Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การย่อยอาหารของคน

การย่อยอาหารของคน

Published by kanmalinee_29, 2021-12-08 05:08:41

Description: การย่อยอาหารของคน

Search

Read the Text Version

Digestion EP3 โ ด ย ค รู ม า ลิ นี ก า ญ จ น ว ง ษ์ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี โ ร ง เ รี ย น ห า ด ใ ห ญ่ วิ ท ย า ลั ย ๒ สา นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ส ง ข ล า ส ตู ล

การย่อยอาหารของคน 1. การยอ่ ยเชงิ กล (Mechanical digestion) 2. การยอ่ ยทางเคมี (Chemical digestion)









ต่อมนำ้ ลำย salivary glands ❑ Sublingual gland ขนาดเลก็ ทส่ี ุด พบ ไดท้ ่ีบรเิ วณใตล้ ้นิ ผลิตนา้ ลายทง้ั ชนดิ เหนียว และ ใส แตช่ นดิ เหนยี วจะมากกวา่ ❑ Submaxillary gland หรือ Submandibular gland พบได้ท่ี บรเิ วณขากรรไกรล่าง ผลติ น้าลายท้งั ชนิด เหนียว และ ใส แตช่ นดิ ใสจะมากกว่า เป็น ตอ่ มทส่ี ร้างน้าลายไดม้ ากทีส่ ดุ ❑ Parotid gland พบไดท้ ี่บรเิ วณกกหู ผลติ นา้ ลายชนิดใสชนิดเดียว

ส่วนประกอบของน้าลายมีอะไรบ้าง ? ❑ นา้ ถึงร้อยละ 99.5 ส่วนท่เี หลืออีกร้อยละ 0.5 ประกอบไป ด้วย อิเลก็ โทรไลท์ (Electrolytes) หรือเกลือแร่ ได้แก่ โซเดียม โพรแตสเซยี มคลอไรด์ ไบคารบ์ อเนทและฟอสเฟต มูกเมอื ก (Mucus) ประกอบด้วยแปง้ และโปรตีน สารต้านเชือแบคทีเรีย และเอนไซม์ยอ่ ย อาหารจาพวกแปง้ และไขมนั

การย่อยอาหารภายในปาก มกี ารยอ่ ยเชงิ กล โดยการบดเคีย้ วของฟัน และมกี ารย่อยทางเคมโี ดยเอนไซม์อะไมเลส หรือ ไทยาลนิ ซึ่งทางานไดใ้ น สภาพท่เี ป็นกลาง

คอหอย pharynx และหลอดอาหาร esophagus



❑ stomach อย่ภู ายในชอ่ งท้องดา้ นซา้ ยของกระบงั ลม ❑ มผี นงั กล้ามเนอื้ แขง็ แรงมาก ยดื หยนุ่ ไดด้ ี ❑ ขยายความจุไดถ้ ึง 500-2,000 ลบ.ซม. ❑ มกี ลา้ มเน้ือหูรดู 2 แห่ง ตดิ กับหลอด อาหารและบริเวณตอ่ กับลาไส้เลก็ ❑ ผนังชัน้ ในของกระเพาะอาหารบุด้วยเซลล์ บผุ ิว มี 3 ชน้ั

กระเพาะอาหารจะถูกแบ่งออกเป็นสี่สว่ น ซึ่งจะมโี ครงสร้างใน ระดบั เนือเยื่อที่แตกต่างกัน ได้แก่ ❑ส่วนบนสุด ปากกระเพาะ หรือส่วน cardiac เปน็ ส่วนที่ ติดต่อกับหลอดอาหาร ❑ สว่ นบน กระพุ้งกระเพาะอาหาร (fundus) ❑ ส่วนกลาง (body) ❑ ส่วนทา้ ย (pylorus) มี กระเพาะส่วนปลาย และ หรู ูด กระเพาะส่วนปลาย (pyloric sphincter) จะติดต่อกบั ลาไส้ เล็กตอนต้น



❑ เมือ่ อาหารมาถึงกระเพาะ หูรดู ทั้ง 2 แหง่ จะปดิ อาหารจะไปกระตนุ้ ให้ G cell หลง่ั ฮอร์โมน gastrin ❑ gastrinจะไปกระตุน้ chief cell ใหห้ ลง่ั เอนไซม์ pepsinogen และ prorenin ไปกระตนุ้ parietal cell ให้หลง่ั HCl กระตนุ้ mucous neck cell ให้หล่งั mucous ❑ เม่ือเอนไซม์ active แล้วจะเกิดการย่อย ขึน้ อาหารอยใู่ นกระเพาะนานแค่ไหน แล้วแตช่ นิดของอาหาร...เมอ่ื ทาการย่อย เสร็จแลว้ อาหารน้ีจะถูกเรยี กวา่ chyme และจะถูกสง่ ตอ่ ไปยงั duodenum ตอ่ ไป















ลาไสเ้ ล็ก ( Small Intestine) เป็นส่วนที่ยาวท่ีสุดของทางเดินอาหาร ตอ่ มาจากกระเพาะอาหารมี ความยาวประมาณ 7-8 เมตร ผนงั ดา้ นในของลาไสเ้ ลก็ มีลกั ษณะเป็น ลอนตามขวาง มีส่วนยน่ื เลก็ ๆมากมายเป็นตุ่ม เรียกวา่ วิลลสั (Villus พหูพจน์เรียกวา่ Villi) เพื่อเพ่ิมพ้ืนท่ีผวิ ในการดูดซึมสารอาหารที่ยอ่ ย แลว้ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ





ลำไสเ้ ล็กของคนมีลกั ษณะคลำ้ ยทอ่ ขดไปมำอยู่ในชอ่ งทอ้ งแบง่ เป็น 3 ตอน คอื - Duodenum ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร มีรปู ร่างเหมือนตวั ยูคลมุ อยู่รอบๆบรเิ วณสว่ นหัวของตบั อ่อน (Pancreas)ภายในดโู อดนี มั มี ต่อมสรา้ งนา้ ยอ่ ยและเป็นตา้ แหนง่ ทขี่ องเหลวจากตับอ่อนและน้าดีจาก ตบั มาเปดิ เขา้ จึงเป็นต้าแหนง่ ทีม่ ีการยอ่ ยเกดิ ขึนมากทีส่ ดุ

- Jejunum ยาวปะมาณ 2 ใน 6 ของ ล้าไสเ้ ล็กหรอื ประมาณ 3-4 เมตร

-Ileum เปน็ ลา้ ไสเ้ ลก็ ส่วนสดุ ทา้ ยปลายสดุ ของไอเลยี มตอ่ กับล้าไส้ ใหญ่ บริเวณล้าไสต้ อนต้น (Duodenum) จะมีนา้ ย่อยจากสามแหลง่ มา ผสมกับไคม์Chyme = อาหารทคี่ ลุกเคล้ากับนา้ ย่อย และถูกย่อยไป บางส่วน มลี กั ษณะคล้ายซปุ ข้นๆ) ไดแ้ กน่ ้าย่อยจากผนงั ล้าไส้เล็ก (Intestinal Juice)นา้ ย่อยจากตบั อ่อน (Pancreatic Juice)น้าดี (Bile) จากตับ (Liver)ซึ่งนา้ มาเก็บไว้ท่ีถงุ น้าดี

บริเวณลา้ ไสต้ อนตน้ (Duodenum) จะมนี า้ ย่อยจากสามแหลง่ มาผสม กับไคม์ (Chyme = อำหำรทีค่ ลกุ เคล้ำกบั นำยอ่ ย) และถูกยอ่ ยไป บางสว่ น มลี กั ษณะคล้ายซุปขน้ ๆ) ไดแ้ ก่ น้ายอ่ ยจากผนงั ล้าไสเ้ ล็ก (Intestinal Juice) น้าย่อยจากตับออ่ น (Pancreatic Juice) น้าดี (Bile) จากตบั (Liver)ซึ่งนา้ มาเก็บไว้ทถ่ี ุง น้าดี





กำรยอ่ ยและกำรดดู ซึมในลำไสเ้ ลก็ โดยเอนไซม์ในลำไสเ้ ล็กจะทำงำนได้ดใี น สภำพท่เี ปน็ เบส ซึ่งเอนไซม์ทล่ี ำไส้เล็กสร้ำงขึน ได้แก่ maltase เปน็ เอนไซม์ท่ยี อ่ ย maltose ให้เป็น glucose 2 โมเลกุล (ขา้ ว มนั ) sucrase เป็นเอนไซมท์ ยี่ ่อยนา้ ตาลทรายหรอื นา้ ตาลซโู ครส (sucrose) ให้เป็น glucose กบั Fructose (ผลไม)้ lactase เป็นเอนไซมท์ ี่ยอ่ ย lactose ใหเ้ ปน็ glucose กบั galactose (นม )

นำยอ่ ยของตบั อ่อน (pancreas) เป็นเอนไซมท์ ีส่ รา้ งมาจากตับอ่อน (Pancreas) มสี ภาพเปน็ เบส ประกอบด้วย - โซเดยี มไบคาร์บอเนต มีคุณสมบตั ิเป็นเบส จงึ ถอื ว่าเหมาะสมท่ีจะท้า ลา้ ไสเ้ ล็กมสี ภาวะเปน็ เบส ซ่งึ เอนไซม์ตา่ งๆจะทา้ งานได้ (ยกเว้น Pepsin จากกระเพาะอาหารจะหมดประสิทธิภาพ) เพราะในขณะที่อาหารผา่ น กระเพาะอาหารมสี ภาวะเปน็ กรด)

นำย่อยของตับออ่ น (pancreas) - Amylase ทา้ หน้าทีย่ อ่ ยแปง้ (Starch) และ เด็กทรนิ (Dextrin) มอลโทส (Maltose) - Lipase ทา้ หนา้ ท่ีย่อยไขมัน (Fat) กรดไขมนั (Fatty Acid) และกลเี ซอรอล (Grycerol )

นำย่อยของตบั อ่อน (pancreas) - Trypsinogen เมอื่ เกิดใหมๆ่ ยงั เปน็ เอนไซม์ท่ยี อ่ ยอาหารไม่ได้ แต่เมอ่ื ผ่านถึงล้าไส้เลก็ ตอนต้น จะเปลี่ยนสภาพเป็น Trypsin โดยอาศัยเอนไซม์ Enterokinase จากผนังล้าไส้เลก็ ช่วย เอนไซม์ Trypsinจะย่อย Protein และ Polypeptide Peptide (Trypsin ยอ่ ยโปรตีน ต่อจาก Pepsin ซ่ึงหมดหน้าทเี่ มือ่ อาหารมีสภาพเปน็ เบส เพราะ Pepsin ทา้ หนา้ ท่ีไดด้ ใี น สภาวะทเ่ี ปน็ กรดสงู ) -Chymotrypsin ย่อย Polypeptide (ตอ่ จาก Trypsin Carboxypeptidase) ยอ่ ย Peptide ได้ Amino Acid

นำดี (bile) เปน็ สารท่ผี ลติ มาจากตับ (liver) แลว้ ไปเกบ็ ไวท้ ถ่ี ุง นา้ ดี (gall bladder) น้าดไี มใ่ ชเ่ อนไซมเ์ พราะไมใ่ ช่ สารประกอบ ประเภทโปรตนี น้าดจี ะท้าหน้าทยี่ ่อยโมเลกลุ ของโปรตนี ใหเ้ ลก็ ลงแลว้ นา้ ยอ่ ยจากตบั ออ่ นจะย่อยตอ่ ท้าให้ ไดอ้ นุภาค ที่เลก็ ท่ีสดุ ทสี่ ามารถแพร่เขา้ สเู่ ซลล์





แบบท่ี 1





ทบทวนอีกรอบ

การดูดซมึ ในลาไสเ้ ล็กมี 2 ทาง คอื 1. ทางเส้นเลอื ดฝอย กรดอะมโิ น น้าตาลโมเลกุลเดีย่ ว ผา่ นเขา้ ทางเสน้ เลอื ดฝอยของปุ่มซมึ ไปยงั เสน้ เลอื ดดา (Portal Vein) เข้าสตู่ ับ แลว้ ผา่ นไปเข้าเสน้ เลอื ดใหญ่ ไป เลีย้ งสว่ นต่างๆ ของร่างกาย

คาร์โบไฮเดรท นา้ ตาลโมเลกลุ เดี่ยวทไ่ี ดจ้ ากการย่อยอาหารพวกแปง้ และนา้ ตาล เช่น กลูโคส จะดดู ซึมผ่านเย่ือบลุ าไสเ้ ล็ก เข้าไปในเส้นเลือดฝอย ไปในเส้นเลอื ดฝอย จากน้ันจะ เขา้ เส้นเลือดดาใหญ่ (Portal Vein) ไปยงั ตับ เขา้ สู่หวั ใจหอ้ งขวาบน แลว้ ไปตาม เส้นเลอื ดใหญ่ เพอื่ เล้ียงสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย ส่วนนา้ ตาลชั้นเดียวที่เหลือใช้จะถกู เก็บสะสมไวท้ ี่ตับและเน้อื เยอ่ื อืน่ ๆ โดยเฉพาะท่ีตบั ในรปู ของไกลโคเจน

โปรตีน การดูดซมึ โปรตนี ซง่ึ ผา่ นการยอ่ ยจนถงึ ขัน้ สดุ ท้าย เปน็ กรดอะมิโนจะถูกดดู ซมึ เข้าสู่ระบบไหลเวียนทางเสน้ เลือดฝอยของปมุ่ ซมึ ในลาไส้เลก็ เข้าสเู่ สน้ เลอื ดดาของตับ ผ่านตบั แลว้ ไปเขา้ หัวใจหอ้ งบนด้านขวา ออกสเู่ ส้นเลือด ใหญ่อกี ทีหน่งึ

ความร้เู พ่ิมเติม ผนังลาไสข้ องสัตว์ท่ีเล้ียงลกู ด้วยนม ลูกซ่งึ คลอดออกมาใหมๆ่ ลาไส้ สามารถดูดซึมโปรตนี ท้งั โมเลกลุ ทอ่ี ยใู่ นน้านมแมไ่ ด้ ความสามารถนีจ้ ะหมดไป หลังจากคลอดแลว้ 2-3 วัน วธิ กี ารนี้สาคัญมากเพราะทาใหส้ ามารถดูดซมึ เอาส่ิงตอ่ ตา้ นท่เี รยี กวา่ แอนติบอดี (Antibodies) ซ่งึ เปน็ ภมู คิ ุ้มกันโรคของแม่ จากนา้ เหลืองนา้ นม (colostrum) ไวใ้ ชต้ อ่ ต้านโรค ดังนัน้ น้านมของแมส่ ัตว์ใด จึงเหมาะกับลูกของสัตว์น้ัน และควรให้ลกู ได้ด่มื น้าเหลอื งน้านม ซึ่งออกมาครงั้ แรกจากเต้านมหลงั จากคลอด เพราะอดุ มดว้ ยแอนติบอดี ไมค่ วรรีดท้งิ

โปรตีน เม่ือโตขึ้นการดูดซมึ โปรตนี ทม่ี โี มเลกุลใหญ่กวา่ กรดอะมิโนจะหมดไป อาจเพราะกระเพาะอาหารและลาไส้หลงั กรดและน้าย่อยไดด้ ีขึน้ หรือเพราะ เปน็ การปอ้ งกนั ตนเอง เน่ืองจากสรา้ งภูมคิ ุม้ กนั ได้เองแลว้ ดงั น้ันหากยังดูด ซมึ โปรตนี โมเลกลุ ใหญ่ อยา่ งเช่น เพปไตด์ (Peptides) เขา้ ไป โปรตีนพวก นีจ้ ะทาหน้าที่เปน็ สงิ่ ทีก่ อ่ ใหเ้ กิดอานาจตอ่ ตา้ นโรค ที่เรียกวา่ แอนติเจน (Antigen) กระต้นุ ร่างกายใหส้ ร้าง แอนติบอดี ขึ้น ทาให้บางรายเกดิ อาการแพ้ (Allergic reaction) ได้

การดูดซมึ ในลาไส้เล็กมี 2 ทาง คอื 2. ทางหลอดน้าเหลอื ง ไขมนั ส่วนมาก คือประมาณ 2 ใน 3 ของ ไขมันทัง้ หมด และวิตามนิ ทล่ี ะลายในไขมัน จะผ่านเข้าทางหลอด นา้ เหลอื งของปมุ่ ซมึ ไปยงั หลอดนา้ เหลืองใหญส่ ู่ Thoracic Duct และหลอดเลือดใต้กระดกู ไหปลารา้ ด้านซา้ ย (Left Subclavian Vein), Left Innominate Vein หลอดเลอื ดทนี่ าเลอื ดจากส่วนบนของ รา่ งกาย (Superior Vena Cava) เข้าสูห่ ัวใจห้องบนดา้ นขวา (Right Atrium)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook