Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้-ฝนดาวตก

ใบความรู้-ฝนดาวตก

Published by 945sce00461, 2021-06-10 06:45:58

Description: ใบความรู้-ฝนดาวตก

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เรอ่ื ง ฝนดาวตก ฝนดาวตก (Meteor shower) หมายถึง ปรากฏการณ์ท้องฟ้าที่มีดาวตกจานวนมากตกมาจาก แหล่งกาเนิดเดยี วกนั ฝนดาวตกสว่ นมากเกิดขน้ึ จากฝุน่ ของดาวหาง (ยกเวน้ ฝนดาวตกเจมนิ ดิ ส์ เกิดจากฝุ่นของ ดาวเคราะห์น้อยเฟธอน 3200) เมอ่ื ดาวหางโคจรรอบดวงอาทติ ย์ มันจะปลอ่ ยอนุภาคออกมาเป็นทางยาวทิ้งไว้ เป็นทางยาวในวงโคจร เรียกว่า \"ธารอุกกาบาต\" (Meteor stream) ดังภาพท่ี 1 ดาวหางท่ีมีขนาดใหญ่และ กาลงั คุกรนุ่ จะทาให้เกิดธารอุกกาบาตขนาดใหญ่ซ่ึงมีอนุภาคจานวนมาก ดาวหางที่มีขนาดเล็กและเก่าแก่จะมี ธารอกุ กาบาตขนาดเลก็ และมีอนภุ าคจานวนน้อย ดาวหางบางดวง เชน่ ดาวหางฮัลเลย์มีวงโคจรตัดกับวงโคจร ของโลก ถา้ ดาวหางผ่านมาพร้อมกบั ทโี่ ลกโคจรเข้าไปพอไป ดาวหางจะชนโลกทาให้เกิดการสูญพันธุ์คร้ังใหญ่ ของสิ่งมีชีวิตบนโลกเหมือนดังเมื่อ 65 ล้านปีมาแล้ว เนื่องจากฝุ่นและแก๊สที่เกิดจากการระเบิดจะปกคลุม พืน้ ผิวของโลกนานหลายเดือนจนพืชไม่สามารถสงั เคราะห์แสงได้ ทาให้ห่วงโซอ่ าหารและระบบนิเวศถูกทาลาย ถ้าหากโลกโคจรผา่ นเข้าไปในธารอกุ กาบาตขณะที่ดาวหางเพ่ิงจะผ่านไปจะทาใหเ้ กิดฝนดาวตกจานวมาก แต่ถา้ หากดาวหางโคจรผ่านไปนานแล้วกอ่ นท่โี ลกจะโคจรเขา้ ไป ฝนดาวตกกจ็ ะมจี านวนน้อย ภาพที่ 1 ธารอุกกาบาตและวงโคจรโลก http://www.lesa.biz/astronomy/solar-system/small-bodies/meteor-shower ฝนดาวตกแตกต่างจากดาวตกทั่วไปตรงที่ดาวตกทั่วไปมีจานวนน้อย (แต่ละคืนมีดาวตกให้เห็นเพียง ไมก่ ี่ดวง) และไมไ่ ด้ตกลงมาจากจุดเดียวกัน แต่ฝนดาวตกจะมีดาวตกจานวนมาก (คืนละหลายสิบดวงถึงหลาย หมื่นดวงขน้ึ อยู่กบั ความหนาแน่นของธารอุกกาบาต) เม่ือเราเห็นดาวตกแต่ละดวงตกลงมาจากฟ้าแล้วลากเส้น ย้อนกลับทิศทางที่ดาวตกแต่ละดวงตกลงมา จะพบว่าแต่ละเส้นตัดกันท่ีบริเวณเดียวกันเรียกว่า \"เรเดียนท์\"

(Radiant) ฝนดาวตกจะมีชื่อเรียกตามตาแหน่งของเรเดียนท์ในกลุ่มดาว เช่น ฝนดาวตกลีโอนิดส์ (Leonids) มีเรเดียนท์อยู่ในกลุ่มดาวสิงห์โต (Leo), ฝนดาวตกเจมินิดส์ (Geminids) มีเรเดียนท์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่ (Gemini), และฝนดาวตกโอไรออนิดส์มีเรเดียนอยู่กลุ่มดาวนายพราน (Orion) ดังภาพที่ 2 แสดงให้เห็น เรเดียนท์ของฝนดาวตกเจมนิ ดิ ส์ ภาพที่ 2 เรเดียนทข์ องฝนดาวตกโอไรออนิดส์ในกลุม่ ดาวนายพราน http://www.lesa.biz/astronomy/solar-system/small-bodies/meteor-shower ฝนดาวตกเป็นปรากฏการณ์ซึ่งเกิดขึ้นเป็นประจาทุกปี ดังนั้นการดูฝนดาวตกจึงสามารถ วางแผนไดล้ ่วงหนา้ โดยดจู ากปฏิทนิ ฝนดาวตกในตารางที่ 1 ดา้ นลา่ ง โดยเลือกดูฝนดาวตกที่ไม่เกิดขึ้นในฤดูฝน และมีจานวนดาวตกมาก ท้ังน้ีมีปัจจัยสาคัญอีกสามประการท่ีต้องพิจารณาคือ สภาพอากาศ เวลาข้ึนตกของ ดวงจันทร์ และเลือกสถานทม่ี ืดปราศจากแสงรบกวน เพราะฝนดาวตกไม่สว่างมาก ไม่สามารถสู้แสงจันทร์หรือ แสงจากเมืองได้ ยกเว้นดาวตกดวงใหญท่ ่ีเรียกว่า \"ไฟร์บอล\" (Fireball) ซงึ่ นานๆ คร้งั จะมีใหเ้ ห็น ภาพที่ 3 ไฟรบ์ อล http://www.lesa.biz/astronomy/solar-system/small-bodies/meteor-shower

ในการดูฝนดาวตกไม่จาเป็นต้องจ้องมองที่เรเดียนท์ เพราะตอนที่ดาวตกจากมาจากเรเดียนท์น้ันเรายัง มองไม่เห็น ดาวตกจะเกิดแสงสว่างต่อเมื่อเสียดสีกับช้ันบรรยากาศจนเกิดการลุกไหม้แล้วเท่านั้น ดาวตก อาจจะตกข้ามศีรษะเราไปปรากฏสว่างให้เห็นในทิศทางใดก็ได้ ดังนั้นการดูฝนดาวตกควรนอนหงายแล้วกวาด มองไปให้ทั่วท้องฟ้า เพราะไม่สามารถทราบล่วงหน้าว่า ดาวตกจะปรากฏให้เห็นในช่วงเวลาและทิศทางใด อย่างไรก็ตามเราจะเห็นดาวตกจานวนมากเมื่อ “เรเดียนท์” อยู่ในตาแหน่งใกล้จุดเหนือศีรษะมากที่สุด เพราะดาวตกสามารถตกกระจายไปท่วั ท้องฟ้าทกุ ทิศทาง ตารางที่ 1 ปฏทิ ินฝนดาวตก ชว่ งสงั เกตการณ์ คืนทดี่ าวตก จานวน ความเร็ว แหล่งกาเนดิ มากท่ีสดุ (ดาวตก/ชัว่ โมง) (กม./วินาท)ี ฝนดาวตก กลุม่ ดาว ควอดแดรนตดิ ส์ คนเลย้ี งสตั ว์ 28 ธ.ค.-7 ม.ค. 3-4 ม.ค. 50 41 ดาวเคราะห์น้อย 2003 EH1 ไลรดิ ส์ พิณ 16-25 เม.ย. 20-21 เม.ย 20-15 48 ดาวหางแทตเขอร์ เอตา อะควอรดิ ส์ คนแบกหมอ้ นา้ 21 เม.ย.-22 พ.ค. 4-5 พ.ค. 20-50 65 ดาวหางฮลั เลย์ เดลตา อะควอรดิ ส์ คนแบกหมอ้ น้า 14 ก.ค.-18 ส.ค. 29-30 ก.ค. 15-20 41 ดาวหางมัคโชลซ์ เพอร์ซดี ส์ เพอร์เซอสุ 23 ก.ค.-22 ส.ค. 12-13 ส.ค. 80 60 ดาวหางสวิฟ- ททั เทลิ โอไรออนิดส์ นายพราน 15-29 ต.ค. 21-22 ต.ค. 20-25 66 ดาวหางฮลั เลย์ ลโี อนดิ ส์ สงิ โต 14-20 พ.ย. 17-18 พ.ย. 15-1000 71 ดาวหางเทมเปลิ -ทตั เทิล เจมินิดส์ คนคู่ 6-19 ธ.ค. 13-14 ธ.ค. 80-130 35 ดาวเคราะหน์ อ้ ยเฟธอน หมายเหต:ุ ฝนดาวตกลีโอนดิ ส์มมี ากทุกๆ 33 ปี ฝนดาวตกควอดแดรนต์ (Quadrantids : QUA) ฝนดาวตกควอดแดรนต์มจี ุดกระจายอยบู่ รเิ วณตรงกลางระหวา่ งกลุ่มดาวเฮอร์ควิ ลีส คนเลีย้ งสตั ว์ และ มังกร ใกลป้ ลายหางของกลุม่ ดาวหมีใหญ่ หรือดาวจระเข้ ฝนดาวตกมกั มีชื่อเรยี กตามกลมุ่ ดาวที่จดุ กระจาย อยู่ ชื่อควอดแดรนต์มาจาก Quandrans Muralis เปน็ ชอ่ื ละตนิ ของกลุ่มดาวทเ่ี คยอยู่บริเวณน้ี สะเกด็ ดาวทท่ี าใหเ้ กิดฝนดาวตกควอดแดรนต์มาจากดาวเคราะห์น้อย 2003 อีเอช 1 (2003 EH 1) ซง่ึ อาจเก่ยี วข้องกบั ดาวหางมัคโฮลซ์ (96P/Machholz) ภายใตส้ ภาวะท่ที ้องฟ้ามืดสนทิ และจุดกระจายอย่เู หนอื ศรี ษะ สามารถมีอัตราการตกไดส้ ูงถงึ 120 ดวงต่อช่ัวโมง (แปรผันไดร้ ะหว่าง 60-200) โดยมักตกสูงสดุ ราว วนั ที่ 3-4 มกราคม ของทกุ ปี

ตาแหนง่ ของจุดกระจายบนท้องฟา้ ทาให้พนื้ ทีบ่ นโลกท่ีสังเกตฝนดาวตกกลุม่ นี้ไดด้ ีที่สดุ คือประเทศใน ละตจิ ูดสูงของซกี โลกเหนือ ประเทศไทยสังเกตไดใ้ นอัตราท่ีตา่ กว่าคา่ สงู สุดเสมอ เน่ืองจากละติจูดของประเทศ ไทยทาใหจ้ ุดกระจายอยสู่ ูงจากขอบฟ้าไมม่ าก ปนี อ้ี งค์การดาวตกสากลคาดหมายว่าเวลาท่ีโลกเคลอ่ื นผา่ นจดุ ที่ หนาแนน่ ทีส่ ดุ ของธารสะเก็ดดาวตรงกบั วันที่ 3 มกราคม 2564 เวลา 21:30 น. ตามเวลาประเทศไทย แตเ่ รา สังเกตฝนดาวตกกลุ่มนไ้ี ดด้ ีเฉพาะในชว่ งเชา้ มดื เทา่ นัน้ ซ่งึ หา่ งจากเวลาท่คี าดว่าจะตกถที่ ี่สดุ หลายช่ัวโมง ทาให้ อัตราตกสาหรับประเทศไทยในเชา้ มืดวันจันทร์ที่ 4 มกราคม จะต่ามาก อยู่ทร่ี าว 5 ดวง/ช่ัวโมง ฝนดาวตกพณิ (Lyrids : LYR) ฝนดาวตกพณิ มีอตั ราตกสงู สุดราววันที่ 21-22 เมษายน ของทุกปี อยู่ที่ประมาณ 18 ดวงต่อชัว่ โมง (แปร ผนั ได้ เคยสูงถึง 90 ในชว่ งเวลาส้ัน ๆ เมื่อ พ.ศ. 2525) เกิดจากดาวหางแทต เชอร์ (C/1861 G1 Thatcher) เปน็ ดาวหางที่มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ยาวนานถงึ 415 ปี สาหรับประเทศไทย ปีนีค้ าดวา่ ฝนดาวตกพิณจะมีอตั ราสูงสดุ ในคืนวันพฤหัสบดีที่ 22 เมษายน 2564 จดุ กระจายข้ึนเหนือขอบฟา้ ในเวลา 4 ทุม่ แต่ดวงจันทรย์ ังไมต่ ก ชว่ งเวลาท่มี ีโอกาสเหน็ ดาวตกได้มากทีส่ ุดคือ หลงั จากดวงจนั ทรต์ กราวตี 3 ไปจนถึงตี 5 ของเช้ามืดวนั ศกุ รท์ ี่ 23 เมษายน 2564 หากท้องฟ้าเปิดโลง่ ทกุ ทิศ ไร้เมฆ และหา่ งไกลจากแสงไฟฟ้าในเมืองรบกวน คาดว่าอาจนับไดร้ าว 15 ดวง/ช่ัวโมง ฝนดาวตกอตี าคนแบกหม้อนา (Eta Aquariids : ETA) ฝนดาวตกอตี าคนแบกหม้อน้ามจี ุดกระจายอยู่ใกล้ดาวอตี า (η) ในกลุม่ ดาวคนแบกหม้อน้า เกดิ จากดาว หางแฮลลยี ์ (1P/Halley) มีอตั ราตกสงู สุดราววันที่ 5-7 พฤษภาคม ที่ 50 ดวงตอ่ ช่วั โมง (แปรผันได้ ระหว่าง 40-85) การสงั เกตการณ์ในอดีตพบว่าอตั ราตกสงู สุดแปรผันเปน็ คาบประมาณ 12 ปี ซึง่ อาจเกย่ี วข้อง กับแรงโน้มถว่ งรบกวนจากดาวพฤหสั บดี ธารสะเก็ดดาวของฝนดาวตกกลุ่มนคี้ ่อนข้างกวา้ ง ชว่ งทต่ี กในระดับเกิน 30 ดวง/ชั่วโมง ครอบคลมุ หลาย วนั โดยเฉพาะในชว่ งวันที่ 3-10 พฤษภาคม จดุ กระจายขนึ้ เหนอื ขอบฟ้าในเวลาตี 2 เวลาท่มี ีโอกาสเห็นดาวตก ไดม้ ากท่สี ุดคือช่วงตี 4 – ตี 5 ของเชา้ มืดวนั พฤหสั บดีท่ี 6 และศกุ ร์ท่ี 7 พฤษภาคม 2564 แต่ปนี ้ีมีแสงจันทร์ เสย้ี วรบกวน ในหนง่ึ ชั่วโมงนีอ้ าจนับไดร้ าว 25 ดวง ฝนดาวตกเดลตาคนแบกหม้อนาใต้ (Southern Delta-Aquariids : SDA) ฝนดาวตกเดลตาคนแบกหมอ้ นา้ ใตม้ ีอตั ราตกสงู สุดราววันที่ 29-30 กรกฎาคม ของทกุ ปี โดยอยู่ท่ี ประมาณ 25 ดวง/ชวั่ โมง ดาวตกจากฝนดาวตกกลุ่มนม้ี ีความสว่างนอ้ ยเม่ือเทียบกบั ฝนดาวตกกลุม่ หลกั กลุม่ อื่น ๆ ปีน้ีสังเกตไดด้ ที ่ีสุดในคืนวนั ศุกรท์ ่ี 30 ถงึ เช้ามดื วนั เสารท์ ี่ 31 กรกฎาคม 2564 จุดกระจายขึ้นเหนอื ขอบ ฟ้าราว 3 ทุม่ หากทอ้ งฟ้าเปิด ไมม่ ีเมฆฝนรบกวน นา่ จะเหน็ ดาวตกในอัตราประมาณ 15 ดวง/ช่วั โมง ใกล้เที่ยง คนื ดวงจนั ทรจ์ ะข้ึนมาอยู่เหนอื ขอบฟ้า ทาให้มีแสงจันทรร์ บกวนไปจนถงึ เชา้ มดื

ฝนดาวตกเพอรซ์ ิอัส (Perseids : PER) ฝนดาวตกเพอร์ซิอสั หรือฝนดาวตกวนั แม่ เป็นฝนดาวตกทม่ี ชี ่ือเสียงในประเทศตะวันตก โดยเฉพาะใน ละตจิ ดู สูงทางเหนือ ซึง่ จดุ กระจายดาวตกจะขึ้นไปอยูส่ งู เกือบกลางฟา้ ในเวลาเชา้ มดื อตั ราการเกดิ ดาวตกสูงถึง กว่า 100 ดวงต่อชวั่ โมง และเกดิ ในฤดูร้อนซึง่ ทอ้ งฟา้ โปรง่ สะเกด็ ดาวที่ทาให้เกดิ ฝนดาวตกมาจากดาวหางส วิฟต์-ทตั เทลิ (109P/Swift-Tuttle) ซึง่ มคี าบการโคจรรอบดวงอาทติ ยย์ าวนาน 130 ปี ชว่ งที่ดาวหางเข้าใกล้ ดวงอาทิตย์ครง้ั ลา่ สุดเมื่อ ค.ศ. 1992 ทาให้ฝนดาวตกเพอร์ซิอัสมีอตั ราสงู ตลอดช่วงทศวรรษ 1990 และ ต่อเน่ืองมาถึง ค.ศ. 2016 ปีนี้เป็นปีที่ดีสาหรับการสังเกตฝนดาวตกเพอร์ซิอัส เนือ่ งเปน็ คืนเดือนมดื องค์การดาวตกสากลคาดหมาย ว่าเวลาทโ่ี ลกเคล่ือนผา่ นจดุ ท่ีหนาแนน่ ท่ีสดุ ของธารสะเก็ดดาวตรงกับวนั ศุกร์ที่ 13 สิงหาคม 2564 เวลา 2 - 5 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยมีอตั ราตกท่ีจุดจอมฟา้ ณ จุดสงู สดุ ราว 110 ดวง/ชว่ั โมง (อตั ราตกเมื่อจดุ กระจายอยเู่ หนือศรี ษะและท้องฟ้ามดื จนมองเหน็ ดาวไดถ้ ึงโชติมาตร 6.5) สาหรบั ประเทศไทย หากไม่มีเมฆฝน รบกวนคาดว่าน่าจะเหน็ ดาวตกในอตั ราสูงระหวา่ งเวลา 2 - 4 น. โดยอยทู่ ีป่ ระมาณ 75 ดวง/ช่วั โมง สาเหตุท่มี ี อัตราต่ากว่าคา่ สูงสุด เนอ่ื งจากจดุ กระจายไม่ได้อยทู่ ีจ่ ดุ เหนือศรี ษะ แต่ตา่ ลงไปทางทศิ เหนือ หากสังเกตในคนื กอ่ นหนา้ และคนื หลงั จากนัน้ อตั ราตกสูงสุดในช่วงเวลาเดยี วกนั จะอยู่ที่ 40-50 ดวง/ชัว่ โมง ฝนดาวตกนายพราน (Orionids : ORI) ฝนดาวตกนายพรานเป็นฝนดาวตกอีกกล่มุ หนง่ึ ที่เกดิ จากดาวหางแฮลลีย์ จดุ กระจายฝนดาวตกอยู่ไม่ไกล จากดาวเบเทลจสุ ซ่งึ เปน็ ดาวสว่างสีสม้ สว่ นหน่ึงของสามเหลย่ี มฤดหู นาว มอี ตั ราตกสงู สุดราววันท่ี 20- 21 ตลุ าคม ของทกุ ปี ทปี่ ระมาณ 20 ดวงตอ่ ช่วั โมง หรือมากกวา่ โดยช่วง พ.ศ. 2549 – 2552 อตั ราตกได้เพมิ่ สูงไปอยู่ที่ 40-70 ดวงตอ่ ช่ัวโมง ตดิ ต่อกัน 2-3 วัน คาดว่าอตั ราตกอาจแปรผันดว้ ยคาบ 12 ปี ตามแรงโน้มถ่วง รบกวนจากดาวพฤหัสบดี ซ่งึ หากสมมตุ ิฐานนเ้ี ปน็ จริง ชว่ ง พ.ศ. 2563-2565 อาจมอี ัตราตกสูงเปน็ พิเศษได้ สาหรับประเทศไทยคาดว่าปนี ้ีฝนดาวตกนายพรานจะมีอตั ราสงู สุดในคนื วนั องั คารท่ี 19 และวันพธุ ที่ 20 ตลุ าคม 2564 จดุ กระจายขนึ้ เหนือขอบฟา้ ในเวลา 4 ทุม่ คร่ึง เวลาทีม่ ีโอกาสเหน็ ดาวตกได้มากทส่ี ุดคือ ชว่ งตี 3 - ตี 5 ของวนั ถัดไป แต่แสงจนั ทร์สวา่ งทาให้อาจมีอัตราต่าราว 10 ดวง/ชั่วโมง ฝนดาวตกสงิ โต (Leonids : LEO) ฝนดาวตกสิงโตมีอัตราตกสงู สุดในชว่ งกลางเดือนพฤศจิกายนของทุกปี โดยทวั่ ไปอยู่ท่ีราว 15 ดวงตอ่ ชัว่ โมง สะเกด็ ดาวท่ีทาให้เกิดฝนดาวตกกลุ่มนี้มาจากดาวหางเทมเพล-ทตั เทลิ (55P/Tempel-Tuttle) ซึง่ มี คาบการโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 33 ปี ธารสะเกด็ ดาวของฝนดาวตกสิงโตมหี ลายสาย ทาให้บางปีมอี ัตราสูงมาก นับร้อยหรือนับพนั ดวงต่อชั่วโมง อย่างทเ่ี คยสังเกตไดล้ ่าสดุ เม่ือชว่ ง พ.ศ. 2541-2545 ปนี โ้ี ลกไมไ่ ดเ้ คล่อื นผา่ น ใกล้ธารสะเก็ดดาวท่หี นาแนน่ จงึ มีอัตราตา่ มาก จดุ กระจายของฝนดาวตกสงิ โตอยู่บรเิ วณหวั ของสิงโต หรอื ทีเ่ รยี กว่าเคียวของ สงิ โต (Sickle of Leo) ตามลักษณะดาวทีเ่ รียงกนั เป็นวงโค้ง จดุ กระจายข้ึนเหนอื ขอบฟ้าในเวลาเท่ยี งคืน ครง่ึ ชว่ งทีส่ ังเกตได้ดที ี่สดุ คอื หลงั จากดวงจนั ทรต์ กแล้ว ตรงกับเวลาตี 4 ถึงก่อนฟ้าสางของเชา้ มืดวันพุธ

ท่ี 17 และพฤหัสบดีท่ี 18 พฤศจิกายน 2564 โดยคาดวา่ จะตกดว้ ยอตั ราประมาณ 15 ดวง/ช่วั โมง ฝนดาวตกคนคู่ (Geminids : GEM) ฝนดาวตกคนคเู่ ป็นฝนดาวตกที่เดน่ ทีส่ ุดกลุม่ หน่ึงในรอบปี ปีกอ่ น ๆ คาดหมายว่ามีอัตราตกสูงสุด ราว 120 ดวงตอ่ ชวั่ โมง มักตกสงู สุดประมาณวันที่ 13-15 ธนั วาคม ของทกุ ปี ดาวเคราะหน์ อ้ ยเฟ ทอน (3200 Phaethon) เปน็ ตน้ กาเนดิ ของฝนดาวตกกลุ่มน้ี จดุ กระจายของฝนดาวตกคนคู่อยูใ่ กล้ดาวคา สเตอร์ ซ่ึงเปน็ ดาวสว่างท่ีสุดดวงหนึง่ ของกลุม่ ดาวน้ี สาหรบั ประเทศไทย ปีนี้เป็นปีที่ค่อนข้างดีสาหรับการสงั เกตฝนดาวตกคนคู่ คาดวา่ มีโอกาสเห็นได้มาก ทส่ี ดุ ในคนื วนั จันทร์ที่ 13 ถงึ เชา้ มดื วันอังคารท่ี 14 ธนั วาคม 2564 แต่จะมีแสงจันทร์รบกวนจนถงึ เวลา ประมาณตี 2 ดาวคาสเตอร์ขน้ึ เหนือขอบฟา้ ในเวลาประมาณ 2 ทมุ่ จึงเริ่มเห็นดาวตกจากฝนดาวตกคนคู่ไดใ้ นชว่ ง น้ี แต่ยงั มอี ตั ราตา่ มากในช่วงแรก หลงั จากนน้ั จะค่อย ๆ ถี่มากข้ึน ควรรอใหด้ วงจนั ทรต์ กไปก่อนจงึ เร่ิม สังเกต คาดว่าช่วงท่ีสังเกตได้ดที ี่สุดอยู่ระหวา่ ง 02:00-06:00 น. ของวันท่ี 14 ธันวาคม ในกรณที ีส่ ังเกตจาก สถานทซี่ ่ึงท้องฟ้ามดื ห่างจากเมอื งใหญ่ และท้องฟา้ เปดิ ไม่มีเมฆบงั อาจนบั ได้มากกวา่ 70 ดวง/ช่ัวโมง อัตรา ตกนา่ จะสงู สดุ ในชว่ ง 02:00-04:00 โดยอย่ทู ี่ 90 ดวง/ชัว่ โมง หลงั จากนนั้ จะลดลง หากสงั เกตก่อนหรือ หลังจากนห้ี นงึ่ วัน (ชว่ งก่อนเช้ามดื วันท่ี 13 หรอื 15 ธนั วาคม) คาดว่าอตั ราตก ณ จุดสูงสดุ อยทู่ ี่ประมาณ 30- 50 ดวง/ช่ัวโมง

อ้างอิง http://www.lesa.biz/astronomy/solar-system/small-bodies/meteor-shower http://thaiastro.nectec.or.th/skyevent/article/meteors2021/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook