Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่ม 4 Activity-diagram-รายงาน

กลุ่ม 4 Activity-diagram-รายงาน

Description: กลุ่ม 4 Activity-diagram-รายงาน

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอ่ื ง Activity diagram จัดทาโดย เขม็ อินทร์ นายเขมนิ ท์ เนียมชาวนา นางสาวนริ ัตน์ชา นมิ่ อ่มิ นางสาวพรรณวษา ระดับชนั้ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสงู (ปวส.) หอ้ ง 1.2 สาขาวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานน้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวตั ถุ รหสั วิชา 30901 – 2002 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาพิษณุโลก ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ก คำนำ รายงานนี้ เปน็ ส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนวิชาการวเิ คราะห์และออกแบบเชิงวัตถุโดยคณะผู้จัดทา ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่อง Activity diagram เพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาพัฒนาทักษะการเขียนโปรแกรมให้มี ความเข้าใจและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าเร่ือง Activity diagram จากแหล่งเว็บไซตต์ ่าง ๆ ซ่งึ สามารถนามาสรุปความรูไ้ ด้ดังรายงานเลม่ น้ี ณ โอกาสนี้คณะผจู้ ดั ทาหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่ารายงานนจี้ ะเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ทีส่ นใจได้ศึกษาคน้ คว้า เรอื่ ง Activity diagram ไม่มากก็น้อยและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งท้ังกับตนเองและผ้อู นื่ ต่อไป คณะผจู้ ดั ทา

สำรบญั ข เรอื่ ง หนำ้ คานา ก สารบญั ข สารบัญภาพ ค เนอ้ื หา 1 1 การใช้ Activity Diagram 1 Activity อาจเป็นการทางานต่าง ๆ 1 ลกั ษณะของ Activity Diagram 2 สัญลกั ษณ์ท่ีใชใ้ น Activity Diagram 3 ขนั้ ตอนในการเขยี น Activity Diagram 3 รูปแบบการใช้ Activity Diagram 6 การใช้ Activity Diagram แสดงการสง่ สัญญาณ 6 การแบ่งการทางานใหเ้ ป็นสดั ส่วนด้วย Swim lanes 8 Activity Diagram : Transitions 9 Activity Diagram : Swim lanes 9 Activity Diagram : Decision 10 Activity Diagram : Concurrency 10 การระบสุ ว่ นของข้อมลู ให้แก่กิจกรรม 11 การจดั ระเบยี บขอ้ มูล 12 การสร้างที่พกั /เก็บข้อมลู 12 คณุ สมบัติของ Activity Diagram ทด่ี ี 13 ตัวอย่าง Activity Diagram 14 บรรณานุกรม

สำรบัญภำพ ค ภำพท่ี เรอื่ ง หนำ้ 1 แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล 1 2 Activity Diagram แบบทัว่ ไป 3 3 Activity Diagram แบบมที างเลือกให้ตดั สนิ ใจ 4 4 ตัวอยา่ ง Activity Diagram 4 5 Activity Diagram แบบมกี ารทางานพร้อม ๆ กันหลายงาน 5 6 Activity Diagram แบบการส่งสญั ญาณ 5 7 Activity Diagram แสดงการส่งสญั ญาณ 6 8 แบง่ การทางานให้เป็นสัดส่วนด้วย Swim lanes 7 9 Activity Diagram : Transitions 8 10 Activity Diagram : Transitions 8 11 Activity Diagram : Swim lanes 9 12 Activity Diagram : Decision 9 13 Activity Diagram : Concurrency 10 14 การระบุสว่ นของข้อมลู ใหแ้ ก่กจิ กรรม 11 15 การแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างกิจกรรม 2 แบบ 11 16 การจัดระเบยี บขอ้ มูล 11 17 ใช้สญั ลักษณ์ <<datastore>> 12 18 ตัวอยา่ งการนา Data Store มาใช้งาน 12 19 ตัวอยา่ ง Research Process (กระบวนการวิจยั ) 13 20 ตวั อย่างการลงทะเบยี นเรียน 13

1 Activity diagram Activity Diagram (แผนภาพกิจกรรม) ใช้อธบิ ายกิจกรรมที่เกดิ ข้นึ ในลักษณะกระแสการไหลของการ ทางาน (Workflow) Activity Diagram จะมีลักษณะเดียวกับ Flowchart (แสดงขัน้ ตอนการทางานของระบบ) โดยขน้ั ตอนในการทางานแตล่ ะขน้ั จะเรยี กวา่ Activity 1. การใช้ Activity Diagram - อธิบายกระแสการไหลของการทางาน (Workflow) - แสดงขั้นตอนการทางานของระบบ 2. Activity อาจเปน็ การทางานต่าง ๆ ได้แก่ - การคานวณผลลัพธ์บางอยา่ ง - การเปลย่ี นแปลงสถานะ (State) ของระบบ - การส่งค่ากลบั คืน - การส่งสญั ญาณ - การเรียกใช้ Operation (Method) อื่น ๆ เพ่ือทางาน - การสรา้ ง หรอื ทาลายวตั ถุ 3. ลักษณะของ Activity Diagram - Activity Diagram จะตอ้ งมจี ดุ เร่มิ ต้นกบั จดุ สนิ้ สุดและในระหวา่ งจดุ เร่ิมต้นกับจุดสน้ิ สุดจะมี ข้ันตอนหรือ Activity ตา่ ง ๆ ของระบบ - ปกตแิ ล้วจะเขยี น Activity Diagram โดยอา่ นจากดา้ นบนลงลา่ ง ดงั ภาพ Activity1 Activity2 ภาพที่ 1 แผนภาพแสดงการไหลของข้อมลู

2 4. สัญลกั ษณท์ ี่ใชใ้ น Activity Diagram 4.1 กจิ กรรม (Activity) กจิ กรรม 4.2 เสน้ ทางการไหลของกจิ กรรม กิจกรรม 1 กจิ กรรม 2 4.2.1 กรณี Synchronization และ Join 4.2.2 กรณมี เี ง่ือนไข [X>0] [X=0] [X>0] [X<0] กจิ กรรม [X=0] [X<0] 4.3 จุดเริ่มตน้ 4.4 จดุ สน้ิ สุด 4.5 สวมิ เลนส์ (SWIMLANES) คลาส2 คลาส1

3 4.6 แสดงการไหลของอ็อบเจกต์ (Object Flow) ( ) 4.7 Object : Class หรอื ออ็ บเจกต์ : คลาส [state] [สถานะ] 5. ขน้ั ตอนในการเขียน Activity Diagram 5.1 พจิ ารณากิจกรรมต่าง ๆ ทีไ่ ด้จากผลการวเิ คราะหท์ คี่ วรอธบิ าย 5.2 พิจารณากจิ กรรมย่อยทเี่ กิดขึ้น เง่ือนไขหรอื กรณตี ่าง ๆ ท่เี กิดขน้ึ เม่ือเปน็ ไปตามเง่ือนไข 5.3 เรียงลาดับกิจกรรมที่เกิดก่อนหลงั 5.4 เขยี นกจิ กรรมย่อยด้วยสัญลกั ษณ์แสดงกิจกรรม 5.5 เขียนจดุ เรมิ่ ตน้ 5.6 เขียนจุดสน้ิ สดุ 6. รปู แบบการใช้ Activity Diagram 6.1 แบบทว่ั ไป Activity1 Activity2 ภาพที่ 2 Activity Diagram แบบท่วั ไป

4 6.2 แบบมที างเลือกใหต้ ัดสินใจ การกาหนดทางเลือกให้แก่ Activity Diagram ทาได้ 2 วธิ ี - ลากลกู ศรของแต่ละทางเลอื กไปยัง Activity ผลลพั ธข์ องทางเลอื กโดยตรง - ลากลูกศรของแตล่ ะทางเลอื กผ่านรปู สี่เหลยี่ มขนมเปียกปูนก่อน Wake Up Wake Up hungry not hungry Eat Breakfast Go back to sleep hungry not hungry Eat Breakfast Go back to sleep ภาพที่ 3 Activity Diagram แบบมีทางเลือกให้ตัดสินใจ Calculate payroll [hours<=40] Normal payroll [hours>40] Overtime, Get authorization ภาพท่ี 4 ตัวอย่าง Activity Diagram

5 6.3 แบบมกี ารทางานพร้อม ๆ กนั หลายงาน ใหใ้ ชเ้ สน้ ตรงแนวนอนเส้นหนาท่ีเรยี กวา่ Swim Lanes มาเปน็ สญั ลักษณ์ทใ่ี ชจ้ ดั กลุ่มงานทม่ี กี าร ทางานพร้อม ๆ กันหรอื การทากจิ กรรมในลักษณะคู่ขนาน Work Out Shopping Relax ภาพท่ี 5 Activity Diagram แบบมกี ารทางานพร้อม ๆ กันหลายงาน 6.4 แบบการสง่ สัญญาณ ในกระบวนการทางาน อาจเป็นไปไดว้ ่าจะมีการสง่ สัญญาณบางอยา่ งในระหว่างการทางาน เมื่อเกิดการส่ง - รบั สัญญาณ เราเรยี กวา่ เกดิ Activity ไดเ้ ช่นกัน แทนเหตกุ ารณท์ ่เี ป็นอินพุต แทนเหตุการณ์ท่เี ปน็ เอาต์พุต ภาพท่ี 6 Activity Diagram แบบการส่งสญั ญาณ

6 7. การใช้ Activity Diagram แสดงการส่งสัญญาณ ตัวอยา่ งการใช้ Activity Diagram แสดงการส่งสัญญาณทเี่ ป็นการแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ ง Activity ทงั้ สอง ภายใต้เหตุการณ์เดียวกันโดยระบบที่สนใจ คอื การกดปมุ่ รโี มทคอนโทรลเพอ่ื เปลี่ยนช่อง โทรทศั น์ Television Press Channel Number Show New Channel Change Channel Change Watch Channel ภาพท่ี 7 Activity Diagram แสดงการสง่ สญั ญาณ 8. การแบง่ การทางานให้เปน็ สดั ส่วนดว้ ย Swim lanes - คุณลักษณะอีกอยา่ งหนงึ่ คือ การแสดงใหเ้ ห็นไดว้ ่าใครเปน็ ผู้มหี น้าท่ีรบั ผดิ ชอบในแตล่ ะ Activity ในกระบวนการทางานหน่ึง ๆ - หลักการของการแสดงหน้าท่ี จะทาโดยการแบง่ กลุ่มของการรับผิดชอบเป็นกลุ่ม ๆ ซ่งึ เปรียบ เหมอื นการแขง่ วา่ ยน้า เรียกกลไกนว้ี า่ Swim lanes - ในแต่ละ Swim lanes จะมีการกาหนดชื่อกากับเอาไว้ เช่น กระบวนการของการสั่งซ้ือสนิ ค้า เราอาจแบง่ กลมุ่ ของคนท่ีมสี ่วนเกีย่ วข้องเป็น 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ลูกคา้ , ฝา่ ยขาย, คลงั สินคา้

ตัวอย่างการทางานใหเ้ ปน็ สดั ส่วนดว้ ย Swim lanes 7 ลูกคา้ เซลล์ คลังสินค้า ต้องการสินคา้ นาสนิ ค้าออกจากคลงั สง่ สินคา้ ตามใบส่ังซ้ือ กระบวนการส่ังซอ้ื สนิ คา้ Order (ดาเนินการ) ได้รับสนิ คา้ ออกบิลใหล้ กู ค้า Order (สมบรู ณ)์ จา่ ยเงิน Bill (ยงั ไม่จ่ายเงนิ ) Bill (จ่ายแล้ว) ปิดการขาย ภาพที่ 8 แบ่งการทางานให้เป็นสัดส่วนด้วย Swim lanes

8 9. Activity Diagram : Transitions 9.1 Control-flow transitions ใช้เพื่อเรยี งลาดบั ของการเกดิ Activity โดยจะเรมิ่ ทา Action ถดั ไปก็ ต่อเมื่อ Action ก่อนหนา้ ทางานเสรจ็ เรียบร้อย Project Manager Enter Report Criteria Project Management System Generates Report Printer Prints Report ภาพที่ 9 Activity Diagram : Transitions 9.2 Object-flow transitions ใชเ้ พ่ือระบุ Input หรือ Output ทเ่ี กดิ ข้นึ จากการทางานใน Action นั้นโดย Input /Output จะแสดงเปน็ Object Project Manager Project Management Enter Data System Generates Information Report Criteria Report Printer Prints Information ภาพที่ 10 Activity Diagram : Transitions

9 10. Activity Diagram : Swim lanes กิจกรรมในการทางาน สามารถแบง่ หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบไดด้ ้วย Swim lanes Project Management System Project Manager Printer Project Manager Generates Information Enter Data Report Report Criteria Printer Prints Information ภาพท่ี 11 Activity Diagram : Swim lanes 11. Activity Diagram : Decision แทนดว้ ยสัญลักษณ์สีเ่ หลย่ี มข้าวหลามตัด พรอ้ มระบเุ ง่ือนไขของแตล่ ะกรณีเอาไว้ [sufficient [insufficient [chose funds] [chose [chose [chose rocky road] funds] chocolate] vanilla] strawberry] Give the Shake your Server up Server up Server up Server up customer finger at the chocolate vanilla strawberry rocky road the money customer ice cream ice cream ice cream ice cream ภาพท่ี 12 Activity Diagram : Decision

10 12. Activity Diagram : Concurrency Concurrency เป็นการแสดงการทางานทสี่ ามารถทากจิ กรรมใด พร้อมๆกันได้ Project Management System Project Manager Printer Enter Data Generate Information Report Criteria Report Prints Information Monitor For Print Requests [More Reports] [No More Reports] ภาพที่ 13 Activity Diagram : Concurrency 13. การระบุส่วนของข้อมลู ให้แก่กจิ กรรม - โดยปกติกิจกรรมการทางานมักเกีย่ วข้องกับข้อมูล เช่น การสร้าง ลบ หรือ การโยกยา้ ยข้อมลู เปน็ ต้น - Activity Diagram จงึ มสี ว่ นทเ่ี รยี กว่า Input Pin และ Output Pin สาหรับการแสดงสว่ นท่เี ปน็ ข้อมลู Input และ Output - Pin จะมีลกั ษณะเป็นรูปสเ่ี หลี่ยมเลก็ ๆ ทวี่ างไว้ก่อนหรือหลังรปู สเี่ หล่ยี ม มุมโคง้ ของ Activity เพ่อื แสดง Input และ Output ของกจิ กรรม

11 name name action1 action2 Input pin Output pin ภาพท่ี 14 การระบุส่วนของข้อมลู ใหแ้ ก่กิจกรรม - ในกรณีที่ข้อมูล Input จากกจิ กรรมหนึง่ เปน็ Output ของอีกกจิ กรรมหนงึ่ การแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกิจกรรมดงั กล่าว สามารถเขยี นได้ 2 แบบ ดงั น้ี action1 Name action2 action1 action2 ภาพที่ 15 การแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งกจิ กรรม 2 แบบ 14. การจัดระเบียบขอ้ มลู ในบางครงั้ ขอ้ มูลอาจมาจากต้นทางหลายแห่งหรือมาจากต้นทางเดยี วกนั แต่มีการส่งขอ้ มูลมาเรือ่ ย ๆ อย่างต่อเน่ือง ดังน้ัน จงึ ตอ้ งจัดเรียงข้อมลู เหล่านนั้ ในระหว่างกระบวนการทางานหนึ่ง ๆ โดยใช้สญั ลกั ษณ์ <<centralBuffer>> Place Order Order Region << centralBuffer >> Fill Order Customer [Active] Place Order Region2 Order ภาพท่ี 16 การจัดระเบียบขอ้ มูล

12 15. การสร้างท่ีพกั /เกบ็ ข้อมูล ระหว่างกจิ กรรมหน่งึ ๆ อาจมีการสร้าง ลบ โยกย้ายข้อมลู รวมถึงมีการเรียกใชข้ ้อมลู เพ่ือประมวลผล บางอยา่ ง บางครัง้ ข้อมูลเหล่านี้จะเกดิ ข้ึนชั่วคราวในระหว่างการทางาน เมอื่ การประมวลผลเสรจ็ สิ้น ข้อมูลน้ันจะ หายไป หรือในบางครง้ั เราอาจตอ้ งเก็บขอ้ มูลดงั กล่าวไว้เพ่ือการทากจิ กรรมอน่ื ๆ ต่อไป ไมว่ า่ กรณีใดกต็ ามเรา ตอ้ งมีทสี่ าหรับพัก/เกบ็ ข้อมลู นน้ั เอาไว้ท่ี Data Store โดยใน Activity Diagram จะใช้สัญลกั ษณ์ <<datastore>> <<datastore>> name [state] ภาพท่ี 17 จะใชส้ ญั ลักษณ์ <<datastore>> Add Customer {create} <<datastore>> {read} Mail Pramations Customer (active) {read} {update} Change Customer Address ภาพที่ 18 ตวั อยา่ งการนา Data Store มาใช้งาน 16. คณุ สมบัติของ Activity Diagram ทดี่ ี 16.1 มุ่งเน้นการตดิ ตอ่ ส่ือสารของระบบในเชงิ ไดนามิกเฉพาะอีลเิ มนตท์ ม่ี ีความสาคญั ตอ่ กระบวนการ ทางานเท่าน้นั 16.2 แสดงรายละเอียดในแต่ละระดบั การทางาน โดยเลอื กแสดงเฉพาะท่ีมีความสาคัญต่อการเขา้ ใจการ ทางานของระบบเทา่ นนั้ 16.3 ถ้าการทางานส่วนใดมีความสาคญั ก็ควรเขียน Activity Diagram ไมค่ วรละเอาไวห้ รือแสดงเพยี ง อย่างย่อ ๆ

13 17. ตวั อยา่ ง Activity Diagram - เร่ือง Research Process (กระบวนการวจิ ยั ) ภาพท่ี 19 ตัวอย่าง Research Process (กระบวนการวจิ ยั ) - ตวั อยา่ งการลงทะเบยี นเรยี น ภาพท่ี 20 ตัวอย่างการลงทะเบยี นเรียน

14 บรรณานุกรม นายปยิ พงศ์ ลกั ษณะปิยะ. (2557). Activity Diagram. (ออนไลน)์ . https://sites.google.com/site/it29activitydiagram/format. วันที่ 19 ม.ค. 2564. นายพนมพร รอดคาดี. (2559). Activity Diagram. (ออนไลน)์ . https://www.glurgeek.com/education/whatisactivitydiagram/. วันท่ี 19 ม.ค. 2564. Sakul Jaruthanaset. (2563). Activity Diagram. (ออนไลน)์ . https://www.saladpuk.com/basic/uml/activity-diagram. วนั ท่ี 19 ม.ค. 2564. Wikipedia. (2563). Activity Diagram. (ออนไลน)์ . https://en.wikipedia.org/wiki/Activity_diagram. วันที่ 19 ม.ค. 2564. NUTHDANAI WANGPRATHAM. (2562). Activity Diagram. (ออนไลน์). https://nutdnuy.medium.com/activity-diagrams-84f49d94a361. วันท่ี 19 ม.ค. 2564.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook