Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อุทกภาค

อุทกภาค

Published by สิริวิมล 15 (Lukpad), 2023-06-18 03:32:30

Description: E-book อุทกภาค

Search

Read the Text Version

คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ วิชาสังคมศึกษา เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องราวของอุทก ภาค โดยศึกษาความรู้จากแหล่งความรู้จากแหล่งต่างๆ เช่น หนังสือ ห้องสมุด และแหล่งความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆ โดย หนังสืออิเล็กทรอนิกเล่มนี้ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับความหายของ อุทกภาค วัฎจักน้ำ ระบบน้ำจืด และระบบน้ำเค็ม โดยผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำจัดทำเอกสาร ฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาอุทกภาค เป็นอย่างดี คณะผู้จัดทำ

สารบัญ เรื่อง หน้า อุทกภาคคืออะไร 1-2 วัฏจักรของน้ำ 3-4 ระบบน้ำจืด 5-7 ระบบน้ำเค็ม 8-10 อ้างอิง 11

อุทกภาค คืออะไร ??? 1

อุทกภาค คือ โลกเป็นดาวเคราะห์ซึ่งพื้นผิวส่วนใหญ่ห่อหุ้มด้่วยน้ำ โลกของ เราแตกต่างจากดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะ เนื่องจากบนพื้น ผิวโลกมีน้ำอยู่ครบทั้งสามสถานะ การเปลี่ยนสถานะของน้ำใน ธรรมชาติ หรือ วัฏจักรน้ำ ทำให้เกิดการถ่ายเทพลังงานไปทั่วทั้งโลก น้ำเป็นตัวทำละลายที่ดี จึงทำให้เกิดการพัดพาแร่ธาตุต่างๆ ลงสู่ มหาสมุทร และเกิดโมเลกุลซึ่งมีโครงสร้างสลับซับซ้อนซึ่งเป็นจุด กำเนิดของชีิวิต สิ่งมีชีวิตบนโลกล้วนมีองค์เประกอบหลักเป็นน้ำ นอกจากน้ำจะเป็นทั้งองค์ประกอบและถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต แล้ว น้ำยังเกราะป้องกันรังสีคลื่นสั้นซึ่งเป็นอันตรายอีกด้วย น้ำมี คุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างจากสสารอื่นๆ คือ เมื่อเปลี่ยนสถานะ เป็นของแข็งแล้วกลับมีความหนาแน่นลดลง น้ำแข็งบนพื้นผิว มหาสมุทรจึงเป็นผ้าห่มปกคลุมป้องกันความหนาวเย็นจากอากาศ เบื้องบน ทำให้สิ่งมีชีวิตแถบขั้วโลกดำรงชีวิตอยู่ได้ 2

วัฏจักรชองน้ำ (Water cycle) วัฏจักรของน้ำ หมายถึง การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของน้ำซึ่ง เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยเริ่มต้นจาก น้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ จากการคายน้ำของพืช จากการขับถ่าย ของเสียของสิ่งมีชีวิต และจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ใช้ในการดำรง ชีวิตของมนุษย์ ระเหยขึ้นไปในบรรยากาศ กระทบความเย็น ควบแน่นเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ เป็นก้อนเมฆ ตกลงมาเป็นฝน หรือลูกเห็บสู่พื้นดินไหลลงสู่แหล่งน้ำต่าง ๆ หมุนเวียนอยู่เช่น นี้เรื่อยไป 3

4

ระบบน้ำจืด น้ำจืดเป็นน้พที่เกิดจากการหมุนเวียนตามวัฏจักรของน้ำ มีเกลือ โซเดียมและคลอไรด์เพียงเล็กน้อยละลายอยู่ในน้ำไม่เกิน0.5ส่วน ในน้ำ1,000ส่วน ปริมาณน้ำจืดในส่วนต่างๆ ของโลกมีอยู่เกือบร้อย ละ 3 เท่านั้นอยู่ตามแหล่งต่างๆดังนี้ 5

1.น้ำผิวดิน แหล่งน้ำผิวดินเฉพาะที่เป็นน้ำจืด ได้แก่ แม่น้ำ ลำธาร ห้วย คลอง หนอง บึง ทะเลสาบ และอ่างเก็บน้ำรวมทั้งพื้นที่ชุ่มน้ำ น้ำผิวดินมี เพียงร้อยละ 0.01 จากปริมาณน้ำจืดทั้งหมดแต่มีความสำคัญมาก เนื่องจากสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ เพื่อการดำรงชีวิต ของมนุษย์ สัตว์ และพืช 2.น้ำใต้ดิน เป็นน้ำที่อยู่ตามแหล่งน้ำใต้ดิน ทั้งบนบก และพื้นดินในทะเลเป็น ธรณีภาคที่เกิดจากน้ำจืดของวัฏจักรน้ำไหลตามช่องว่างต่อเนื่องกันใต้ พื้นดิน เช่นช่องว่าง ของเม็ดกรวด โพรงดิน โพรงถ้ำ ระดับน้ำใต้ดินมี ประมาณร้อยละ 0.62 จากปริมาณน้ำจืดทั้งหมด น้ำใต้ดินบางส่วนจะ ไหลซึมอยู่ในชั้นใต้ดินตามความลาดและเป็นส่วนสำคัญในการช่วย รักษาระดับน้ำในแม่น้ำไม่ให้ลดระดับลงอย่างรวดเร็ว 6

3.ธารน้ำแข็ง พบในทวีปแอนตาร์กติกา เกาะกรีนแลนด์ เกาะไอซ์แลนด์ ยอดเขา สูงและที่ราบสูงที่มีหิมะปกคลุมพื้นที่ในเวลายาวนาน เช่น ทิวเขาเชอ เลน ในประเทศนอร์เวย์และสวีเดน จากปริมาณน้ำจืดทั้งหมดเป็นน้ำ จืดจากธารน้ำแข็งปรมาณร้อยละ 2.20 4.ไอน้ำและก้อนเมฆ เป็นส่วนของไอน้ำที่เกิดจากการระเหยของน้ำในวัฏจักรน้ำ แล้วลอย ขึ้นไปอยู่ในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ เป็นความชื้นอาการ ละออง น้ำ บางส่วนรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน ซึ่งจะกลั่นตัวเป็นน้ำจืดได้อีกซึ่ง โดยรวมมีปริมาณร้อยละ 0.01 ของน้ำจืดที่สะสมไว้ในอากาศ 7

ระบบน้ำเค็ม น้ำเค็มเป็นน้ำที่มีปริมามากที่สุดถึงร้อยละ97ของปริมาณน้ำทั้งโลก และกรจายตามแหล่งน้ำต่างๆ ได้แก่ อ่าว ทะเล และมหาสมุทร จึง เป็นแหล่งวัฏจักรน้ำที่มีการละเหยที่เป็นไอน้ำในอากศมากที่สุดด้วย 1.ความเค็มและความหนาแน่น ความเค็มของน้ำทะเลเกิดขึ้นจากการมีเดลือโซเดียม และคลอ ไรด์ละลายอยู่ ในปริาณเฉลี่ย 35กรัมต่อน้ำ1,000กรัม หรือร้อย ละ3.5 น้ำทะเลแต่ละบริเวณมีความเค็มต่างกันตามอัตราการระเหย ของน้ำ ปริมาณน้ำฝน น้ำจากแม่น้ำเหลือน้ำแข็ง ที่ละลายลงไป และ อุณหภูมิของน้ำ 8

2.กระแสนำพื้นผิวและการลอยตัวของมวลในมหาสมุทร การไหลเวียนของกระแสน้ำพื้นผิวในมหาสมุทรมีความต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ เกิดจากความหนาแน่นและอุณหภูมิที่แตกต่างกันของ น้ำทะเลในแต่ละแห่ง และลมประจำโลก 2.1. กระแสน้ำพื้นผิวมหาสมุทร เป็นระบบหมุนเวียนของน้ำพื้นผิวแนวนอนประจำอยู่ในมหาสมุทร ต่างๆ อย่งเป็นระบบ การไหลของกระแสน้ำพื้ผิวเกิดจากสาเหตุต่างๆ ดังนี้ 1. การหมุนรอบตัวเองของโลกทำให้กะแสน้ำพื้นผิว บริเวณเส้นศูนย์สูตรไหลจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก เมื่อถึงทวีป และแผ่นดิน กระแสน้ำพื้นผิวจะไหลเบนขวาในซีกโลกเหนือ และ เบนซ้ายในซีกโลกใต้ตามลักษณะรูปร่างของแผ่นดิน 2.ลมที่พัดประจำ ได้แก่ ลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือและลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ลมที่พัด ประมาณละติจูด 30-5 องศาเหนือและใต้ ลมตะวันตก เป็นลมที่พัดประมาณละติจูด30-60 องศาเหนือ และใต้เหนือ 9

2.2.การลอยตัวของมวลน้ำ เป็นปรากฏการณ์เฉพาะพื้นที่ เนื่องจากน้ำในระดับลึกจากทะเลหรือ มหาสมุทรมีอุณหภูมิต่ำและถมีความหนาแน่นสูงลอยตัวขึ้นสู่ผิวน้ำเกิด จากลมประจำกำลังแรงทำให้กระแสน้ำเย็นพื้นผิวที่ขนานกับชายฝัง เคลื่อนที่เฉออกจากฝั่งตามแรงคอริออลิส ทำให้น้ำเย็นในระดับลึก เคลื่อนขึ้นมาแทนที่เกิดเป็นการลอยตัวของมวลน้ำ เช่น การลอยตัว ของมวลน้ำบริเวณชายฝั่งรัฐแคลิฟอเนีย สหรัฐอเมริกา 10

อ้างอิง อุทกภาคคืออะไร ??? https://sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/thrniwithya32/xuth k-phakh? fbclid=IwAR0Lk29wr12VTanGohtm749iA9Pzvws5RKRsqc4KE96 KKH9OA9UOZVdM4bc\\ วัฏจักรของน้ำ https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create- web/10000/science/10000-6295.html? fbclid=IwAR1ocuhtv4WmtlZxyXPA- 5glBHECzxuIUGDqtgVMUgBLyLT5p6H3ADzc5sQ ระบบน้ำจืด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษศาสนาและวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ระบบน้ำเค็ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษศาสนาและวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ 11

จัดทำโดย 1.นางสาว มนัสนันท์ บึกสะนเทียะ เลขที่4 2.นางสาว ศุภกาญจน์ ศิริปรากณ์ เลขที่6 3.นางสาว พัฒน์นรี รื่นอุรา เลขที่ 13 4.นางสาว วรัญญา เสนารินทร์ เลขที่14 5.นางสาว สิริวิมล ปานทอง เลขที่ 15 6.นางสาว อัจฉรา สังข์สุด เลขที่16 7.นางสาว ณัฏฐณิชา คุ้มภัย เลขที่ 22 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook