Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ การวัดมุมดาว-33333

ใบความรู้ การวัดมุมดาว-33333

Published by 945sce00461, 2020-05-31 22:50:01

Description: ใบความรู้ การวัดมุมดาว-33333

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เร่ือง การวัดมมุ ดาว ในการวัดระยะห่างของดวงดาวและวัตถุท้องฟ้านั้น เราไม่สามารถวัดระยะห่างออกมาเป็นหน่วยเมตร หรือกิโลเมตรได้โดยตรงถ้า เราไม่ทราบว่าวัตถุเหล่าน้ัน อยู่ห่างจากเราเป็นระยะทางเท่าไร ดังนั้นการวัด ระยะทางดาราศาสตร์ จึงนิยมวัดออกมาเป็น ระยะเชิงมุม (Angular distance) ตัวอย่างเช่น เราบอกว่า ดาว A อยู่ห่างจาก ดาว B เป็นระยะทาง 5 องศา หรือบอกว่าดวงจันทร์มีขนาดกี่องศา ซ่ึงเป็นการบอกระยะห่าง และขนาดเปน็ เชงิ มมุ ทั้งสนิ้ 1. ระบบพกิ ดั ขอบฟา้ พิกัดขอบฟา้ (Horizontal coordinates) เป็นระบบพกิ ดั ซึ่งใช้ในการวัดตาแหนง่ ของวตั ถุท้องฟา้ โดย ถอื เอาตัวของผูส้ ังเกตเป็นศนู ยก์ ลางของทรงกลมฟา้ โดยมีจุดและเส้นสมมติบนทรงกกลมฟ้า แสดงในรูปท่ี1 ทิศทั้งส่ี ประกอบด้วย ทิศเหนือ (North) ทศิ ตะวันออก (Earth) ทิศใต้ (South) ทิศตะวันตก (West) เม่อื หันหนา้ เข้าหาทิศเหนือ ด้านหลงั เปน็ ทศิ ใต้ ซ้ายมือเปน็ ทิศตะวันตก ขวามอื เป็นทิศตะวันออก จดุ เหนือศรี ษะ เป็นตาแหนง่ สงู สดุ ของทรงกลมฟ้า ซึ่งอยู่เหนือผู้สังเกต จุดใต้เท้า เปน็ ตาแหน่งตา่ สดุ ของทรงกลมฟา้ ซึ่งอยู่ใตเ้ ท้าของผสู้ ังเกต เสน้ ขอบฟา้ หมายถึง แนวเสน้ ขอบท้องฟา้ ซ่ึงมองเห็นจรดพืน้ ราบ หรืออกี นยั หนึ่งคือ เส้นวงกลมใหญ่ บนทรงกลมฟ้าท่ีอยหู่ ่างจากจุดเหนือศรี ษะ ทามมุ 90° กบั แกนหลักของระบบขอบฟา้ เสน้ เมอรเิ ดียน เปน็ เส้นสมมตบิ นทรงกลมฟ้าในแนวเหนือ-ใต้ ซง่ึ ลากผ่านจุดเหนือศีรษะ ภาพที่ 1 ระบบพกิ ัดขอบฟา้ ทมี่ า : http://www.lesa.biz. 2. การวดั มุมในระบบพิกดั ขอบฟา้ ประกอบดว้ ย มมุ ทิศ และ มุมเงย มมุ ทิศ (Alzimuth) เป็นมุมในแนวราบ ซง่ึ วัดจากทิศเหนอื (0° ) ไปตามเสน้ ขอบฟา้ ในทศิ ตามเข็มนาฬกิ า ไปยงั ทิศตะวนั ออก (90°) ทิศใต้ (180°) ทิศตะวันตก (270°) และกลับมาที่ทศิ เหนือ (360°) อกี ครง้ั หนึง่ ดังน้ัน มุมทิศจึงมีคา่ ระหว่าง (0° - 360°)

มุมเงย (Altitude) เป็นมุมในแนวดิ่ง ซึ่งนับจากเส้นขอบฟ้า (0°) สูงข้ึนไปจนถึงจุดเหนือศีรษะ (90°) ดังน้ันมมุ ทศิ จงึ มีค่าระหวา่ ง (0° - 360°) ดงั นั้นมุมเงยจงึ มคี ่าระหวา่ ง (0°90°) ภาพที่ 2 การวดั มมุ ทศิ -มมุ เงย ที่มา : http://www.lesa.biz. 3. การวดั ระยะเชงิ มุม ในการวดั ระยะเชิงมมุ ถา้ ต้องการค่าที่ละเอยี ดและมีความแม่นยา จะตอ้ งใช้อปุ กรณ์ท่ีมีความซับซ้อนมากใน การวัด แต่ถ้าต้องการเพียงค่าโดยประมาณ เราสามารถวัดระยะเชิงมุมได้โดยใช้เพียงมือและน้ิวของเราเอง เท่านน้ั เช่น ถ้าเรากางมือชูน้ิวโป้งและนิ้วก้อย โดยเหยียดแขนให้สุด ความกว้างของน้ิวท้ังสองเทียบกับมุมบน ท้องฟ้า จะได้มุมประมาณ 18 องศา ถ้าดาวสองดวงอยู่ห่างกันด้วยความกว้างนี้แสดงว่า ดาวทั้งสอง อยูห่ ่างกัน 18 องศาดว้ ย ภาพท่ี 3 : ขนาดเชงิ มุมโดยประมาณ เม่อื เหยยี ดแขนสุด ทีม่ า : http://www.fortworthastro.com/beginner1.html

นิ้วกอ้ ย : 1 องศา นิ้วชี้-น้ิวกลาง-นว้ิ นางเรียงตดิ กนั : 5 องศา  กาปนั้ : 10 องศา น้วิ ชี้กับนวิ้ กอ้ ย (กางใหห้ ่างที่สุด) : 15 องศา นว้ิ โป้งกับนิว้ กอ้ ย (กางใหห้ า่ งที่สุด) นนั่ คอื ทามือแบบ “คาราบาว” : 22 องศา ในการวดั จริงมกั ต้องเพม่ิ เติมขนาดมมุ เข้าไปเสรมิ เชน่ หากดาว 2 ดวง อยู่ห่างกัน 7 องศา ก็อาจแยกเป็น 5 องศา (น้วิ ช้ี-น้วิ กลาง-นิว้ นาง)บวกเพ่ิมเปน็ 2 องศา (นิว้ กอ้ ยอกี 2 น้วิ ) เป็นตน้ ภาพท่ี 4 การวัดขนาดเชงิ มุม 1 องศา (ซ้าย) และ 22 องศา (ขวา)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook