ดาวเหนือ ดาวเหนือ หรอื ดาวโพลารสิ เปน็ ดาวฤกษท์ ส่ี วา่ งท่ีสุดในกลุ่มดาวหมีเล็ก และอยู่ใกล้กับขั้วฟ้าเหนือ จึง ปรากฏเหมือนอยู่น่ิงกับท่ีบนท้องฟ้า ดาวเหนือเป็นดาวท่ีมีความสว่างอันดับท่ี2 อยู่ห่างจะโลก434 ปีแสง ดาวเหนอื มคี วามสาคัญในการเดินเรือและนักเดินทางสมัยโบราณเพราะดาวเหนือจะอยู่ทางทิศเหนือเสมอ ไม่ เหมือนกับดาวอนื่ ๆที่เปล่ียนกลมุ่ ดาวในแตล่ ะฤดูเพราะการโครงจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ 1. การหาตาแหนง่ ของดาวเหนอื ทรงกลมท้องฟา้ เคลอ่ื นท่ีอย่างชา้ ๆ ตลอดเวลา เราจงึ มองเหน็ กลุ่มดาวหมนุ เวียนเปลยี่ นไปตามวนั เวลา และตามฤดกู าล ดงั นนั้ ในการเรมิ่ ต้นสงั เกตการณท์ ้องฟ้า เราจะต้องรจู้ กั ตาแหน่งของทิศทั้งส่เี สียกอ่ น หากไมม่ ี เข็มทิศเราก็สามารถใช้กลุ่มดาวเปน็ ประโยชน์ในการบอกทิศได้ โลกหมุนรอบตัวเองจากทศิ ตะวนั ตกไปยงั ทิศ ตะวนั ออก ทาใหเ้ รามองเห็นดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และกลมุ่ ดาวบนท้องฟ้า เคลอ่ื นทจี่ ากทางตะวันออกไปยัง ทางตะวันตก ดาวเหนอื เป็นดาวดวงเดียวทปี่ รากฏอยู่กบั ท่ี ไมเ่ คลื่อนท่ีไปไหน อย่างไรก็ตามดาวเหนือมีความ สว่างไมม่ าก และอยู่สงู เหนือเสน้ ขอบฟ้าไม่มาก เม่ือมองดูท่ีประเทศไทย ภาพท่ี 1 การเคล่อื นที่ของกลุ่มดาวรอบขั้วฟา้ เหนือ (หอดูดาวเกิดแกว้ ) http://www.digitalschool.club/ ในภาพที่ 1 เป็นผลจากการถา่ ยภาพขว้ั ฟ้าเหนอื โดยเปิดหน้ากล้องเปน็ ระยะเวลานาน เม่ือเวลา เปลย่ี นไป โลกหมุนรอบตัวเอง ดาวบนทอ้ งฟา้ เคลื่อนทเ่ี ป็นเส้นโคง้ โดยมีศูนย์กลางเป็นอยู่ทขี่ ั้วฟา้ เหนือ ดาว สวา่ งทเ่ี ปน็ จุดอยตู่ รงกลางน้นั คือ “ดาวเหนอื ” (Polaris) เราเรยี กเสน้ โค้งเหล่านวี้ า่ “เสน้ ทางเดินของดาว” (Startrails)
2. การหาทิศเหนือ จากทศิ ตะวันตก หากไมม่ เี ข็มทศิ ให้จาตาแหน่งทด่ี วงอาทิตยห์ รือดวงจันทรต์ กลบั ขอบฟ้าไว้วา่ นัน่ คอื “ทิศตะวนั ตก” (โดยประมาณ) หากเราหนั หนา้ เข้าหาทิศตะวันตก ยกแขนขวาขน้ึ ขนานพื้น และเหยียดออกไปทางข้างลาตัว มือขวาจะชี้ไปยังทศิ เหนือ จากนั้นเหยียดนว้ิ โป้งลงพ้นื ไว้ท่ีเสน้ ขอบฟ้า เหยียดนิ้วช้ี ช้ีข้ึนข้างบน จะมองเห็นดาว เหนืออยู่บนปลายนิ้วช้ี ดาวเหนอื เป็นดาวสขี าวมคี วามสว่างปานกลาง (ดาวเหนอื จะอยู่สูงจากขอบฟา้ ด้านทศิ เหนือ เทา่ กบั องศาละตจิ ูดของผ้สู ังเกตการณ์ ตวั อยา่ งเชน่ ถ้าผสู้ ังเกตการณ์อยู่ท่ี กทม. หรือละตจิ ดู ที่ 13° เหนือ ดาวเหนอื ก็จะอยเู่ หนือขอบฟา้ ด้านทิศเหนอื ขึ้นมา 13° เชน่ กัน) 3. การหาดาวเหนอื จากกลมุ่ ดาวหมใี หญ่ ภาพที่ 2 การหาดาวเหนือจากกล่มุ ดาวหมีใหญ่ http://www.digitalschool.club/ ในบางคร้งั เรามองหาดาวเหนือได้จากการดู “กลุ่มดาวหมใี หญ่” (Ursa major) หรือที่คนไทยเรา เรียกว่า “กลุม่ ดาวจระเข้” กลุม่ ดาวน้มี ดี าวสวา่ งเจ็ดดวง เรียงตัวเปน็ รูปกระบวยตกั น้า ดาวสองดวงแรกของ กระบวยตกั นา้ จะชี้ไปยงั ดาวเหนอื เสมอ ไมว่ ่าทรงกลมท้องฟ้าจะหมุนไปอย่างไรก็ตาม ดาวเหนือจะอยู่ห่าง ออกไป 4 เท่าของระยะทางระหวา่ งดาวสองดวงแรกเสมอ ดังทแ่ี สดงในภาพท่ี 2
4. การหาดาวเหนือจากกลมุ่ ดาวคา้ งคาว ภาพท่ี 3 การขน้ึ - ตก ของกล่มุ ดาวรอบขว้ั ฟ้าเหนือ http://www.digitalschool.club/ ในบางคนื กลุ่มดาวหมีใหญเ่ พ่งิ ตกไป หรอื ยงั ไม่ขึน้ มา เราก็สามารถมองหาทิศเหนืออย่างคร่าว ๆ ได้โดยอาศัย “กลุ่มดาวค้างคาว” (Cassiopeia) กลุ่มดาวค้างคาวประกอบด้วย ดาวสว่าง 5 ดวง เรียง เป็นรูปตัว “M” หรือ “W” คว่า กลุ่มดาวค้างคาวจะอยู่ในทิศตรงข้ามกับกลุ่มดาวหมีใหญ่เสมอ ดังน้ันขณะกลุ่มดาวหมีใหญ่กาลังตก กลุ่มดาวค้างคาวก็กาลังขึ้น และเม่ือกลุ่มดาวหมีใหญ่ กาลังจะขน้ึ กลมุ่ ดาวคา้ งคาวกก็ าลงั จะตก ดังที่แสดงในภาพท่ี 3 5. การหาดาวเหนอื จากกลุ่มดาวนายพราน ภาพที่ 4 กลมุ่ ดาวนายพรานหันหวั เข้าหาดาวเหนือเสมอ http://www.digitalschool.club/
ในบางครัง้ เมฆเข้ามาบงั ทอ้ งฟา้ ทางด้านทิศเหนือ ทาให้เราไม่สามารถมองเหน็ กลุ่มดาวหมีใหญ่ หรือ กลมุ่ ดาวค้างคาวไดเ้ ลย ในกรณนี ้ีเราอาจใช้ “กล่มุ ดาวนายพราน” (Orion) ในการนาทางได้อย่างครา่ วๆ เพราะกลมุ่ ดาวนายพรานจะหันหวั เขา้ หาดาวเหนอื เสมอ นอกจากนนั้ กลุม่ ดาวนายพรานยังตั้งอยูบ่ นเส้นศูนย์ สตู รฟ้า นน่ั หมายความวา่ กลุ่มดาวนายพรานจะขนึ้ -ตก ในแนวทิศตะวนั ออก-ตะวนั ตก เสมอ ท่มี า : http://www.digitalschool.club/digitalschool/science1_2_2/science21_2/more/page1.php
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: