภาพแวดล้อม ผลกระทบของการ ป. 4/2) เปลีย่ นแปลง และการนำเสนอแนวคิด การอนุรักษ์ • มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อมในจังหวดั (ส 5.2 ป. 4/3) • การมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในท้องถ่ิน • นำเสนอตัวอยา่ งทส่ี ะท้อนให้เห็นผลจากการ รักษาและการทำลายสภาพแวดล้อมและเสนอ • การวิเคราะหส์ าเหตุการเกิดภยั พบิ ตั ิ แนวคดิ ในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค ธรรมชาติในทอ้ งถิ่น (ส 5.2 ป. 5/3) • การขอความชว่ ยเหลอื ในขณะเกิดภยั • อธิบายโครงสร้าง อำนาจ หน้าท่ี และ หรอื ภายหลังเกิดภัย ความสำคญั ของการปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินใน การชว่ ยเหลือและฟ้ืนฟสู ภาพภายภายหลงั การ • การทำแผนท่ีเสีย่ งภัยแสดงบริเวณท่ี เกดิ ภัย (ส 2.2 ป. 5/1) ปลอดภัยและไม่ปลอดภัย • ใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่ ระบุ • กิจกรรมอาสาสมคั รในโรงเรียน ลักษณะสำคัญทางกายภาพและสังคมของ ประเทศและอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง สุขศกึ ษา • ทักษะในการปอ้ งกนั ตวั และเหน็ คุณคา่ ลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณท์ าง ของความปลอดภัย ธรรมชาตขิ องประเทศ (ส 5.1 ป. 6/1,2 ) • การหลกี เลี่ยงปจั จัยเส่ยี งท่ีทำให้เกดิ • แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไข อันตราย ปัญหาสิง่ แวดล้อมทม่ี ผี ลต่อสุขภาพ (พ 4.1 ป. 6/1) • วเิ คราะห์ผลกระทบจากความรนุ แรงของภัย ธรรมชาติและระบุวธิ ีปฏบิ ัติตนให้ปลอดภัย จากภยั ธรรมชาติ (พ5.1ป. 6/1,2)
กลุม่ สาระการ ขอบเขตการเรยี นรู้ มาตรฐาน / ตัวชี้วัด เรยี นรู้ • อธิบายและจำแนกประเภทของหิน โดยใช้ วทิ ยาศาสตร์ • สาเหตกุ ารเกดิ ดนิ ถล่ม ลกั ษณะของหิน สมบตั ิของหินเป็นเกณฑ์และ • กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก การเปล่ยี นแปลงของหินรวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ (ว 6.1ป. 6/1) และภายในโลกทเี่ ปน็ สาเหตุของธรณี พิบตั ิ • สืบค้นและอธบิ ายธรณพี บิ ตั ิท่ีมีผลตอ่ มนุษย์ • กระบวนการไหลของกระแสน้ำและ และสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น(ว 6.1ป. 6/3) ความเสี่ยงในการเกิดอทุ กภัย • ทดลองและอธบิ ายการเกดิ วฏั จกั รน้ำ (ว 6./2 ป.5 /2) ๒. ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นหนว่ ยงาน คือ 2.1 ถงึ ผลกระทบของภัยธรรมขาติมตี ่อชีวิตมนุษย์ 2.2 เขา้ ใจหลักการลดความเสย่ี งภยั พิบัติในสถานศึกษา 2.3 ร้จู กั วิธีประเมนิ ความเสีย่ งภยั ธรรมชาติ ๓. เอกสารทไี่ ด้รับจากการไปราชการ/การอบรมสัมมนา/การศึกษาดงู าน มดี งั ต่อไปน้ี ๓.๑ หนังสือแนวทางการจัดการเรียนรู้เร่ืองการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการรับมือกับความ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 3.2 หนังสอื การลดความเส่ียงจากสาธารณภยั 3.3 โรงเรยี นปลอดอคั คีภยั คู่มอื ปอ้ งกันอคั คีภยั ในโรงเรยี น (คมู่ ือครู) ๔. เกยี รตบิ ัตรรปู ภาพ/ไฟลร์ ูปภาพประกอบ
จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบ ลงชื่อ ผรู้ ายงาน (นางสาวจิระพนั ธ์ุ ปากวเิ ศษ ) ตำแหนง่ ครู ความคิดเหน็ ของฝ่ายบริหารงานบคุ ลากร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ (นางสาวจีระวรรณ ปฏิวงศ์) หวั หนา้ ฝา่ ยบคุ ลากร ความคิดเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ (นางสาวกันยาภัทร ภทั รโสตถ)ิ
รายงานการอบรม โครงการพฒั นาครรู ูปแบบครบวงจร ด้วยระบบออนไลน์ หลกั สตู ร “การลดความเสี่ยงภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติและการปรบั ตัว รับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ” รหสั หลกั สตู ร 62037 ปกี ารศึกษา 2562 นางสาวจิระพนั ธุ์ ปากวิเศษ ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นวัดพชื นิมติ (คำสวสั ด์ริ าษฎรบ์ ำรงุ ) สำงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: