Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการฝึกอบรม GIC

เอกสารประกอบการฝึกอบรม GIC

Published by jirasak, 2022-07-18 10:54:19

Description: เอกสารประกอบการฝึกอบรม GIC

Keywords: GIC

Search

Read the Text Version

1 เอกสารสำหรบั ศกึ ษาเพ่ิมเตมิ การฝกึ อบรมวชิ าผกู้ าํ กับลกู เสอื ขัน้ ความรู้ทัว่ ไป (General Information Course : G.I.C.) สโมสรลกู เสือภูกามยาว จังหวัดพะเยา เอกสารสำหรับศึกษาเพิม่ เตมิ การฝกึ อบรมวิชาผู้กาํ กับลูกเสือขนั้ ความรู้ท่ัวไป (General Information Course : G.I.C.)

2 บทเรียนท่ี 1 กจิ การลูกเสือโดยสังเขป ขอบเขตเนื้อหา 1. การลูกเสอื เป็นขบวนการพฒั นาเยาวชนที่ประเทศตา่ ง ๆ ทัว่ โลก มากกวา่ 200 ประเทศ โดยแบ่งเป็น ประเภทลกู เสือ 2. การลูกเสือแบ่งตามวัย ความสนใจและความต้องการของเด็ก เป็น 4 ประเภท ได้แก่ ลูกเสือสํารอง ลกู เสือสามญั ลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ และลูกเสอื วิสามญั 3. แนวการฝึกอบรมของลูกเสือแต่ละประเภท เพื่อสนองความต้องการของเด็กวัยต่าง ๆ นั้น มีการ แบ่งเป็น หมู่ลูกเสือ กองลูกเสือและกลุม่ ลูกเสือ โดยมีการเรียนการสอนเพื่อเล่ือนช้ัน และ เครื่องหมายวิชาพเิ ศษ ตามขอ้ บงั คับ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ เนื้อหาวิชา กิจการลูกเสอื โดยสงั เขป กาํ หนดการฝกึ อบรมแต่ละประเภท 1. กองลกู เสือสาํ รอง ลูกเสือสํารองอายุ 8 - 11 ปี หรือกําลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - 3) แต่ละกองควรมี เด็ก 36 คนแบ่งออกเป็นหมู่ละ 4 - 6 คน รวมทั้งนายหมูแ่ ละรองนายหมู่ วัตถุประสงค์ของกองลูกเสือสํารอง คือ เพื่อช่วยเหลือเด็กแตล่ ะคนให้พัฒนาท้ังทางกาย สตปิ ญั ญา จิตใจและ ศีลธรรม ภายในบรรยากาศเหมอื นครอบครัว เดียวกัน ทั้งนี้โดยการช่วยเหลือให้เด็กได้รับความรู้ที่เป็นพื้นฐานและ เกิดความมั่นใจในการปรบั ปรุงตนเองเพื่อวา่ เติบโตขึ้นจะได้สามารถผจญกับความต้องการของสังคมซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและจะได้มีส่วนในการ เสริมสรา้ งสงั คมให้ดีขึน้ วิธกี ารฝึกอบรมลกู เสอื สาํ รอง คือ เรียนโดยการกระทํา ผู้กํากับแนะนําความสนใจของลูกเสือสํารองให้สู่ แผนกิจกรรมต่าง ๆ ที่แปลก ใหม่ หรือมีการผจญภัยตามลักษณะและความต้องการของเด็ก ในเด็กแต่ละคนจะได้รับการ สนับสนุนให้พัฒนา ทักษะและการแสดงออกตามวิธีการที่กําหนดการฝกึ อบรมตามหลักสูตรลูกเสอื สํารอง คือ หลักสูตร เตรียมลูกเสือ สํารอง เครื่องหมายดาวดวงที่ 1 ดาวดวงท่ี 2 ดาวดวงที่ 3 และเครื่องหมายลูกเสือสัมพันธ์สอดคล้องกับ ความ ตอ้ งการของเดก็ วยั 8 - 11 ปี กองลูกเสือสํารองจะแบง่ ออกเปน็ หมู่ ๆ ละ 4 - 6 คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ดว้ ยนั้น ในการแบ่ง เช่นน้ี ก็เพื่อความสะดวกในการบริหารเป็นส่วนใหญ่ นายหมู่ รองนายหมู่ที่มีอายุมากจะเรียนรู้ในเรื่องความ รับผิดชอบเลก็ ๆ น้อย ๆ ซึง่ ไมเ่ หมือนกบั ระบบหมู่ในกองลกู เสือสามัญ การเป็นผูน้ ํายงั อยู่ในมอื ของผ้ใู หญ่ เคร่อื งหมายลูกเสือสัมพนั ธจ์ ะช่วยนําให้ลูกเสือสาํ รองเข้าไปสู่การเปน็ ลูกเสือสามัญทีละน้อย ๆ ในช่วงสุดท้าย ที่ยัง เปน็ ลกู เสอื สํารองอยู่ เอกสารสำหรบั ศึกษาเพม่ิ เติม การฝกึ อบรมวชิ าผ้กู าํ กับลูกเสือขน้ั ความรู้ท่วั ไป (General Information Course : G.I.C.)

3 2. กองลกู เสอื สามัญ ลูกเสือสามัญอายุ 11 - 14 ปี หรือกําลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป. 4 - 6) แต่ละกอง ควรมเี ด็ก 48 คน กองลกู เสือมี 2 - 6 หมู่ ๆ ละ 6 - 8 คน วัตถปุ ระสงคข์ องกองลกู เสือสามญั มีแผนการฝึกอบรม ก็เพื่อส่งเสริมการพัฒนาของเด็กแต่ละคนทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม โดยมีการกระทํากิจกรรมที่ สนุกสนาน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการกระทํากลางแจ้ง หลักของการฝึกอบรมลูกเสือสามัญ คือ ระบบหมู่ โดยให้ลูกเสือ เป็นผู้วางแผนและดําเนินกิจกรรมของตนเอง ส่วนผู้ใหญ่มีหน้าที่เพียงคอยให้ความช่วยเหลือแนะนําเท่าที่จําเป็น เพื่อความปลอดภัยและใหล้ ูกเสือทุกคนไดร้ ับ ประโยชนม์ ากท่สี ดุ ดงั นัน้ กองลูกเสอื สามญั หนว่ ยทสี่ ําคัญ คือ หมู่ ซึง่ มลี ูกเสือ 6 - 8 คน รวมทั้งนายหมูแ่ ละรองนายหมู่ด้วย นายหมู่ได้รับมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้เป็นผู้นําและฝึกอบรมสมาชิกหมู่ของตน ที่ประชุมนายหมู่เป็นผู้ วินิจฉยั วา่ แตล่ ะหมคู่ วรจะประกอบกจิ กรรมอะไรบ้าง หลงั จากนัน้ นายหม่มู บี ทบาทสําคญั ในการดําเนนิ งานของหมู่ ความสําเรจ็ หรอื ความล้มเหลวของกองลูกเสือสามัญอยทู่ ่ีวธิ กี ารของผู้กํากบั ในการใชป้ ระโยชน์จากทีป่ ระชมุ นายหมู่ และระบบหมู่ เปน็ สว่ นใหญ่ ในการน้ผี กู้ ํากบั จะตอ้ งเขา้ ใจเดก็ และรู้จกั วธิ กี ารส่งเสริมเดก็ ใหส้ ามารถวางแผนงาน ซง่ึ ประกอบด้วยแนวความคิด ที่มีจินตนาการ รู้จักตัดสินใจและหน้าที่ความรับผิดชอบ แม้ว่ากิจกรรมจะเป็นเรื่อง สาํ คญั แตค่ ณุ คา่ ส่วนใหญ่ในการ ฝกึ อบรมอย่ทู ี่การพฒั นาให้หมู่และกองลูกเสือไดเ้ ปน็ กลุ่มเด็กแต่ละคนได้เรียนรู้ใน การช่วยเหลือกันทาํ งานให้ได้ผล ในหมลู่ ูกเสอื นน้ั เอง ทีก่ ่อใหเ้ กดิ โอกาสสําหรบั การพัฒนาทางกาย สติปญั ญา จติ ใจ และศีลธรรมของลูกเสอื แต่ละคน การฝกึ อบรมลกู เสอื สามัญ แบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ลูกเสือตรี ลูกเสือโท ลูกเสือเอก และวิชาพิเศษ เพื่อ มุ่งหมายที่จะส่งเสริมการ พัฒนาเด็กเป็นรายบุคคล ตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษลูกเสือ สามัญ (ฉบับท่ี 13) พ.ศ. 2525 ลูกเสือสามัญใหม่จะต้องศึกษาวิชาลูกเสือตรีตามหลักสูตรที่ กําหนดไว้เพื่อเป็น การศึกษาวิชาลูกเสือสามัญเบื้องต้น เมื่อสอบวิชาลูกเสือตรีได้แล้ว จึงได้ทําพิธีเข้าประจํากองและ มีสิทธิประดับ เครื่องหมายลูกเสือตรี หลังจากนั้นก็ได้รับการฝึกอบรมวิชาลูกเสือโทและวิชาพิเศษตามหลักสูตรต่อไป ในการ ฝึกอบรมในระดับลูกเสือตรีและลูกเสือโทน ควรเป็นหน้าที่และอยู่ในความรับผิดชอบของนายหมู่ โดยยึดหลัก ให้ การเรียนรู้ในการกระทําจริง สนุกสนาน และจัดให้เป็นกิจกรรมกลางแจ้งให้มากที่สุดเท่าที่จะกระทำได้ ผู้ที่เป็น ลูกเสือโทแล้วจะต้องฝึกอบรมวิชาลูกเสือเอกและเลือกเรียนวิชาพิเศษต่างๆ ตามหลักสูตรที่กําหนดไว้ ในการ ฝึกอบรมระดับลูกเสือเอกน้ี ควรกระทําเป็นหมู่ และผู้กํากับจะต้องดูแลการปฏิบัติงานของลูกเสือและนายหมู่ให้ อยใู่ นความรับผดิ ชอบอย่างใกล้ชดิ เอกสารสำหรบั ศึกษาเพ่มิ เติม การฝกึ อบรมวชิ าผู้กํากบั ลูกเสอื ขน้ั ความรทู้ ั่วไป (General Information Course : G.I.C.)

4 กิจกรรมของลูกเสอื สามัญ ส่วนใหญ่ คอื • การอยู่ค่ายพักแรมและการสํารวจ กิจกรรมผจญภัย โดยเฉพาะกิจกรรมทางน้ำ และกิจกรรมท่ี เกย่ี วกับภเู ขา • โครงการบาํ เพ็ญประโยชนต์ ่อผู้อื่น • เรอ่ื งทลี่ กู เสือสนใจและงานอดิเรกของแตล่ ะบุคคล คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเป็นรากฐานของบรรดากิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือโดยวิธีการใช้ระบบหมู่ ลูกเสือ สามัญที่มีอายุมากย่อมมีความต้องการที่จะได้รับการฝึกอบรมเป็นพิเศษที่เหมาะสมแก่อายุของเขา โดย จัดการฝึกอบรม นอกเหนือไปจากหมู่ของเขาให้เหมาะสมเป็นราย ๆ ไป ทั้งน้ี ต้องพิจารณาอย่างระมัดระวังด้วย ความรอบคอบ นอกจากนั้น ยังต้องเตรียมแผนงานไว้สําหรับลูกเสือสามัญที่อายุยังน้อย เพื่อเตรียมสมัครเข้าเป็น ลูกเสอื สามญั รุน่ ใหญ่ตอ่ ไป 3. กองลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ อายุ 14 - 17 ปี หรือกาํ ลงั เรยี นอยู่ในชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 (ม.1 - 3) แต่ละกอง ควรมี เดก็ และลูกเสือ 48 คนประกอบด้วยหมู่ 2 - 6 หมู่ ๆ ละ 4 - 8 คน รวมท้งั นายหมู่และรองนายหมูด่ ว้ ย กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่มุ่งหมายให้แต่ละกองกําหนดแผนงานของตนเอง ปกครองตนเอง และคิดว่าตนเอง เป็น ผู้ใหญ่แล้ว หลักการนี้เป็นส่วนสําคัญในการดําเนินงานของกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และช่วยให้เยาวชนรู้จัก จัดการเรื่องราวของตนอง เพื่อต่อไปจะได้มีส่วนเสริมสร้างสังคมให้ดีขึ้น วิธีที่ดีที่สุด กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่จะ เลือกคณะกรรมการบริหารของเขาเอง ซึ่งคณะกรรมการบริหารมีหน้าที่ เลือกวางแผนงาน และดําเนินงานตาม แผนกจิ กรรมต่าง ๆ ของกองซง่ึ เป็นผู้รับผิดชอบในการรกั ษามาตรฐานและ การดาํ เนินงานของกองด้วย ดังนั้น กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ต่าง ๆ จึงแตกต่างกันมากในวิธีจัดการ และในเรื่องกิจกรรมต่าง ๆ แตแ่ ผนงานควรจะมีสัดส่วนทปี่ ระกอบดว้ ยกิจกรรมทั้งภายในอาคารและกจิ กรรมกลางแจ้ง เปดิ โอกาสให้ลูกเสือได้ บําเพ็ญ ประโยชน์แก่ผู้อื่น พร้อมทั้งมีกิจกรรมที่ท้าทายและจูงใจให้ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้มีประสบการณ์อย่าง กว้างขวาง กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่บางกองมุ่งในเรือ่ งวิชาใดวิชาหน่ึงโดยเฉพาะ และมีหลายกองที่ทํางานใกล้ชิด กบั กองเนตรนารี การดําเนินงานของกองลูกเสือรุ่นใหญ่จะมีความยืดหยุ่นปรับตามสถานการณ์และความจําเป็นที่แต กต่าง กันออกไป การฝึกอบรมควรจัดให้มีโครงการสอบเพ่ือรับเครื่องหมายวชิ าพเิ ศษ สําหรบั ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ได้แก่ เครื่องหมายสายยงยศ เคร่อื งหมายนักดับเพลิง เครื่องหมายการพยาบาล และเครอื่ งหมายช่วยผู้ประสบภยั เพ่ือใช้ เป็นโครงสร้าง ในการวางแผนงาน และฝกึ อบรมเพ่อื สง่ เสรมิ ให้ลกู เสือสามัญรุน่ ใหญ่ได้มีโอกาสศึกษาคน้ คว้าหาทาง ไปสู่ประสบการณ์ ใหมๆ่ และเพอ่ื จะไดท้ ักษะหรือความชํานาญในเรื่องใหม่ ๆ ดว้ ย เอกสารสำหรบั ศกึ ษาเพ่มิ เตมิ การฝกึ อบรมวชิ าผู้กํากับลกู เสือขนั้ ความร้ทู ัว่ ไป (General Information Course : G.I.C.)

5 ในเรอื่ งต่าง ๆ เหลา่ นี้ ผ้กู ํากบั ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่มีบทบาทสําคัญที่จะต้องแสดงออกซึ่งเป็นเร่ืองท่ีไม่ง่าย นัก งานของผู้กํากับคือ ช่วยให้ความสะดวกแก่กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ในการดําเนินงานตามแผนงาน ช่วยให้ คําแนะนํา และการช่วยเหลือสนับสนุนแก่คณะกรรมการบริหารและลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เป็นรายบุคคลเท่าท่ี จําเป็น พร้อมทั้ง ส่งเสริมการพัฒนาของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เป็นรายบุคคลทั้งในทางกาย สติปัญญา จิตใจและ ศลี ธรรม 4. กองลกู เสือวสิ ามญั ลูกเสือวิสามัญ อายุ 17 - 25 ปี หรือกําลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) หรือระดับ อาชีวศกึ ษา หรอื ระดับอุดมศึกษา โดยแบง่ เป็นชุดหรือเป็นหมู่ 10 - 60 คน หมู่ละ 4 - 6 คน รวมท้ังนายหมู่และ รองนายหมู่ด้วย กองลูกเสือวิสามัญมีความมุ่งหมายที่จะฝึกอบรมเด็กหนุ่มให้เป็นพลเมืองดีสืบเนื่องจากการเป็น ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ และลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ตามลําดับ มีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้นตามวัย หลักการที่ดี ที่สุด คอื การส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ หนุ่มนยิ มชวี ติ กลางแจ้ง ส่งเสรมิ ใหม้ ีอาชพี และการบริการต่อชมุ ชน เด็กหนุ่มเหล่านี้ต้องสํารวจตัวเองเสียก่อนว่า มีความพร้อมในชีวิตแล้วหรือยังในการที่จะไปใช้เจตคตแิ หง่ ชีวิต ด้วย “บริการ” เมื่อเขาได้รับความสําเร็จในการสํารวจตัวเองแล้ว เขาก็จะได้รับโอกาสฝึกฝนอบรมอันเป็น แนวทางที่ จะทาํ ใหเ้ ขาได้รบั การพัฒนาทง้ั ทางกาย สติปญั ญา จติ ใจและศีลธรรม กองลูกเสือวิสามัญอาจแบ่งออกเป็นชุดหรือหมู่ตามความจําเป็นและความต้องการก็ได้ หมู่ลูกเสือเป็น หนว่ ย ในการจัดกจิ กรรมท้งั ปวง กองลกู เสือวสิ ามัญทม่ี ลี ูกเสอื มาก อาจตงั้ กรรมการประจํากองขนึ้ ซึ่งประกอบด้วย ผู้กํากับ ลูกเสือ หัวหน้านายหมู่ลูกเสือ นายหมู่ลูกเสือ รองนายหมู่ลูกเสือวิสามัญ และลูกเสือวิสามัญที่ได้รับ คัดเลือก ลูกเสือ วิสามัญต้องสํานึกไว้เสมอวา่ การฝึกอบรมอย่างดีของเขาน้ันต้องบริการแกช่ ุมชนอย่างกว้างขวาง มปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผลด้วย ลูกเสือเหลา่ สมทุ รและลกู เสือเหล่าอากาศ คณะลูกเสือแห่งชาติส่งเสริมให้กองลูกเสือสามัญ กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และกองลูกเสือวิสามัญ เป็น ลูกเสือเหล่าสมุทรและลูกเสือเหล่าอากาศ ซึ่งกองลูกเสือเหล่านี้อาจจัดให้มีกิจกรรมทางน้ําและอากาศในเม่ือ สามารถ จะทาํ ได้ อนึ่ง หมู่ลูกเสอื เหล่าสมุทรและหมู่ลูกเสือเหล่าอากาศ ก็อาจได้รบั อนุญาตให้จัดตงั้ ขึ้นในกองลูกเสือสามัญ ธรรมดาได้ ในเม่ืออย่ใู กล้แหล่งนํ้าหรือสนามบนิ และสามารถจัดหาผสู้ อนท่ีทรงคุณวุฒิมาทําการฝึกอบรมให้ได้ การ ลูกเสือประเภทพิเศษ เด็กพิการอาจสมัครเข้าเป็นลูกเสือในกองลูกเสือสํารอง กองลูกเสือสามัญ กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่หรือ กองลูกเสือวิสามัญได้ สําหรับเด็กในโรงพยาบาลหรือสถาบันอื่น ๆ อาจมีการจัดตั้งกองลูกเสือสํารองหรือกอง ลกู เสอื สามญั ประเภทพิเศษเพอ่ื เปน็ การใหโ้ อกาสแกเ่ ดก็ ที่มีข้อบกพร่องทางร่างกายหรือทางการศกึ ษา สมัครเข้า เอกสารสำหรบั ศึกษาเพม่ิ เติม การฝกึ อบรมวชิ าผกู้ าํ กบั ลูกเสือขนั้ ความรู้ท่ัวไป (General Information Course : G.I.C.)

6 เปน็ ลกู เสือได้ ถา้ พอท่ีจะเข้าใจความหมายของคําปฏญิ าณ ในการน้ีเป็นหน้าที่ของทุกฝ่ายทจ่ี ะแสวงหาเด็กทุกคนท่ี อาจได้รับประโยชน์ จากการลกู เสือ บทเรยี นที่ 2 สาระสาํ คญั ของการลกู เสือ ขอบเขตรายวิชา 1. ส่งเสรมิ ความร้คู วามเขา้ ใจในหลกั การสาํ คัญของลูกเสอื 2. สง่ เสริมให้รจู้ ักวธิ ที ่จี ะนาํ ไปใชใ้ นการฝกึ อบรมลูกเสอื ทกุ ประเภท วัตถปุ ระสงค์ เมื่อจบบทเรยี นนแี้ ล้ว ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะมคี วามสามารถ 1. อธบิ ายหลักการสาํ คญั ของการลูกเสือได้ 2. ชแ้ี จงได้วา่ อดุ มการณห์ รอื จดุ มงุ่ หมายของการฝึกอบรมลูกเสือคืออะไร 3. ระบไุ ดว้ ่าจะให้การฝกึ อบรมวชิ าลกู เสือสาํ เรจ็ ตามจุดมุ่งหมายจะใชว้ ิธกี ารใดบ้าง เน้ือหาวิชา ในปัจจุบันนี้ถือว่าขบวนการลูกเสอื เปน็ ขบวนการทางการศึกษาฝา่ ยหนึ่งของเยาวชนเพราะเปน็ ขบวนการ ที่มุ่ง พัฒนาศักยภาพของบุคคลทั้งทางด้านสมอง เพื่อให้เด็กมีสติปัญญาที่เฉลียวฉลาด ทางด้านร่างกาย เพื่อให้มี ร่างกาย เจรญิ เติบโตเพยี บพร้อมด้วยสขุ ภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง และพฒั นาทางดา้ นจิตใจ ให้เปน็ ผมู้ ศี ีลธรรม คดิ และทํา ในส่งิ ทดี่ ี ท้ังนีเ้ พื่อความเป็นพลเมอื งดีต่อไปในเม่ือเติบโตข้ึนเป็นผ้ใู หญ่ การลูกเสือเปิดโอกาสให้เด็กทุกเพศ ทุกวัย และทุกฐานะมาร่วมในขบวนการโดยอาสาสมัคร ด้วยจิตใจ ที่ เป็นอิสระเสรี โดยไม่คํานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ซึ่งอุดมการณ์อันนี้ได้เป็นไปตามความมุ่งประสงค์ หลักการและ วธิ กี าร ซึ่งลอรด์ เบเดน โพเอลล์ ผใู้ ห้กาํ เนดิ ลกู เสือโลก ได้ใหไ้ ว้ เม่ือ 100 กว่าปีกอ่ นโน้น ขบวนการลูกเสือเป็นขบวนการที่มั่นคง กิจการลูกเสือได้เริ่มก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2450 โดยท่านลอร์ด เบเดน โพเอลล์ ชาวอังกฤษเป็นผู้คดิ จัดต้ังขบวนการขึ้น โดยตนเองได้รับประสบการณใ์ นการทีไ่ ด้รวบรวมเดก็ ชาย จาก ตางฐานะ ให้มาอยู่ร่วมกัน มากินมานอนมาทํางานทํากิจกรรมมาสนุกสนานร่วมกัน ในบรรยากาศที่เป็น ธรรมชาติ เรยี กวา่ แบบอยู่ค่ายพักแรม ตอ่ มาท่านลอร์ดเบเดน โพเอลล์ ได้จัดกิจการลูกเสือน้ีขนึ้ ในประเทศอังกฤษ กอ่ น ต่อมาขบวนการได้รับความนิยมจากประเทศอืน่ นอกจกั รภพอังกฤษจนขยายไปยงั ภาคพน้ื อื่น ๆ มากมายจน เป็นขบวนการ ระดับเลิก จํานวนประเทศสมาชิกได้ลดลงและเพิ่มขึ้นตามสถานการณ์ของโลก ซึ่งบัดนี้มีสมาชิก มากกว่า 200 ประเทศ (พ.ศ. 2565) มจี าํ นวนผู้บงั คบั บัญชาและลกู เสอื ประมาณ 50 ลา้ นคน ที่กล่าวว่าขบวนการลูกเสือเป็นขบวนการที่มั่นคงนั้น ก็เพราะการลูกเสือมีจุดมุ่งหมายมีหลักการ และ วิธีการ อันเป็นแบบฉบับเดียวกันทั่วโลก ถือเอาความเป็นเพื่อนเป็นพี่น้องกัน เพื่อสร้างมิตรภาพและความเข้าใจ เอกสารสำหรบั ศึกษาเพ่มิ เติม การฝกึ อบรมวชิ าผ้กู ํากับลกู เสอื ขน้ั ความร้ทู ัว่ ไป (General Information Course : G.I.C.)

7 อันดีต่อกัน ทั้งนี้ให้เกิดความเป็นกันเอง เป็นพวกเดียวกัน ไม่แตกแยกกัน เป็นพลังร่วมกันในอันที่จะก่อให้เกิด ความสงบสขุ และ สนั ตสิ ขุ ไปทวั่ ทกุ ดินแดน สง่ิ ตา่ ง ๆ ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดความเป็นปกึ แผน่ ร่วมกัน กค็ ือ - มีจุดม่งุ หมายร่วมกัน - มีหลกั การอนั เดียวกัน - มีวิธกี ารในแนวเดียวกัน จุดมุ่งหมายร่วมกนั จุดมุ่งหมายของขบวนการลูกเสือ เป็นเหตุผลและหลักสําคัญสําหรับความมั่นคงของขบวนเอง นั่นก็คือ เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพของเยาวชนเป็นรายบุคคล เพื่อให้บรรลุถึงการพัฒนาอย่างสมบูรณ์ซึ่งร่างกาย สติปัญญา จิตใจและศีลธรรม เพ่ือให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบต่อบุคคลอื่นรอบข้าง ในฐานะเป็นสมาชิกอยู่ในสังคม ท้องถิ่น ชุมชนในชาติ และในสังคมนานาชาติด้วย แต่ละประเทศได้ไปเขียนวัตถุประสงค์แตกต่างกันไปตามความ นยิ ม ของประเทศของตน แต่ไมห่ นีไปจากหลักการที่ได้กลา่ วแลว้ สําหรบั ประเทศไทยได้กําหนดวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมายในการพัฒนาตัวลูกเสือไว้ในมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2507 และแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2528 ความว่า “คณะลูกเสือแห่งชาติมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สตปิ ัญญา จิตใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความรบั ผดิ ชอบ ชว่ ยสรา้ งสรรค์แกส่ ังคมให้มีความเจริญก้าวหน้า เพอ่ื ความสงบสุขและความม่ันคงของประเทศชาติ” ซ่ึงมีแนวทางในการพฒั นาอุดมการณ์นแ้ี ยกได้เป็นรายละเอียด 8 ประการ คอื 1. พฒั นาทางกาย 2. พฒั นาทางสตปิ ญั ญา 3. พัฒนาทางจิตใจและศีลธรรม 4. การสรา้ งคา่ นยิ มและเจตคติ 5. พัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบคุ คล 6. พัฒนาสมั พันธภาพทางสงั คม 7. พฒั นาสัมพนั ธภาพตอ่ ชมุ ชน 8. พัฒนาทางด้านความรับผดิ ชอบตอ่ สงิ่ แวดล้อม ในการพัฒนาตา่ ง ๆ เหล่าน้ี ใช้กิจกรรมเป็นสื่อ และกิจกรรมมใิ ช่มุ่งฝกึ ทักษะเป็นรายบุคคลอย่างเดียวแต่ กิจกรรมนั้นมุ่งไปสู่ชุมชนที่ตนอาศยั อยู่ เป็นกิจกรรมดา้ นการบรกิ ารให้เด็กเกิดทักษะ โดยทํางานเป็นกลุม่ เป็นหม่ มี การวางแผนงาน โดยผู้ใหญ่จดั ทําร่วมกับเดก็ ท้งั นี้เพ่ือใหส้ นองเจตนารมณ์และความต้องการของเยาวชนเอง เอกสารสำหรบั ศึกษาเพ่ิมเตมิ การฝึกอบรมวิชาผูก้ ํากบั ลูกเสือขน้ั ความรู้ทัว่ ไป (General Information Course : G.I.C.)

8 หลกั การอันเดยี วกัน กิจการลูกเสือทั่วโลก มีหลักการสําคัญต่าง ๆ จะยึดถือเป้นหลักการเดียวกัน อันเป็นก้าวแรกที่จะนําไปสู่ จุดหมายปลายทางเดียวกัน มดี งั นี้ 1. นบั ถอื ศาสนา 2. มคี วามจงรักภกั ดตี ่อประเทศชาติของตน 3. มีความศรัทธาในมิตรภาพ และความเปน็ พ่นี ้องลกู เสอื ทวั่ โลก 4. บาํ เพญ็ ประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืน 5. ยอมรบั และปฏิบัตติ ามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ 6. มคี วามเป็นอสิ ระต่ออทิ ธพิ ลทางการเมอื ง 7. มีกําหนดการพิเศษสําหรับการฝึกอบรม โดยอาศัย - ระบบหมู่ ระบบกลุ่ม - การทดสอบเป็นชั้น ๆ - เครอื่ งหมายวชิ าพเิ ศษ - กจิ กรรมกลางแจง้ วิธกี ารในแนวเดียวกัน วิธกี ารคือ กโลบายสําคญั ในการท่ีจะฝึกอบรมลูกเสอื ไปสจู่ ุดหมายหรืออดุ มการณ์ที่ได้วางไว้ วิธีการนั้น ให้ เปน็ ไปเพอ่ื สนองความต้องการของเด็ก 1. ให้เรียนรู้ดว้ ยการกระทาํ 2. ใช้วิธีฝกึ อบรมด้วยหมูเ่ ลก็ ๆ (ระบบหม)ู่ 3. ยดึ คาํ ปฏิญาณและกฏ เปน็ หลกั ประจําใจ และใช้ในชีวติ ประจําวัน 4. มีเครอ่ื งแบบเฉพาะ 5. บําเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อ่ืน 6. จัดใหม้ กี ารฝึกอบรมท่ีกา้ วหน้า ทา้ ทายและดึงดูดใจ 7. ให้มคี วามสนกุ ในการฝึกอบรม เชน่ มกี ารเล่นเกม รอ้ งเพลง ชุมนมุ รอบกองไฟ เลา่ นิทาน ฯลฯ 8. ส่งเสรมิ เรื่องเครอื่ งหมายวิชาพเิ ศษ 9. มุง่ เนน้ กจิ กรรมกลางแจ้งเป็นหลักในการฝึกอบรม สรุป สาระสําคญั ของการลกู เสือ 1. ขบวนการลกู เสือคอื อะไร ขบวนการลูกเสือ คือ ขบวนการเยาวชน มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกอบรมให้การศึกษาและพัฒนา เยาวชนให้ เป็นพลเมืองดี โดยไม่คํานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ทั้งนี้เป็นไปตามความมุ่งหมาย หลักการ และวิธีการ ซ่ึง ผู้ให้กําเนิด ลูกเสือโลกได้ให้ไว้ ขบวนการนี้เป็นขบวนการระดับโลก มีประเทศสมาชิก มากกว่า 200 ประเทศ (พ.ศ. 2565) ประกอบดว้ ยผ้บู ังคบั บญั ชา ลกู เสือและลกู เสอื ประมาณ 50 ลา้ นคน เอกสารสำหรบั ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ การฝกึ อบรมวชิ าผูก้ าํ กับลกู เสอื ขนั้ ความรู้ท่ัวไป (General Information Course : G.I.C.)

9 2. องคป์ ระกอบสาํ คัญของการลกู เสอื 2.1 ลูกเสอื 2.2 ผู้บงั คับบญั ชาลูกเสอื 2.3 มจี ุดหมายหรอื อุดมการณ์ 2.4 กิจกรรม (โดยเฉพาะกิจกรรมกลางแจง้ ) 2.5 การบรหิ ารงาน 3. จดุ หมายหรอื อดุ มการณ์ของคณะลูกเสอื แห่งชาติ ตามมาตรา 8 แหง่ พระราชบัญญัตลิ ูกเสอื พ.ศ. 2551 ระบุว่า คณะลูกเสือแห่งชาติ มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือพัฒนาลกู เสือทง้ั ทางกาย สติปญั ญา จติ ใจและศีลธรรม ให้เป็น พลเมืองดี มคี วามรับผดิ ชอบและชว่ ยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามคั คี และมคี วามเจริญก้าวหนา้ ท้งั นีเ้ พือ่ ความสงบสุข และความมน่ั คงของประเทศชาตติ ามแนวทางดงั ตอ่ ไปน้ี (๑)ให้มนี ิสยั ในการสังเกต จดจำ เชื่อฟัง และพ่งึ ตนเอง (๒) ใหซ้ ่ือสัตยส์ จุ ริตมรี ะเบยี บวินยั และเหน็ อกเห็นใจผูอ้ ่ืน (๓)ใหร้ ้จู ักบำเพญ็ ตนเพ่ือสาธารณประโยชน์ (๔)ใหร้ ูจ้ ักทำการฝีมือ และฝึกฝนใหท้ ำกจิ การต่างๆ ตามความเหมาะสม (๕)ใหร้ จู้ กั รกั ษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรมและความมั่นคงของประเทศชาติ 4. หลักการสําคญั ของการลูกเสือ 4.1 นบั ถอื ศาสนา 4.2 มคี วามจงรักภกั ดตี อ่ ประเทศชาติของตน 4.3 มคี วามศรทั ธาในมติ รภาพและความเป็นพนี่ ้องของลูกเสอื ทวั่ โลก 4.4 บาํ เพ็ญประโยชน์ต่อผ้อู ่ืน 4.5 ยอมรับและปฏบิ ัติตามคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื 4.6 เข้าเป็นสมาชกิ ดว้ ยความสมคั รใจ 4.7 มคี วามเป็นอสิ ระต่ออทิ ธพิ ลทางการเมือง 4.8 มีกําหนดการพิเศษสําหรับการฝึกอบรม โดยอาศัย - ระบบหมู่ ระบบกลุ่ม - การทดสอบเป็นขั้น ๆ - เครื่องหมายวชิ าพเิ ศษ - กจิ กรรมกลางแจ้ง เอกสารสำหรับศกึ ษาเพิม่ เติม การฝกึ อบรมวชิ าผู้กํากบั ลูกเสือขน้ั ความรทู้ ัว่ ไป (General Information Course : G.I.C.)

10 5. วิธกี าร วิธีการที่จะบรรลุถึงจุดหมายหรืออุดมการณ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ คือ การจัดให้มีการฝึกอบรมที่ ก้าวหน้า สนุกสนาน ดึงดูดใจ โดยอาศัยคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเป็นบรรทัดฐาน มีผู้ใหญ่เป็นผู้คอยให้ คําแนะนํา กโลบายในการฝึกอบรมลูกเสือ ใชห้ ลกั สาํ คญั ดงั ต่อไปนี้ 5.1 เครอ่ื งแบบลกู เสือ ถือว่าเปน็ เครือ่ งแบบที่มีเกยี รติ เป็นเครอ่ื งหมายแห่งความดี ดงั นั้น ลกู เสือจะต้อง พิถพี ถิ ันในการแตง่ เครื่องแบบลูกเสือที่ถูกต้องและสะอาดเรียบร้อยอยู่เสมอ กับทง้ั จะต้องประพฤติปฏิบัติตนให้สม กับ ที่ได้ชื่อว่าเป็นลูกเสือ เพื่อเป็นการรักษาชื่อเสียงของตนและของคณะลูกเสือแห่งชาติ ส่วนเจ้าหน้าที่ทุกคนก็ ควรแตง่ เครือ่ งแบบลูกเสือในโอกาสอันควร และถือว่าเคร่ืองแบบลูกเสือเป็นเครื่องหมายแหง่ ความเสียสละในการ ทีต่ นได้ มบี ทบาทในการฝกึ อบรมให้เป็นพลเมอื งดี 5.2 คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ผู้กํากับจึงหมั่นฝึกอบรมให้ลูกเสือเข้าใจและปฏิบัติตามคําปฏิญาณ และ กฎของลูกเสืออยู่เสมอ โดยเฉพาะในเรื่องความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ความเป็นพี่น้อง ของ ลูกเสือทั่วโลก และการกระทําความดีต่าง ๆ โดยเน้นให้เห็นว่าผู้เป็นพลเมอื งดีนัน้ จะต้องเป็นผู้กระทําความดี นน้ั จะตอ้ งเปน็ ผกู้ ระทําความดี และใชค้ วามดีน้นั ให้เปน็ ประโยชน์ มิใชเ่ ป็นคนดีโดยอยู่เฉย ๆ ไม่ทาํ อะไรเลย 5.3 การบําเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ทําให้กิจการลูกเสือมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของ บุคคล ทั่วไป รากฐานของคติพจน์ของลูกเสือทั้ง 4 ประเภท เกี่ยวข้องกับอุดมคติของลูกเสือในการบําเพ็ญ ประโยชนต์ ่อผู้อ่ืน “ทําดที ่ีสุด” คือ การทาํ เพื่อคนอ่นื หรือเพือ่ ส่วนรวม เป็นการกระทาํ ที่ดีทส่ี ุด “จงเตรยี มพร้อม คือ พรอ้ มทีจ่ ะทําความดี พร้อมเพื่อสร้าง พรอ้ มเพอ่ื ส่วนรวม “มองไกล” คอื มองให้เห็นเหตุผล มองใหเ้ หน็ คนอน่ื มองให้เห็นสว่ นรวมมใิ ช่มองแต่ตวั เอง หรือผลประโยชน์ของตวั เอง “บริการ” คือ การใหค้ วามช่วยเหลอื แก่ผู้อืน่ แก่ส่วนรวม นอกจากนี้ในคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื ก็ได้ระบุถึงการบาํ เพ็ญประโยชน์ตอ่ ผูอ้ ื่นโดยถอื วา่ สําคัญมาก แหล่งหรือโอกาสที่ลูกเสือจะบําเพ็ญประโยชน์นั้น ควรเริ่มจากสิ่งที่ใกล้ตัวก่อนแล้วขยายให้กว้างขวางออกไปตาม วัย และความสามารถของลกู เสือ 5.4 การฝึกอบรมท่ตี อ่ เน่อื งกนั และกา้ วหนา้ สูงขึ้น 5.5 ระบบหมู่ ฝึกความรับผดิ ชอบ การเป็นผนู้ าํ ผู้ตาม การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย 5.6 ระบบเครื่องหมายวิชาพิเศษ มีมากมายหลายอย่าง ซึ่งลูกเสืออาจเลือกเรียนเรือ่ งทีต่ นสนใจได้ และ เมื่อ ดผ่านการทดสอบแล้ว ก็จะได้รับเครื่องหมายซึ่งนํามาติดกับเครื่องแบบเป็นการเชิดชูเกียรติและแสดง สมรรถภาพ ของตนสว่ นหนึง่ 5.7 กจิ กรรมกลางแจ้ง เช่น เดินทางไกล อยคู่ ่ายพกั แรม 5.8 การเล่น (เกมต่าง ๆ) เอกสารสำหรบั ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ การฝึกอบรมวชิ าผูก้ าํ กับลูกเสือขนั้ ความรู้ทัว่ ไป (General Information Course : G.I.C.)

11 5.9 การร้องเพลง และการชมุ นมุ รอบกองไฟ 6. แนวการพัฒนาลูกเสอื 8 ประการ 6.1 พฒั นาทางกาย 6.2 พัฒนาทางสติปญั ญา 6.3 พฒั นาทางจิตใจและศลี ธรรม 6.4 พัฒนาในเรื่องการสรา้ งค่านยิ มและเจตคติ 6.5 พฒั นาทางสัมพันธภาพระหวา่ งบคุ คล 6.6 พัฒนาทางสมั พันธภาพทางสังคม 6.7 พฒั นาทางสัมพันธภาพตอ่ ชมุ ชน 6.8 พฒั นาทางด้านความรับผิดชอบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 7. พลเมืองดีในทัศนะของการลูกเสือ 7.1 มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 7.2 มีเกียรติเชื่อถือได้ 7.3 มีระเบียบวินัย สามารถบังคับใจตนเองได้ 7.4 สามารถพึ่งตนเองได้ 7.5 เต็มใจและสามารถช่วยเหลือชุมชน และบําเพ็ญ ประโยชน์ตอ่ ผูอ้ น่ื ได้ทุกเม่ือ 8. ประโยชนข์ องการลกู เสอื 8.1 เปน็ การศึกษานอกแบบ (NON FORMAL EDUCATION) 8.2 ช่วยเสริมการศกึ ษาในโรงเรยี น ในด้าน - ความประพฤติ นสิ ยั ใจคอ สตปิ ัญญา - ความมีระเบยี บวินัย - สขุ ภาพและพลงั - การฝีมือและทักษะ - หน้าที่พลเมืองและการบําเพ็ญประโยชน์ต่อผอู้ ืน่ 9. ท่านได้อะไรจากการเปน็ ลกู เสือ 9.1 ได้ผจญภยั (ADVENTURE) 9.2 มีมติ รมากข้ึน (FRIENDSHIP) 9.3 มชี ีวิตโลดแล่นในกลางแจง้ (OUT DOOR LIFE) 9.4 มีความสนกุ (ENJOYMENT) 9.5 ไดร้ ับความสมั ฤทธผิ ล (ACHIEVEMENT) เอกสารสำหรับศึกษาเพิ่มเติม การฝึกอบรมวิชาผกู้ าํ กับลกู เสอื ขนั้ ความรทู้ ั่วไป (General Information Course : G.I.C.)

12 10. กจิ การลูกเสือตอ้ งการอะไร 10.1 ต้องการเยาวชนมาสมคั รเป็นลกู เสือมากขึน้ (พลเมืองดีมีคุณภาพจะมากข้ึน) 10.2 ตอ้ งการผู้บงั คบั บญั ชาที่มสี มรรถภาพในการฝกึ อบรม 10.3 ต้องการงบประมาณท่ีเพยี งพอ เพ่อื นํามาใช้ในการฝึกอบรมและบรหิ ารกจิ การลกู เสือ บทเรียนท่ี 3 วิชาผู้ใหญ่ในกิจการลูกเสอื ลักษณะรายวชิ า 1. บทบาทของผใู้ หญ่ในกจิ การลูกเสือตามพระราชบัญญัตลิ ูกเสอื 2. แนวการฝกึ อบรมผู้ใหญเ่ กยี่ วกบั กิจการลกู เสอื เพื่อเปน็ ผ้บู ังคบั บญั ชาลูกเสอื 3. การส่งเสริมสนับสนุนกิจการลูกเสือ และบทบาทของผู้ใหญ่ในวงการลูกเสือของประเทศไทย และการ ลูกเสือโลก เนอ้ื หาวิชา 1. บทบาทของผู้ใหญใ่ นการบริหารงานลกู เสอื ตาม พ.ร.บ. ลกู เสือ พ.ศ. 2551 1.1 พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ของคณะลกู เสือแห่งชาติ (มาตรา 7 พ.ศ. 2551) 1.2 นายกรัฐมนตรี เปน็ สภานายก 1.3 รองนายกรัฐมนตรี เป็นอปุ นายก 1.4 กรรมการโดยตําแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้ บัญชาการ ทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ เลขาธิการสภา การศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการ คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา เลขาธิการสภากาชาดไทย อธิบดกี รมการปกครอง อธบิ ดกี รมส่งเสริมการปกครอง ท้องถนิ่ ผวู้ า่ ราชการ กรุงเทพมหานคร ผ้วู ่าราชการจังหวดั และผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏบิ ตั ิการลูกเสือชาวบา้ น 1.5 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนไม่เกินแปดสิบคนซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามพระราช อัธยาศัย ให้เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธิการและผู้ช่วยเลขาธิการ สํานักงานลูกเสือแห่งชาติ เป็นผชู้ ่วยเลขานุการ เอกสารสำหรับศกึ ษาเพม่ิ เติม การฝึกอบรมวชิ าผ้กู ํากบั ลูกเสือขน้ั ความรู้ทั่วไป (General Information Course : G.I.C.)

13 สภาลูกเสือไทยอาจมสี ภานายกกติ ตมิ ศักดิ์ อุปนายกกิตตมิ ศกั ด์ิ และกรรมการกติ ตมิ ศักด์ิซง่ึ จะไดท้ รง พระ กรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ (มาตรา 11 พ.ศ. 2551) 2. แนวการฝกึ อบรมผ้ใู หญ่ แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท 2.1 การฝกึ อบรมผูใ้ หญ่ทจ่ี ะไปทําหนา้ ท่ีผกู้ าํ กับลูกเสือทั้ง 4 ประเภท คือ 2.1.1 ขนั้ ความร้ทู ่ัวไป General Information Course 2.1.2 วชิ าผ้กู ํากับลูกเสอื สํารอง ขั้นความรู้เบื้องตน้ Cub Basic Unit leader Training Course (C.B.T.C.) ได้รับ Gilwell Woggle วิชาผู้กํากับลูกเสือสํารอง ขั้นความรู้ชั้นสูง Cab Advanced Unit Leader Training Course (C.A.T.C.) ได้รับเครื่องหมาย Wood Badge 2 ท่อน (C.W.B.) (โดยต้องผ่านการตรวจ กองก่อน) 2.1.3 วิชาผู้กํากับลูกเสือสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น Scout Basic Unit Leader training Course (S.B.T.C.) ไดร้ บั Gilwell Woggle วิชาผูก้ าํ กับลูกเสอื สามัญ ชนั้ ความรชู้ ้นั สงู Scout Advanced Unit leader Training Course (S.A.T.C.) ได้รับเครื่องหมาย Wood Badge 2 ท่อน (S.W.B.) (โดยต้องผ่านการ ตรวจกองก่อน) 2.1.4 วิชาผู้กํากับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ขั้นความรู้เบื้องต้น Senior basic Unit Leader training Course (SS.B.T.C.) ไดร้ ับ Gilwell Woggle วิชาผกู้ ํากบั ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ชั้นความรู้ช้ันสูง senior Advanced Unit Leader training Course (SS.B.T.C.) ได้รับเครื่องหมาย Wood Badge 2 ท่อน (SS.W.B.) (โดยต้องผา่ นการ ตรวจกองก่อน) 2.1.5 วิชาผู้กํากับลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น Rover Basic Unit Leader Training Course (R.B.T.C.) ได้รับ Gilwell Woggle วิชาผู้กํากับลูกเสือวิสามัญ ชั้นความรู้ชั้นสูง Rover Advanced Unit Leader Training Course (R.A.T.C.) ได้รับเครื่องหมาย Wood Badge 2 ท่อน (R.W.B.) (โดยต้องผ่านการตรวจกองกอ่ น) 2.1.6 ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือ Assistant Leader Trainers Course (A.L.T.C) ได้รับเคร่อื งหมาย Wood Badge 3 ทอ่ น (A.L.T.) (โดยต้องทาํ ผลงานการเป็นวทิ ยากรให้การ ฝึกอบรมตามท่ีกาํ หนด) 2.1.7 ขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือ (L.T.C.) ได้รับ Wood Badge 4 ทอ่ น (L.T.) (โดยต้องทําผลงานการเปน็ ผอู้ ํานวยการฝกึ และเป็นวทิ ยากรตามทกี่ าํ หนด) เอกสารสำหรับศึกษาเพ่ิมเติม การฝกึ อบรมวิชาผู้กํากบั ลกู เสอื ขน้ั ความร้ทู วั่ ไป (General Information Course : G.I.C.)

14 2.2 การฝึกอบรมผู้ใหญ่ที่เป็นผู้นําในการส่งเสริมกิจการลูกเสือ Adult Leader Training Course ได้รับ Gilwell woggle ได้รับเครื่องหมาย Wood Badge 2 ท่อน (W.B.) (ต้องทําผลงานและผ่านการสัมภาษณ์แทนการตรวจ กอง) 3. การชว่ ยส่งเสรมิ กิจการลกู เสอื สาํ นักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ ผตู้ รวจการลูกเสอื และคณะอนกุ รรมการฝ่ายต่าง ๆ 10 คณะ 1. ผตู้ รวจการลูกเสอื ฝา่ ยบริหาร 2. ผตู้ รวจการลกู เสือฝา่ ยจัดหาทุน 3. ผตู้ รวจการลกู เสอื ฝา่ ยต่างประเทศ 4. ผู้ตรวจการลกู เสอื ฝ่ายประชาสมั พนั ธ์ 5. ผ้ตู รวจการลกู เสอื ฝา่ ยวชิ าการ 6. ผู้ตรวจการลกู เสอื ฝ่ายพัฒนาบุคลากร 7. ผู้ตรวจการลกู เสือฝ่ายพฒั นาชุมชน 8. ผ้ตู รวจการลูกเสือฝา่ ยกิจการพิเศษ 9. ผู้ตรวจการลูกเสือฝา่ ยลูกเสอื ชาวบา้ น 10. ผตู้ รวจการลูกเสอื ฝ่ายส่งิ แวดล้อม 3.1 การช่วยงานฝึกอบรม เช่น การปฏิบัติหน้าที่ผูอ้ ํานวยการฝึกอบรมและวิทยากรการส่งเสรมิ ให้ผู้ใหญ่ เข้ารับการฝึกอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือ การจัดทําเอกสารคู่มือ การจัดทําสื่อและอุปกรณ์ ตลอดจนอํานวยความ สะดวก ตา่ ง ๆ 3.2 การช่วยงานฝ่ายวิชาการ เช่น การปรับปรุงหลักสูตร และคู่มือการจัดกิจกรรมของลูกเสือประเทศ ตา่ ง ๆ 3.3 งานประชมุ เจ้าหนา้ ที่ลกู เสอื เช่น การประชมุ อบรม สมั มนาลกู เสอื และลูกเสอื ชาวบา้ น 3.4 การช่วยเด็กที่เป็นลูกเสือ เช่น การส่งเสริมให้การสมัครเป็นลูกเสือ การจัดหาเครื่องแบบให้ การ ชว่ ยเหลอื ในการอยู่คา่ ยพกั แรมของลกู เสือและการชุมนุมของลูกเสือ ฯลฯ 3.5 การบริจาคทรัพย์สินและสิ่งของให้แก่ลูกเสือ คณะลูกเสือ และการจัดหาทุนส่งเริ่มกิจการลูกเสือ ไดแ้ ก่ มลู นิธสิ ง่ เสรมิ กจิ การลกู เสอื แห่งประเทศไทย มูลนธิ คิ ณะลกู เสือแหง่ ชาติ มูลนิธิอาจารย์กอง วสิ ทุ ธารมณ์เพื่อ กจิ การลูกเสอื เปน็ ตน้ 3.6 ผู้ใหญ่แต่งเครื่องแบบลูกเสือ เป็นตัวอย่างอันดีแก่ลูกเสือ เป็นเครื่องหมายแห่งความเสียสละ และ ช่วยทาํ ภาพพจน์ของลกู เสือให้ดีขึ้นในสายตาของประชาชนโดยทั่วไป 3.7 การยกย่องและสนบั สนุนกจิ การลูกเสือ 3.8 การช่วยงานลูกเสือฝ่ายวิเทศสมั พันธ์ เพื่อประสานงานกจิ การลูกเสืออน่ื ท่วั โลก เอกสารสำหรับศึกษาเพิ่มเติม การฝึกอบรมวชิ าผ้กู าํ กบั ลูกเสือขนั้ ความร้ทู ว่ั ไป (General Information Course : G.I.C.)

15 3.9 การจัดตั้งสโมสรลูกเสือ โดยได้รับอนุมัติจากสํานักงานลูกเสือแห่งชาติ และ ถ้าจะจัดตั้งเป็นสมาคม ลูกเสือให้จดทะเบียนกับสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือ แห่งชาติ ด้วย 4. บทบาทของผู้ใหญ่ในวงการลกู เสือโลก 4.1 สมชั ชาลูกเสือโลก กรรมการลกู เสือโลก และสาํ นกั งานลูกเสือโลก • สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference) คือ การประชุมผู้แทนลูกเสือนานาชาติ ทุก ๆ 3 ปี คร้ังที่ 33 จดั ขน้ึ ณ ประเทศไทย พ.ศ. 2536 • กรรมการลูกเสือโลก (World Scout Committee) มีกรรมการ 12 คน เลือกตั้งโดยสมัชชา ลกู เสือโลก และอยูใ่ นตาํ แหนง่ คราวละ 6 ปี • สํานักงานลกู เสือโลก (World Scout Bureau) ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดย มี เลขาธิการเป็นผบู้ ังคับบญั ชา 4.2 สํานักงานลกู เสอื โลกประจาํ ภาคพนื้ ต่าง ๆ (World Sout Bureau Regional Office) 4.2.1 ภาคพื้นอาฟริกา (Africa Region) สํานกั งานต้ังอยทู่ ีเ่ มืองไนโรบี ประเทศเคนยา 4.2.2 ภาคพ้ืนอาหรับ (Arab Region) สํานักงานต้ังอย่ทู ่ีเมอื งไคโร ประเทศอียิปต์ 4.2.3 ภาคพืน้ เอเชยี -แปซิฟิก (Asia Pacific Region) สาํ นกั งานตัง้ อยู่ท่เี มืองมาคาติ กรุงมะนิลา ประะเทศฟิลปิ ปินส์ 4.2.4 ภาคพื้นยูเรเซยี (Eurasia Region) สํานักงานตัง้ อยูท่ ่เี มอื งเคยี ฟ ประเทศยเู ครน 4.2.5 ภาคพื้นยุโรป (Europe Region) สํานักงานตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และเมืองบรสั เซล ประเทศเบลเยีย่ ม 4.2.6 ภาคพื้นอินเตอร์อเมริกา (Inter America Region) สํานักงานตั้งอยู่ที่เมืองปานามา ประเทศปานามา 4.3 สมัชชาลูกเสือโลกประจําภาคพื้นเอเซีย-แปซิฟิก มีการประชุมทุก ๆ 3 ปี คณะกรรมการลูกเสือ ภาคพ้นื เอเชียแปซิฟิก มี 10 คนเลือกตง้ั โดยสมชั ชาลูกเสือภาคพื้นเอเซีย-แปซิฟิกและอยู่ในตาํ แหน่งคราวละ 6 ปี เอกสารสำหรับศึกษาเพิ่มเตมิ การฝึกอบรมวชิ าผู้กาํ กับลกู เสอื ขนั้ ความรู้ทั่วไป (General Information Course : G.I.C.)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook