คำ�นำ� หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ประกอบการสอนเล่มน้ี (รหสั วชิ า355110 ) จัดทำ�ขึ้นเพ่ือใชป้ ระกอบการเรยี นการ สอนวิชาหลกั การและทฤษฎีเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 3(3-0-6) Principles and theories in educational technology and communications ศกึ ษา และวิเคราะหห์ ลักการ และทฤษฎีเก่ยี ว กบั การเรยี นการสอน และการศึกษา โดยเฉพาะความสัมพนั ธ์กับทฤษฎกี ารเรยี นรู้ การสอน การศึกษา เทคโนโลยีการสอน สารสนเทศ และ การจดั การ ซงึ่ ใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน สื่อสาร เพ่อื ให้ผูเ้ รียนเขา้ ใจถงึ ความส�ำ คัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพอ่ื น�ำ ไปใช้ในการเรยี นการสอน และเป็นผ้มู ีความสามารถมีทักษะในการนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศไปศกึ ษาคน้ คว้าประยุกตใ์ ช้ และพฒั นา ตนเองทัง้ ทางด้านการเรียนการสอน และการด�ำ เนนิ ชวี ิตได้
สารบัญ บทที่ 1 ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยกี ารศึกษาและนวัตกรรมการศึกษา…………………………5 1.ความหมายของเทคโนโลยี…………………………………………………………………….......….......6-7 2.เทคโนโลยกี ารศกึ ษา (Educational Technology)………………………………...................8-9 3.ความเป็นมาและพฒั นาการของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา…………………………………………….10-17 4.การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา (The Changing Face of Education)………18 บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม (Behavioral Theories)………………………………….......19 . 1..ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลุ่มพฤติกรรม (Behavioral Theories)………..............................……20 2.ทฤษฎีการเรยี นรู้การวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory)......25 3.ทฤษฎกี ารเรยี นรู้พฤติกรรมนยิ ม…………………………………………………………………………...26-28 . 4.ทฤษฎกี ารเรยี นรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมอื กระทํา (Operant Conditioning Theory)..29-30 บทที่ 3 ทฤษฎีการเรียนรู้กล่มุ พุทธปิ ญั ญา (Cognitive Theories)………………………………………….31 1.กลุ่มพุทธปิ ญั ญานิยม (Cognitive)…………………………………………………………………….......32 2.ทฤษฎีทางดา้ นพฤตกิ รรมนยิ ม (Behavioral Theories)……………...................................33-35 บทท่ี 4 ออกแบบการสอน (Instructional Design)......................................................................36 1.ความหมายของการออกแบบการสอน (Instructional Design)……………….......................37 2.ระบบการสอน (Instructional System)…………………………………………….........................38-39 3.การออกแบบการสอน (Constructional Design)…………………………………………..............40-41 4.การสอนแบบกรณตี วั อยา่ ง……………………………………………….............................................42-43 5.การสอนแบบกรณตี วั อย่าง กบั การสอนแบบบุคลาธิษฐาน…………………………....................44-45 5.1ขนั้ ตอนการสอนแบบกรณตี ัวอย่าง………………………………………………………............……46 6.เทคนคิ การระดมความคดิ แบบวงลอ้ พฒั นา……...............................................................…47-48 บทท่ี 5 สื่อการสอนเพือ่ การเรยี นร…ู้ ………………………………………………………................................49 1.สือ่ และนวตั กรรมแห่งการเรียนรู้…………………………………………………....................................50-53 2.ประเภทของสือ่ การเรยี นร…ู้ ……………………………………………………………………………………… 54 3.สื่อประเภทวสั ดุ: ส่ือประเภทอุปกรณ์: สอ่ื ประเภทเทคนคิ และวธิ กี าร………………………………55-56 4.การพิจารณาเลือกใชส้ ื่อการเรยี นร…ู้ ……………………………………………………………………………57-61 5.หลักการในการออกแบบส่อื การเรียนรู้…………………………………………………………………………62-64 บรรณานุกรม..................................................................................................................................65
5
ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษา ความเจริญกา้ วหน้าทางดา้ นต่างๆ เปน็ ผลมาจากการศึกษาค้นคว้า ทดลอง หรอื การประดษิ ฐค์ ิดคน้ ส่ิงตา่ งๆ โดยอาศยั ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนา ทางด้านต่างๆ ท่ีเรียกวา่ “เทคโนโลยี” (Technology) ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยี (Technology) มาจากภาษาละตินว่า Texere แปลว่า การสาน (To weave) หรืออกี นัยหน่ึง มาจากคาํ ว่า Technologia ซ่ึงมาจากภาษากรกี หมายถึง การทําอยา่ งมรี ะบบ ซึ่งไดม้ ผี ู้ใหน้ ิยามความ หมายของเทคโนโลยี ไวด้ งั นี้ คารเ์ ตอร์ วี กดู (Carter V.Good, 1973) ใหค้ วามหมายไวว้ า่ เทคโนโลยี หมายถึง การนาํ วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในงานดา้ นต่างๆ เพอ่ื ปรบั ปรงุ ระบบน้ันๆ เจมส์ ดี ฟนิ ส์ (Jemes D.Finn, 1972) กล่าววา่ เทคโนโลยีมคี วามหมายลกึ ซ้ึงไปกวา่ ประดษิ ฐ์กรรม เครื่องมอื เครอื่ งยนต์กลไกตา่ งๆ แตห่ มายถงึ กระบวนการ แนวความคดิ แนวทาง หรอื วิธีการในการคิด ในการทาํ สิง่ ใดสงิ่ หนงึ่ เอดการ์ เดล (Edgar Dale, 1969) ได้ใหค้ วามหมายไวว้ า่ เทคโนโลยี มใิ ช่เครอ่ื งมอื เครื่องยนต์กลไก ตา่ งๆ แต่เป็นแผนงาน วธิ ีการทํางานอยา่ งมรี ะบบ ทท่ี ําใหง้ านนนั้ บรรลุตามแผน งานทว่ี างไว้ พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ไดใ้ หค้ วามหมาย “เทคโนโลย”ี 14. เป็นวิทยาการเก่ยี ว กบั ศิลปะในการนาํ เอาวทิ ยาศาสตรม์ าประยกุ ตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นทาง ปฏบิ ตั ิและอตุ สาหกรรม พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ สถาน พ.ศ. 2542 ไดใ้ ห้ความหมาย “เทคโนโลย”ี ไวว้ า่ เปน็ วิทยาการท่ีนาํ เอาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในทางปฏบิ ตั ิและ อตุ สาหกรรม จากแนวคดิ ต่างๆ อาจกล่าวได้วา่ “เทคโนโลย”ี หมายถึง การนาํ แนวคดิ หลกั การ เทคนคิ วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนผลิตผลทางวทิ ยาศาสตรม์ าประยุกต์ใช้ในระบบงานตา่ งๆ เพอ่ื ปรบั ปรุงระบบ งานน้นั ๆ ใหด้ ีขน้ึ และมีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขึน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ในปจั จุบันใน วงการต่างๆ เช่น เกษตร แพทย์ อุตสาหกรรม ธุรกจิ ทหาร ต่างกน็ ําเทคโนโลยมี าใช้ เพอ่ื กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ สาขาวชิ าชพี 6
ของตนอยา่ งเต็มที่ อันจะเอ้อื อํานวยในดา้ นตา่ งๆ ดังนี้ 1. ดา้ นประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทาํ งานนน้ั สามารถบรรลผุ ล ตามเปา้ หมายได้ อยา่ งถกู ต้องและรวดเร็ว 2. ดา้ นประสิทธิผล (Effectiveness) เทคโนโลยจี ะช่วยใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานนั้น ไดผ้ ลผลติ ออกมาอยา่ งเตม็ ที่ 3. ประหยดั (Economy) เทคโนโลยจี ะชว่ ยให้ประหยดั ทงั้ เวลา ทรัพยากร และ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสดุ อันจะ 4. ปลอดภัย (Safety) เป็นระบบการทาํ งานท่ีอํานวยให้เกดิ ความปลอดภยั เพิ่มขึ้น ในปจั จบุ นั ไดม้ กี ารนาํ เทคโนโลยีมาใช้ในการพฒั นาดา้ นตา่ งๆ ในหลายวงการ เช่น ถา้ นํามาใช้ในวงการ ทหาร เรยี กวา่ เทคโนโลยกี ารทหาร (Military Technology) นํามาใช้ ในการพัฒนางานการผลิตเครือ่ ง มอื และวิธกี ารตา่ งๆในทางการแพทย์ เรยี กว่า เทคโนโลยี ทางการแพทย์ (Medical Technology) เช่น การผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์ เครือ่ งมอื การเกษตร (Agricultural Technology) เชน่ การสรา้ งเคร่ือง มอื สําหรับเกย่ี วขา้ ว ไถนา หรือนวดขา้ ว สิ่งเหลา่ นจ้ี ะชว่ ยให้การทํางานเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ประหยัดทง้ั แรงงานและค่าใช้จา่ ย ถ้าเปน็ การนาํ มาใช้ในงานดา้ นธุรกจิ ได้แก่ การนําคอมพวิ เตอรม์ าชว่ ย จดั ระบบงานตา่ งๆ เชน่ การเบกิ จ่ายเงนิ ธุรกิจธนาคาร อาทิ การฝาก ถอนเงนิ ด้วยบัตร ATM หรอื การ โอนเงินด้วยระบบ คอมพวิ เตอร์ ตลอดจนระบบการผลติ สนิ คา้ ในโรงงาน ฯลฯ จากประโยชน์นานัปการที่ไดร้ บั จากเทคโนโลยที ม่ี ตี อ่ การพัฒนาด้านต่างๆ ดงั กล่าว ข้างตน้ เชน่ เดียวกัน ทางดา้ นการศึกษาได้ตระหนักถงึ ความสาํ คญั และความจาํ เป็นในการนํา เทคโนโลยมี าใช้ในการพัฒนา ระบบการศกึ ษาใหม้ ีประสิทธภิ าพเพ่มิ ข้ึน 7
เทคโนโลยกี ารศึกษา (Educational Technology) ท้งั น้ีเพ่ือมุง่ เนน้ ใหก้ ารดาํ เนินการจัดการศกึ ษา ซง่ึ เป็นหลกั ท่สี าํ คญั ในการพฒั นาประเทศเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ความหมายของเทคโนโลยกี ารศึกษา * คารเ์ ตอร์ วี กูด (Carter V.Good, CAI 1973) ไดก้ ลา่ ววา่ “เทคโนโลยกี ารศกึ ษา” หมายถึง การนาํ หลักการทางวิทยาศาสตร์มา ประยุกตใ์ ช้ เพ่ือการออกแบบ และส่งเสริมระบบ การเรียนการสอน โดยเน้นทีว่ ตั ถุประสงค์ทาง การศึกษา ทส่ี ามารถ วดั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องแนน่ อน มีการยึดผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลางการเรยี นมากกวา่ 1 ภาพท่ี 1-1 เทคโนโลยี การศกึ ษา ท่จี ะยดึ เนือ้ หาวชิ า มีการใช้การศึกษาเชงิ ปฏบิ ตั ิ โดยผ่านการวิเคราะหแ์ ละการใช้เครื่องมอื โสตทศั นูปกรณ์ รวมถงึ เทคนคิ การสอนทใ่ี ชอ้ ปุ กรณ์ตา่ งๆ เชน่ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ สอ่ื การสอนตา่ งๆ ใน ลักษณะของสื่อประสม และการศึกษาด้วยตนเอง 4 วิจิตร ศรสี อ้าน (2517) กล่าวว่า “เทคโนโลยกี ารศกึ ษา” เปน็ การประยุกตเ์ อาเทคนิค วธิ ี การ แนว ความคดิ อุปกรณ์และเคร่อื งมอื ใหม่ ๆ มาใชเ้ พือ่ ชว่ ยแกป้ ัญหาทางการศกึ ษา ทั้งใน ดา้ น การขยายงาน และดา้ นการปรับปรงุ คณุ ภาพของการเรยี นการสอน กอ่ สวัสดพิ านชิ (2517) กล่าวว่า “เทคโนโลยกี ารศกึ ษา” หมายถงึ การนําวิธีการ หรือเครอ่ื งมอื ใหม่ๆ มาใชท้ างการศึกษาเพื่อช่วยใหร้ ะบบการศกึ ษามีประสทิ ธิภาพสงู ขน้ึ สนั ทัด และ พมิ พใ์ จ ภบิ าลสุข (2525) กลา่ ววา่ “เทคโนโลยกี ารศกึ ษา” หมายถึง การนําเอา ความ รู้ แนวความคิด กระบวนการ ตลอดจนวสั ดุและอุปกรณต์ ่างๆ มาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบ เพือ่ แก้ปญั หา และพัฒนาการศกึ ษาให้กา้ วหนา้ ต่อไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2526) ไดใ้ ห้นยิ ามไวว้ า่ “เทคโนโลยีการศกึ ษา” เปน็ ระบบการ ประยุกตผ์ ลิตกรรม ทางวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ วสั ดุ และผลติ กรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ ได้แก่ อุปกรณโ์ ดยยึดหลักการทาง พฤติกรรมศาสตร์ ได้แก่ วิธีการ มาชว่ ยในการเพมิ่ ประสิทธภิ าพ ทางการศึกษา ทง้ั ดา้ นการบริหาร หรอื อีกนยั หน่งึ เทคโนโลยกี ารศกึ ษาเป็นระบบการนําวสั ดุ อปุ กรณ์ และวิธีการมาใช้ในการปรับปรุง ประสทิ ธิภาพการศกึ ษาให้สูงข้นึ กดิ านันท์ มลทิ อง (2543) ไดใ้ หค้ วามหมายของเทคโนโลยกี ารศึกษาวา่ เป็นการประยุกต์ เอาเทคนคิ วธิ ี การ แนวความคิด วสั ดุอุปกรณ์ และส่ิงตา่ งๆ อันสืบเนอ่ื งมาจากเทคโนโลยี มาใช้ในวงการศกึ ษา คณะกรรมการกาํ หนดศัพท์ และความหมายของสมาคมเทคโนโลยแี ละส่ือสารการศึกษาของ สหรฐั อเมริกา (AECT, 8
1977) อธิบายวา่ “เทคโนโลยีการศกึ ษา (EducationalTechnology) เปน็ กระบวนการทมี่ ีการ บูรณาการอยา่ งซับซอ้ นเกี่ยวกบั บคุ คล กรรมวธิ ี เคร่อื งมอื และองคก์ ร เพอ่ื นําไปใชใ้ นการวิเคราะห์ ปญั หา สรา้ ง ประยุกต์ใช้ ประเมินผล และจัด แก้ปญั หาตา่ งๆ ดังกลา่ ว ที่เกย่ี วข้องกบั การเรียนรขู้ อง มนษุ ยใ์ นทุกลักษณะ หรืออาจกลา่ วไดว้ า่ “เทคโนโลยีการศกึ ษา” และขัน้ ตอนการแก้ปญั หาต่างๆ รวมถงึ แหล่งการเรยี นรูท้ ีไ่ ด้มีการออก เลือก และนํามาใชเ้ พือ่ มงุ่ สู่จุดมุ่งหมาย คอื การเรยี นรู้ น่นั เอง จากความหมายของสมาคมเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศึกษาของสหรัฐอเมรกิ า ดังกลา่ วข้างต้น ไดม้ ีการ ขยายแนวคิดเก่ยี วกบั เทคโนโลยีการศึกษาเพราะการเปลีย่ นแปลง อนั เนอ่ื งมาจากการเปลยี่ นกระบวน ทัศน์ จากพ้ืนฐานทางทฤษฎกี ารเรียนรู้พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสู่พทุ ธปิ ัญญานิยม (Cogni- tivism) และคอนสตรคั ตวิ ิสต์ (Constructivism) กอปรทัง้ ความเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยีใหมๆ่ โดย เฉพาะอยา่ งยง่ิ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร จงึ ได้มกี ารปรบั เปลยี่ นความหมายของเทคโนโลยี การศกึ ษา ให้เหมาะสมกับ สภาพความเปล่ยี นแปลง ดงั นี้ เทคโนโลยีการศึกษา หรือเทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) หมายถงึ ทฤษฎี และการ ปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับการออกแบบ การพัฒนา การใช้ การจัดการ และการประเมินของ กระบวนการ และ แหลง่ การเรยี นเพื่อการเรยี นรู้ (Seels, 1994) จากความหมายดงั กล่าว จะเห็นไดว้ ่า แหล่งการเรียนรู้ อาจจําแนกได้เป็นสาร (Message) คน (Peo- ple) วสั ดุ (Materials) เครอื่ งมือ (Devices) เทคนคิ วิธกี าร (Techniques technOogy and Setting) กระบวนการ ในการวิเคราะห์ ปญั หา การสรา้ ง หรอื ผลติ การนาํ ไปใช้ (Implementing) ตลอดจน การประเมนิ การแกป้ ญั หา นัน้ จะกลา่ วไวใ้ นส่วนของการพัฒนาการวจิ ัย เชิงทฤษฎี การออกแบบ การ ผลติ การประเมนิ ผล (Evaluation) ตรรกศาสตร์ (Logistics) การใช้ และการเผยแพร่ ส่วนในเรื่องของ กระบวนการ 9
ความเป็นมาและพฒั นาการของเทคโนโลยีการศกึ ษา รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนาน โดยเริม่ จากสง Technologia หมายถึง การกระทาํ อย่างเป็นระบบ หรอื งานฝีมือ (Craft) ชาวกรีกได้ 5. วัสดใุ นการสอนประวัตศิ าสตรแ์ ละหนา้ ท่พี ลเมอื ง โดยการแสดงละคร ใช้ดนตรี โดยเฉพาะ การศึกษาของชาวกรีกและโรมนั โบราณ ไดใ้ หค้ วามสําคัญกับ การศกึ ษานอกสถานท่ี สว่ น การสอนศลิ ปะไดม้ ีการนาํ รปู ป้นั รวมทัง้ การแกะสลักเข้ามาชว่ ยในการสอน ดงั นั้นในสมัยนั้นจงึ เห็น ความสาํ คัญของทัศนวสั ดทุ ี่ช่วยในการเรยี นการสอน กลุ่มทีม่ ีชือ่ เสียงกลุ่มหนง่ึ ได้แก่ กล่มุ โซฟสิ ต์ (Sophist) เปน็ กลมุ่ ครผู ู้สอนชาวกรกี ได้ทําการสอนความรูต้ า่ งๆ ให้กบั ชนรนุ่ เยาว์ ได้ รบั การ ยอมรับว่าเปน็ ผู้ทม่ี คี วามฉลาดปราดเปรื่องในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยี การศึกษากลมุ่ แรก กลมุ่ โซฟิสตท์ ่ีมอี ิทธพิ ลทางด้านการศกึ ษา ไดแ้ ก่ โซเครติส (So- cretes) พลาโต (Plato)อริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งถือได้วา่ เปน็ ส่วนหนึ่งของการวางรากฐานของปรชั ญา ตะวนั ตก บคุ คลท่ีสาํ คญั อกี ท่านหนึ่ง คือ โจฮัน อะมอส คอมนิ อิ สุ (Johannes Amos Comenius ค.ศ. 1592-1670) เป็นผูท้ ี่ใช้วัสดุ ส่ิงของที่เป็นของจรงิ และรปู ภาพ เข้ามาชว่ ยในการสอนอย่าง จรงิ จัง รวม ท้ังแนวคิดในเรอื่ งวิธกี ารสอนใหม่ที่ใหค้ วามสาํ คัญต่อ การใช้วัสดุของจรงิ มาใชใ้ นการสอน ตลอดจนการ รวบรวมหลกั การสอนจากประสบการณ์ทที่ ําการสอนมา 40 ปี นอกจากนี้ ได้แต่งหนงั สอื ทสี่ ําคญั อกี มากมายและทสี่ ําคญั คือ Obis Sensualium Pictus หรอื ท่เี รียกว่าโลกในรปู ภาพ)ซึ่งเปน็ หนงั สือท่ีมี ภาพประกอบบทเรียนตา่ งๆ ผลงานของคอมินิอุส ได้มีอทิ ธพิ ลตอ่ การพัฒนาตลอดมาจน ไดร้ ับการขนาน นามวา่ เป็นบิดาแหง่ โสตทัศนศกึ ษา ต่อมาไดม้ กี ารพัฒนาทางดา้ น เทคโนโลยีการศึกษา ซ่งึ สามารถจาํ แน กออกเปน็ ดา้ นตา่ งๆ ในทีน่ ้จี ะกลา่ วเก่ียวกับพฒั นาการของเทคโนโลยกี ารศึกษาใน ส่วนประกอบหลัก ท่สี าํ คญั ไดแ้ ก่ ด้านการออกแบบการสอน ดา้ นส่ือการสอนและด้านคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการศึกษา ดงั ราย ละเอยี ดต่อไปน้ี ความเปน็ มาและพฒั นาการของการออกแบบการสอน (Instuctional Design Roots) ผลงานตา่ งๆ เก่ียวกับการออกแบบการสอนทไี่ ดม้ กี ารอ้างองิ หนึ่งในจํานวน ดงั กล่าวเป็นผลงานทม่ี ี อทิ ธพิ ลในยุคประวตั ิศาสตรช์ ว่ งต้นของการออกแบบการสอน (Instructional Design) คือ Edward L.Thorndike (ธอรน์ ไดค์) ผู้ซึ่งเปน็ สมาชกิ ของ Faculty of Teacher College of Columbia Univer- sity ในปี 1898 ไดท้ าํ การศกึ ษาทดลองเกีย่ วกับการ เรียนรู้ โดยเร่มิ แรกทดลองกบั สตั ว์ และตอ่ มาทดลอง กับมนษุ ย์ จากผลการทดลองนั้น เขาไดพ้ ัฒนา ทฤษฎีการเรยี นรู้อยา่ งเปน็ วทิ ยาศาสตร์ แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรียนร้ขู องธอรน์ ไดค์ได้สร้างความรู้ ขั้นพ้ืนฐานท่วี ่าอินทรยี ์สรา้ งความสมั พนั ธ์เชื่อมโยงระหว่างส่งิ เร้า (Stimulus) และการตอบสนอง (Response) การกระทําต่างๆ จะเกดิ ขึน้ อยา่ งตอ่ เน่อื ง และจะมอี ทิ ธพิ ล ต่อการแสดงพฤตกิ รรมน้ันซำ้�ๆ กัน และในทางตรงขา้ มการกระทาํ นน้ั เป็นผลทีท่ าํ ให้ไมป่ ระสบความ สาํ เรจ็ หรอื ไมเ่ ปน็ ทพี่ ึงพอใจ การกระทาํ ซ�ำ้ ๆก็มคี วามถน่ี อ้ ยลง 10
ผลงานของธอรน์ ไดค์ ได้เสนอแนะวา่ ครผู ้สู อน จาํ เป็นทจ่ี ะต้องสร้างความสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยงที่เหมาะสม อย่างชัดเจน (ตัวอย่าง สง่ิ เร้า 2+2 และการตอบสนอง 4) โดยให้รางวัลสําหรับผู้เรียน ที่สามารถสร้าง การเช่ือมโยง อย่างถกู ต้อง และไมส่ ่งเสรมิ สําหรับการเช่อื มโยงท่ีไม่ เหมาะสม แนวคิดเหลา่ น้ีเป็นสง่ิ ท่ี เป็นหลักฐานทเี่ ห็นโดย ท่ัวไปในช้ันเรียนในปัจจุบัน ธอร์นไดคไ์ ดส้ รา้ งผลงานเกีย่ วกับการประเมิ ธอรน์ ไดค์ได้รับการยกย่องเป็นบคุ คลสําคัญ ในประวัติศาสตร์เกยี่ วกบั สาขาการออ ท่ีสามารถตอบสนองความ แตกต่างระหวา่ งบุคคล โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการสอนแบบโร ในปี ค.ศ. 1920-1930 Franklin Bobbil ได้นําแนวคิดของธอร์นไดค์ไปประยุกต์ใช้กบั ปัญหาทางดา้ น การศึกษา โดยการสนบั สนนุ เป้าหมายเชิงปฏิบตั ิ และได้แนะนาํ ว่าเปา้ หมายของ โรงเรยี นควรมาจาก พ้ืนฐานการวิเคราะหท์ ักษะทีจ่ ําเป็นสําหรบั การมชี วี ิตท่ีประสบความสําเร็จ ส่วนนเ้ี ป็นหลักพ้นื ฐานสําห รบั การวเิ คราะห์ภารกิจการเรียนในการออกแบบการสอน และสรา้ ง ความเช่ือมโยงระหว่างผลการ สอน และการปฏิบตั กิ ารสอน (Instructional Practices) ในชว่ งตน้ ๆ ของศตวรรษที1่ 9 ได้ ปรากฏ ผลงานเก่ียวกับการสอนรายบคุ คล (Individualize Instruction) ซึง่ Frederic Burk และผ้รู ว่ มงานได้ พฒั นาการสอนรายบคุ คลซึ่งเป็นพ้ืนฐานของงานดา้ นนใี้ น ระยะตอ่ มา ในปี ค.ศ.1930 Ralph W. Tyler แห่งมหาวทิ ยาลัย โอไฮโอ (Ohio State University) ไดศ้ กึ ษาการ ใช้ วัตถุประสงค์ในการอธบิ ายเกยี่ วกบั สิง่ ทค่ี าดหวังในการ - เรียน ซงึ่ พบวา่ โรงเรียนมักจะประสบความ ลม้ เหลวในการกําหนดวัตถุประสงค์เฉพาะ “ ไดอ้ ย่างไมค่ อ่ ยดีนกั เพอ่ื ที่จะแก้ปญั หาดงั กล่าว Tyler ได้ ปรบั ปรงุ กระบวนการในกา วตั ถปุ ระสงค์การสอน ในทส่ี ุดเขาสามารถทจ่ี ะกําหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารสอน ได้อย่าง ของพฤติกรรมของผเู้ รียน (Student Behaviors) และการใชว้ ตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ สามารถท่ี จะทาํ การประเมนิ เพ่อื ปรับปรุงได้เป็นท่มี าวถั ุประสงค์เฉพาะ หรอื กาํ หนดการสอนไดอ้ ย่างชดั เจนในรูป วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะนี้ เปน็ ผลทาํ ให้ในช่วงสงครามโลกคร้งั ที่ 2 ได้มีการเปลย่ี นแปลงเกิดข้นึ มากทางดา้ น การสอน อันเนอ่ื งมาจากสาเหตุของความจาํ เปน็ ในการฝกึ อบรมบคุ ลากรในกองทัพ ใหส้ ามารถประยกุ ต์ 11
การวจิ ยั ทางด้านการศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ ซง่ึ ไดม้ ีนกั วจิ ัยการศึกษา กอบรม และได้ออกแบบการสอนอยา่ งเป็นระบบขันสงู ในระหวา่ งสงครามโลกครงั้ ที่ 2 องความพยายาม นี้ จะปรากฏออกมาในรูปของการใชส้ ือ่ การศึกษาในการฝกึ อบรมต่าง กองทพั อย่างไรกต็ าม ภายหลงั จากสงครามโลกคร้งั ที่ 2 การออกแบบการสอน (InstrueDesign) ไดร้ ับความสนใจเพมิ่ มากข้ึน ในช่วงปี ค.ศ. 1950 - 1960 เป็น ช่วงที่สาํ คัญของสาขาวชิ าออกแบบการสอน (Instructional Design) ในปี ค.ศ.1956 เบนจามนิ บลมู ) (Benjamin Bloom) และเพ่ือนร่วมงานได้ตพี มิ พ์ผลงาน การจาํ แนกวัตถปุ ระสงคท์ างการศึกษา (Tax- onomy of Educational Objectives) เป็นลําดับขัน้ ท่ชี ดั เจน สาํ หรับ การจาํ แนกวัตถปุ ระสงคท์ างการ ศึกษาทีใ่ ช้แพรห่ ลาย โดยท่ัวไปในกล่มุ สาขาศึกษาศาสตรม์ าจนถงึ ปัจจบุ ัน การจําแนกวตั ถุประสงค์ ทางการศึกษาของบลูม (Bloom) ไดร้ ับการพิสจู น์วา่ เปน็ สิง่ ท่มี ปี ระโยชน์สาํ หรบั การกาํ หนด ภาพท่ี 1-9 เบนจามิน บลมู วัตถุประสงค์การสอน และ สําหรับการออกแบบการสอนที่ ช่วยใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงคเ์ หล่านน้ั ในขณะเดยี วกนั บี เอฟสกินเนอร์ (B.F. Skinner) ได้เสนอแนวทฤษฎีการวางเง่อื นไข (Operant Con- ditioning) ซ่ึงมรี ากฐานมาจากทฤษฎีพฤติกรรรมนยิ ม (Behaviorism) ซึง่ เปน็ แนวคิดท่ีสาํ คญั ในการ ออกแบบการสอน โดยวธิ ีการ ของสกินเนอรน์ น้ั ไดน้ าํ แนวคดิ ของธอรน์ ไดค์มาขยายเพิ่มเติม โดยเน้น บทบาทของการเสรมิ แรง (Reinforcement) ใน การเช่อื มโยงระหวา่ งส่งิ เรา้ (Stimulus) กับการตอบ สนอง (Response) ซึง่ สกนิ เนอร์ได้กล่าวว่า อาจจะมกี ารคงสภาพ การเรยี นรไู้ ดโ้ ดยการควบคุมการให้แรงเสริม แนวคิดเหล่าน้ี ระบบ (Systematic Approach) ในการ ออกแบบ (Designing) การพฒั นา (Developing) การประเมิน (Evaluating) และการปรับปรุงแก้ไข (Revising) ค.ศ. 1960 สาขาวชิ านไ้ี ด้ก้าวหนา้ ไปในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ โรเบิรต์ agne) และกลมุ่ ทางพุทธิ ปัญญา ซึ่งชว่ ยใหก้ ารนาํ แนวคิดทางพุทธปิ ญั ญา (Cognitive Theories) มาใชใ้ นการออกแบบการสอน กาเยได้กาํ หนดเงื่อนไขทจ่ี าํ เปน็ สาํ หรับผู้เรียนทช่ี ว่ ยให้ สามารถบรรลุเป้าหมายการเรยี นรู้เฉพาะ และให้ ความ สนใจเพ่มิ ข้นึ เกีย่ วกบั ความเข้าใจ (Understanding) ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในจติ ใจ (Mind) หรือในสมองของ ผู้เรียน นอกจากนี้ คาํ วา่ Instructional System เริม่ ถกู นํามาใช้ในการอธบิ าย การออกแบบการสอน อย่างเป็นระบบเพราะว่ารฐั บาลได้ให้ การสนบั สนนุ เกี่ยวกับการวิจยั และพัฒนาสาขาวิชาน้ี ในชว่ งเวลา ดงั กล่าว ซึ่งทาํ ให้การออกแบบการสอนได้มี การนาํ มาใช้ และทาํ การศกึ ษากนั อย่างกว้างขวาง student leaming ขยายขอบขา่ ยสาขาวชิ าใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขึน้ โดยการนํา ทฤษฎีการเรียนรพู้ ุทธิปัญญานยิ ม (Cognitive Theories) มาใชแ้ ละเข้ามามีอิทธิพลเพม่ิ มากขึ้น และสาขาวชิ าการออกแบบการสอนไดเ้ ปิด ทาํ การสอนในระดับปรญิ ญาโทและเอก รูปแบบของการออกแบบการสอนไดถ้ กู พฒั นาขึ้น และมี การ ทดสอบโดยใช้ทฤษฎตี า่ ง ๆ การออกแบบการสอน Content ไดแ้ พรห่ ลายในกองทพั ในการฝกึ อบรม ด้านธรุ กิจ และ เร่มิ แผ่อทิ ธพิ ลเข้ามาสกู่ ารสอนในโครงการ K-12) 12
ในช่วงปี ค.ศ. 1970 เป็นต้นมา ทฤษฎกี ารเรียนรู้ ตา่ งๆ ของกลุ่มพทุ ธิปญั ญานิยม โดยเฉพาะทฤษฎี ประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาท และในปัจจบุ นั ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivism) กาํ ลงั ไดร้ บั ความสนใจจากนกั การศกึ ษา อยา่ งกว้างขวาง แนวคิดพืน้ ฐานของ ทฤษฎนี ้ี คอื ความรู้ การออกแบบการสอนสามารถสง่ ผ่านไปสู่ผ้เู รียนได้ แตผ่ เู้ รียนตอ้ งสรา้ งความรู้ ขนึ้ ด้วยตนเองในบริบท ของสงั คม แม้ว่าการออกแบบการสอนมกี ารเชอื่ มโยงกับการรู้คดิ ในสมองมนษุ ย์ ห ของมนุษยไ์ ปจนกระทั่งพ้ืนฐาน จากพฤติกรรมนยิ ม อย่างไรกต็ าม อาจกล่าวได้วา่ ผลงาน vaguninnlulrênnganya usainnlulaanscou (Instructional Technologists) มีการยอมรับแนวคดิ ของกลุม่ พุทธปิ ัญญานิยม (Cognitivism) และ คอนสตรคั วสิ ” (Constructivism) ดังที่ปรากฏผลงานวจิ ัยในปัจจุบนั และเปน็ ส่วนหนึง่ ท่สี ําคญั ของการพัฒนาของ สาขาวชิ า (Newby. Stepich, Lehman and Russell, 2000) 13
ความเป็นมาเปน็ มาและพฒั นาการของส่อื การสอน (Instuctional Media Roots) สอ่ื การสอน (Instructional Media) และการออกแบบการสอน (Instructional Design) ละเบามาดว้ ยกนั มีส่วนท่ีแยกตวั เปน็ อิสระแตก่ ม็ ีสว่ นมาบรรจบกนั แมว้ า่ การใชข้ องจริง - sci ภาพ วาด (Drawing) และส่ืออ่นื ๆ นับเปน็ สว่ นหนึ่งของการสอน อย่างน้อยที่สุด เปน็ การนํามาซ่ึงความเจริญ กา้ วหน้าทางด้านประวตั ิศาสตร์ของการใชส้ อื่ การสอน เช่นเดียวกับ การออกแบบการสอนเป็นสิ่งท่ี ปรากฏชดั เจนในศตวรรษท่ี 20 ในอเมริกาเหนือ พบว่า พพิ ิธภัณฑ์เป็นสงิ่ ท่ีมคี วามสาํ คัญ ซึ่งมอี ทิ ธิพลของสื่อการสอน พิพธิ ภณั ฑ์มี ประวตั ิศาสตร์ของความร่วมมือกบั โรงเรยี น และมบี ทบาทในชุมชน ในปี ค.ศ.1905 พิพธิ ภณั ฑท์ างการ ศึกษา St. Louis กลายเปน็ พิพธิ ภัณฑ์แบบเปิดของโรงเรยี นในสหรฐั อเมรกิ า ซ่งึ ในปัจจุบนั เรยี กวา่ ศนู ย์ สอ่ื การศกึ ษา (Media Center) เป็นสถานทเ่ี กบ็ รวบรวมงานศิลปะ หนุ่ จําลอง แผนภมู ิ ของจรงิ และสือ่ วัสดุอ่ืนๆ ทไ่ี ดร้ วบรวมมาจากทวั่ โลก วัสดุเหล่าน้ีถกู นาํ มาไว้ ในโรงเรียน St. Louis ดว้ ยความคิดพ้ืนฐาน ทว่ี ่าเป็นการนาํ โลกมาสเู่ ด็ก ในทกุ ๆ สัปดาห์จะมีการ ขนสง่ สื่อการสอนมาใหโ้ รงเรยี น ในช่วงแรกจะส่งมา ทางรถม้า ตอ่ มาโดยทางรถบรรทกุ แคตตาลอก ของส่ือการสอนจะไดร้ ับการจัดไวใ้ นโปรแกรมการเรยี น การสอน และจัดหาให้ครผู สู้ อน ซึง่ สามารถ ส่ังจองสือ่ ต่างๆ ทต่ี ้องการได้ ในปี ค.ศ. 1943 พพิ ธิ ภัณฑ์ St. Louis ไดเ้ ปลย่ี นชื่อมาเปน็ ฝ่ายโสต ทศั นศึกษา (Division of Audio-Visual Education) 14
อาจทําสเตอรโิ อ การฉายสไลด์แบบ “Magic Lanter แมว้ ่าก่อนทีจ่ ะเรม่ิ ตน้ ศตวรรษที่ 20 ไดม้ คี วามสนใจอยา่ งกว้างขวางในสง่ิ ท่ีเรยี กวา่ การสอนโดยการใช้ ภาพ (Visual Instruction) หรอื จกั ษศกึ ษา (Visual Education) หลกั การสําคัญ ที่ซอ่ นอยู่ขา้ งใตค้ วาม เคล่อื นไหวน้คี ือ รปู ภาพ (Picture) ซ่ึงมีความใกลเ้ คียงกบั ของจริงมากกว่า กาพดู ดงั นัน้ การจัดการเรียน การสอนในโรงเรยี นซ่ึงเน้นการให้ข้อมูลทางภาษา คําพดู และรปู ภาพ จทาให้การเรยี นการสอนเรอื่ งราว ตา่ ง ๆ ถ่ายทอดไปสผู่ เู้ รยี นไดง้ า่ ยขึ้น โดยมเี ครอ่ื งฉายสไลด์ ฉายสไลด์แบบ “Magic Lantern” ซ่งึ เป็นเครือ่ งมอื ที่ใชแ้ สดงภาพ และไดร้ บั ความ ระกอบการบรรยาย และสามารถพบเห็นในโรงเรยี นท่ัวไป ก่อนเร่มิ ศตวรรษที่ 20 ในปี จดองค์กรทีเ่ รยี กว่า Visual Instruction Department ซึง่ จะรับผดิ ชอบ ใน อยสไลด์ไปยังโรงเรยี นต่างๆ ในปี ค.ศ. 1920 หน่วยงานในลักษณะ ดัง นมหาวิทยาลยั ตา่ งๆ เปน็ จํานวนมาก และเป็นที่มาของยุคเรม่ิ ต้น 4 “Audiovisual and Media Sci- ence Department” ค.ศ.1904 รัฐนิวยอรค์ ได้จดั องค์กรทีเ่ รยี กวา่ Visual Instru การเก็บรวบรวมและแจกจา่ ยสไลดไ์ ปยงั โรงเรีย กล่าวได้มีการจดั ตง้ั ข้ึนในมหาว” ท่ีต่อมากลายเป็น “Audiovisual 4 15
ฟลิ ม์ (Film) ได้เขา้ มาส่ชู ้ันเรยี นในชว่ งตน้ ของศตวรรษที่ 20 โทร Edison) ได้พัฒนาชดุ ฟิลม์ ทาง วิทยาศาสตร์ และประวัติศาสตร์สาํ หรับในโรง ได้นํามาใชใ้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ การแสดงผลงานการสรา้ ง ละคร และแค ภาพยนตร์ทางการศกึ ษาท่ีไดม้ กี ารตีพิมพใ์ นสหรฐั อเมริกาในปี ค.ศ.1910 และหลงั จาก นนั้ กไ็ ด้นาํ ไปใช้ ในระบบการสอนในโรงเรียนของรฐั บาล (Rochester, New York) และไดม้ กี ารพัฒนา อยา่ งตอ่ เนอื่ งใน ฐานะสื่อการศกึ ษามาตลอดศตวรรษ เช่นเดยี วกัน ไดม้ คี วามพยายามในการนาํ สือ่ ทางด้านเสียง (Audio) เขา้ มาเปน็ สือ่ การเรยี นการสอน (In- struction Media) ช่วงระหวา่ งปี ค.ศ.1920-1930 ไดม้ กี ารนําวทิ ยเุ ข้ามาทดลองใช้ และในปี ค.ศ. 1929 Cincinnati และได้มีการจดั ตั้งโมเดลที่คลา้ ยคลงึ กับความรว่ มมอื ดังกลา่ วในสถานที่อ่ืนๆ เพ่ือทจ่ี ะ สาธติ การใช้วิทยใุ นฐานะทเ่ี ป็นส่อื ทางการศึกษาท่มี ปี ระสิทธภิ าพ ในช่วงระหวา่ งสงครามโลกคร้ังที่ 2 ฟิล์มภาพยนตร์ทางการศึกษาและสื่ออ่นื ๆ กลาย เปน็ สว่ นหนึง่ ของ การฝึกอบรมที่ใชใ้ นสงคราม ในช่วงระหวา่ งสงครามรัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดผ้ ลิต ฟิลม์ สําหรับการฝึก อบรมมากกว่า 800 เร่อื ง ตลอดจนฟิลม์ สตริป และไดจ้ ดั ซอ้ื เครอื่ งฉายฟิล์ม สตริป 10,000 เครือ่ ง และ จา่ ยเงิน 100 ล้านดอลลา่ ร์ สาํ หรับฟลิ ์มที่ใชใ้ นการฝกึ อบรม การใช้สอ เหล่านี้ เป็นจํานวนมากส่งผลตอ่ สาขาวิชา และสนบั สนนุ ใหเ้ กิดแนวคิดทวี่ า่ สื่อเป็นสิง่ ที่มีประโยชน์ อยา่ งมหาศาลต่อการศกึ ษาและการ ฝึกอบรม ในปี ค.ศ. 1950 เปน็ ชว่ งยคุ การใช้ โทรทศั น์ทไี่ ด้รับการยอมรับวา่ เปน็ สื่อใหม่ของการศกึ ษา ได้จดั ตั้ง สถานีโทรทัศน์ทมี่ หาวิทยาลยั รัฐไอโอวา (Iowa) ในปี ค.ศ. 1950 และเกม อนื่ ๆ ในชว่ งปี คศ. 1952 Federal Communications Commission ไดจ้ ดั ตัง้ สถาน 242 ช่อง และเรียกว่า สถานโี ทรทศั น์การ ศึกษา (Educational Television Star ทําให้การใช้โทรทัศน์เพ่ือการศกึ ษาขยายตวั และแพร่หลาย ใน ปจั จบุ นั โทร08 อยใู่ นรปู ของ National Geographic Special Public Broadcasting Systems (P59 ปี ค.ศ. 1950 และไดม้ ีการจดั ตัง้ ในท่ี - Commission ได้จัดตัง้ สถานโี ทรทัศน์ 16
Vision Station) เปน็ ผลท่ชี ว่ ย “ปจุบันโทรทัศนก์ ารศกึ ษาจะ 9 System’s (PBS) ProgramNewsmag- azines และ Discovery Channel และ อ่นื ๆ ลักษณะทีพ่ บในโรงเรียน ได้แก่ Channel One ซงึ่ จะ เสนอขา่ วตา่ งๆ แม้ว่าโทรทัศนเ์ พือ่ การ เรยี นการสอนจะไม่ได้บรรลตุ ามเป้าหมายในห้อง เรยี น แตก่ ็ยังใช้ กันอยใู่ นการเรยี นการสอน วีดิทศั นไ์ ด้มีการพัฒนา และมอี ทิ ธิพลตอ่ การเรยี น ในโรงเรียน อยา่ งไรก็ตาม วดี ิทศั นใ์ นโรงเรยี น ปจั จุบันอาจรวมถึง VCR หรอื การศกึ ษาทางไกล ในช่วงระหวา่ งปี ค.ศ.1950 และ 1960 สาขาวิชาเกีย่ วกับสือ่ การศึกษาไดม้ ีการเปลี่ยน แปลงจากการเนน้ ส่ือทางดา้ นเคร่ืองมือ อปุ กรณ์ (Hardware) มาสบู่ ทบาทของสอ่ื ในการเรยี นรู้ การศึกษาอย่างเปน็ ระบบ ถกู นาํ มาใชใ้ นการสรา้ งวิธีการต่างๆ ทีจ่ ะทําใหค้ ุณลกั ษณะ (Atribute) หรอื ลักษณะ (Features) ของส่อื ตา่ ง ๆ ท่มี ีผลตอ่ การเรยี นรู้ (Learning) ทฤษฎตี ่างๆ หรือโมเดลการสอ่ื สาร (Model of Communica- tion) ได้มีการพัฒนาควบคูไ่ ปกับบทบาทของส่อื โมเดลเหลา่ นี้ชว่ ยทําให้ผ้เู ชย่ี วชาญดา้ นโสตทศั นศกึ ษา (Audio Visual Specialists) ได้พจิ ารณา ทกุ ๆ องค์ประกอบที่เกีย่ วขอ้ งกบั กระบวนการส่ือสารเพิม่ ขึน้ ด้วยเหตุผลดงั กลา่ ว การศกึ ษาทางด้านโสตทัศนศกึ ษา (Adiovisual Education) จึง ขยายแนวความ คิด (Concept) ทก่ี ว้างขวางเพมิ่ ขน้ึ กวา่ เดิม ทีม่ งุ่ เน้นเฉพาะด้านสอ่ื (Media) เทา่ นัน้ ประกอบกับการ ประสานร่วมกบั ศาสตรท์ างโสตทัศนศกึ ษา (Audiovisual Science) ทฤษฎี การส่ือสาร (Communica- tion Theories) ทฤษฎีการเรยี นรู้ (Learning Theories) และการออก แบบการสอน (Instructional Design) ได้เริ่มขนึ้ และเปน็ การเริ่มตน้ ของเทคโนโลยที างการสอน (Instructional Technology) จากผลของการใช้สอ่ื ต่างๆ ทเ่ี พม่ิ มากข้นึ ระหว่างชว่ งทศวรรษที่ 1970 และ 1980 สาขา วชิ านไ้ี ดม้ ี การเปล่ยี นแปลงและเติบโตมากข้นึ ดังนนั้ ผู้เชี่ยวชาญดา้ นส่อื กลายเปน็ ผูท้ มี่ คี วาม สาํ คญั เพ่มิ มากขน้ึ ใน ชมุ ชนโรงเรียน สื่อทม่ี ีรปู แบบใหม่ๆไดร้ ับความสนใจเพิ่มมากขึน้ และความ เคล่ือนไหวตา่ งๆ นํามาสูก่ าร เปลีย่ นแปลงศาสตรท์ างด้านโสตทัศนศึกษา การศกึ ษาทางดา้ นสอ่ื ซ่งึ เร่ิมประมาณปลายสงครามโลกคร้ัง ที่ 2 และดาํ เนนิ การตอ่ เนื่องมา สอ่ื กลายเปน็ ส่งิ ทถี่ ูกมองว่า ไม่สามารถเป็นส่วนทีแ่ ยกตัวออกมาอยา่ ง โดดเด่ยี วได้ แต่ว่าเปน็ ส่วนหนง่ึ ของกระบวนการ ทางเทคโนโลยีการศกึ ษา ซงึ่ กวา้ งขวางกว่าแนวคิดเดมิ เช่นเดยี วกับการออกแบบการสอนทพ่ี ฒั นา ไปเปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษาในสาขาวิชา และศาสตรท์ าง ด้านสอื่ ไดเ้ ตบิ โต 17
การเปลยี่ นแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา (The Changing Face of Education) แนวคิดดง้ั เดิมเกี่ยวกับการเรยี น และการสอน ถา้ ย้อนคดิ ถงึ หอ้ งเรียนแบบ เก่าโดยส่วนใหญจ่ ะมลี ักษณะ เปน็ ห้องท่ี ประกอบด้วยโต๊ะเรยี น เกา้ อี้ เรยี งเปน็ แถว จะพบว่าการเรียน การสอนจะมคี รยู นื อยหู่ นา้ ชัน้ เรยี น และ ถา่ ย ทอดเนอ้ื หา ในขณะทผี่ เู้ รยี นต้องน่ังฟงั ตาม ลกั ษณะการเรียนการสอนแบบเก่า แนวความคดิ นค้ี รผู ้สู อนจะเป็นผู้ท่ดี าํ เนนิ การ กํากบั ควบคมุ การ วางแผนการดําเนิน การและการประเมนิ ผล ซ่งึ น่าจะเป็นการสอนท่ผี เู้ รียนสามารถรับข้อมลู ไดไ้ ม่มากนัก ในบางครั้ง อาจเป็นการเรยี นโดยเน้นทกั ษะการจดจํา ทอ่ งจําอย่างเดยี วเท่านั้น (Rote Learning) แนวคิดใหม่เก่ียวกบั การเรยี นและการสอน ในปัจจุบนั กระแสการเปลย่ี นแปลงด้านตา่ งๆ เกิดขนึ้ อย่างรวดเรว็ ไมว่ ่าจะเป็นความ กา้ วหนา้ ทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ไ่ี ด้เขา้ มามอี ิทธิพลต่อการดาํ เนนิ ชีวิตของมนุษย์เรา อย่างมากและจะทวี ความสําคญั ยงิ่ ข้นึ การศกึ ษาจงึ ต้องเปน็ พลวตั ร นน่ั คอื ต้องปรับเปลย่ี นใหท้ นั และสอดคล้องกบั กระแส การเปล่ียนแปลงของชาตแิ ละสงั คมโลกอยูต่ ลอดเวลา ซง่ึ สภาพสังคม ทเี่ ปน็ อยูใ่ นทกุ วนั น้ี บคุ คลท่ีจะอยู่ รอดในสงั คมอยา่ งมีความสขุ จะตอ้ งเป็นผมู้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ของความเปน็ มนษุ ย์ทส่ี มบรู ณ์ ต้องร้จู กั คดิ รู้จกั ทาํ เปน็ ร้จู กั แก้ปญั หาได้ และปฏบิ ตั ใิ นวถิ ีทาง ที่ถูกต้องเหมาะสม จึงจาํ เป็นต้องให้การศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพ โดยจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ีใ่ ชเ้ ทคโน โลยแี ละสารสนเทศต่างๆ ให้เปน็ ประโยชน์ การจดั การศึกษาใน ทุก ๆ แหง่ จงึ ไม่ควรลมื เป้าหมาย อนั แทจ้ ริงของการศึกษา คือ การพัฒนาความเปน็ มนุษยใ์ นทุกๆ ด้าน ไม่ใช่เฉพาะในแง่ความรู้ และทกั ษะทางวิชาชีพเท่านนั้ แต่เราต้องจดั การศกึ ษาทีใ่ หท้ ง้ั ความรพู้ น้ื ฐานที่จะ เปน็ บันไดในการ ศกึ ษาวิชาอ่ืนๆ และความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกบั ความเปน็ มนุษย์ น่นั กค็ อื เราควรตอ้ งคาํ นงึ ถงึ การเตรียมมนุษย์ให้มคี ุณภาพอย่างรอบด้าน ใหค้ ิดเป็น แกป้ ญั หาเปน็ และสามารถศึกษาดว้ ย ตนเอง ได้ ดังพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 18
19
ทฤษฎีการเรยี นรูก้ ลุม่ พฤตกิ รรม (Behavioral Theories) ในการพฒั นาการออกแบบการจดั การเรียนรู้ และส่ือการเรยี นร้ใู ดๆ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และเออ้ื ต่อการ เรยี นร้นู น้ั สิ่งท่ีจะเปน็ พนื้ ฐานท่ีสําคัญท่นี กั ออกแบบควรมคี วามเข้าใจท่ีลกึ ซึ้ง และตระหนกั เก่ียวกบั หลกั การ ทฤษฎีทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานเก่ยี วกับวิธกี ารเรยี นรขู้ องมนษุ ย์ เปรียบดงั เช่น วศิ วกรทีป่ ระยกุ ต์หลักการพน้ื ฐานทางฟิสกิ ส์ และเคมี และทางดา้ นการแพทย์ทป่ี ระยกุ ต์ หลกั การพน้ื ฐานทางชีววิทยา แต่การเรียน การสอนเป็นการประยุกต์พนื้ ฐานหลกั การเกี่ยวกบั การเรียนรู้ ดังเชน่ ท่านตอ้ งการออกแบบซอร์ฟแวร์ ทางการศึกษา สงิ่ ทตี่ ้องตระหนักถงึ หลกั การ เกี่ยวกับการเรยี นรู้ ตลอดจนการประเมินผล และสะท้อน ผลของซอร์ฟแวรน์ ้ันวา่ เหมาะสม และ สง่ ผลตอ่ การเรียนร้เู พยี งใด อย่างไรก็ตามไมป่ รากฏขอ้ ตกลงทีเ่ ปน็ สากลเกยี่ วกบั วธิ กี ารท่ีการเรยี นรู้เกดิ ขึ้น วธิ ีการทนี่ ักจติ วิทยามมี มุ มองเก่ยี วกับหลักการเรยี นรู้ท่เี ปลี่ยนแปลงตลอด 20 ศตวรรษ ปจั จบุ ันนกั การศกึ ษาไดเ้ สนอโครงการ ซึง่ เปน็ หลกั การเฉพาะท่ีแข็งแกร่ง ในขณะทอ่ี กี ด้านหน่งึ เป็นวธิ ีการท่ีผสมผสาน ซง่ึ ประกอบจากทฤษฎี ต่างๆ ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรยี นรทู้ ่ีไดร้ ับความนิยมคือ ทฤษฎีพฤตกิ รรมนยิ ม (Be- haviorism) ดังตวั อยา่ งงาน สกนิ เนอร์ (B.E.Skinner 1938, 1969, 1974) ซ่งึ ผลงานดังกลา่ ว ยังคง ไง เปน็ การอธิบายเก่ียวกบั การเปล่ยี นแปลงของพฤติกรรมตา่ งๆ ของผูเ้ รยี นทกี่ ระ เหตุการณใ์ นสิ่งแวด ล้อมนัน้ ๆ ในชว่ ง ค.ศ. 1970 เปน็ ตน้ มา ได้มกี ารเปลีย่ นกระบวนทัศน์จากพร พุทธปิ ญั ญานิยม (Cogni- tivism) ซง่ึ มงุ่ เนน้ การอธิบายอยา่ งสมบรู ณล์ ึกซ้ึงเอง ของมนษุ ย์ท่รี วมถงึ สง่ิ ท่ีสร้างจากกระบวนการที่ไม่ สามารถสังเกตเหน็ ได้ ไดแ้ ก่ คอ แรงจงใจ (Motivation) อยา่ งไรกต็ าม นักการศกึ ษาไมท่ ัง้ หมดทล่ี ะทง้ิ หลักการ และหันมานยิ มหลกั การทางพทุ ธิปัญญานิยม แตผ่ ้ทู ยี่ งั ชื่นชอบพฤตกิ รรมนยิ ม ยังคงนิยมหลัก การดงั กล่าวตอ่ ไป และผู้ที่ตระหนักในคุณคา่ ของพทุ ธิปญั ถ พยายามทจี่ ะหาแนวคิด หลกั การใหม่ ๆ มา ทดแทน 20
ในชว่ งทศวรรษ 1980 เปน็ ต้นมา กระบวนทศั นใ์ หม่ทางการเรียนรู้ คอื คอนสตรัคติวติ (Constructiv- ism) ได้เขา้ มามีอิทธิพลต่อการศกึ ษา และการออกแบบการสอน (Instr Design) ซึง่ ปรัชญาของคอน สตรคั ตวิ ิสต์นัน้ ไมส่ อดคลอ้ งกับปรัชญาของ Objectivist Philoso โดยที่ปรัชญาดงั กล่าว เช่อื ว่า โลกเรา ดาํ เนินไปตามความจริง และกฎเกณฑ์ทไ่ี มเ่ ปล่ยี นแปลง และการเรียนรู้ที่แท้จริงควรจะประกอบด้วย ความสามารถในการทําความเขา้ ใจและประยุกต์ กฎเกณฑเ์ หล่านัน้ ไปส่กู ารทาํ งานในโลกแหง่ ชีวติ จรงิ ได้ แตค่ อนสตรัคติวสิ ตท์ ีส่ ดุ โตง่ มีความเชอื่ ว่าการรจู้ กั และแปลความหมายของส่ิงตา่ งๆ ในโลกของแตล่ ะ บุคคลนน้ั เกดิ จากการสรา้ งแนวคดิ ของตนเองเก่ยี วกับสิ่งทเ่ี ป็นวตั ถจุ ริง (Real World) ดงั นั้น นักการ ศึกษาทเี่ ชือ่ ในกระบวนทศั น์ เดมิ คือทง้ั พฤติกรรมนิยมและพทุ ธิปญั ญานยิ ม จะพยายามจัดการสอนโดย เปรียบผู้เรยี นเป็นถัง หรือภาชนะท่จี ะต้องเท หรอื เตมิ ความรู้ โดยครูผสู้ อน หนงั สือเรียน ตาํ รา ส่อื การ สอนต่าง ๆ แตใ่ น ทางตรงขา้ ม ตามแนวคดิ ของคอนสตรคั ตวิ ิสต์ ผเู้ รียนจะเป็นผู้สรา้ งความรู้ ผทู้ ท่ี าํ การ เรยี นรู้ โดย การสงั เกต ลงมอื กระทาํ และอธิบายความหมายโลกรอบ ๆ ตัวเขา จากกรณีท่ีมกี ารเปลย่ี นกระบวนทศั นจ์ ากพฤตกิ รรมนิยมมาสู่พุทธปิ ญั ญานยิ มท คอนสตรคั ตวิ ิสต์ ไมใ่ ช่ ทั้ง 2 กระบวนทศั นด์ งั กลา่ วจะถกู ละทิ้งมาสคู่ อนสตรคั ต “ ศึกษาสว่ นใหญ่จะผสม ผสาน หลักการต่างๆ ทัง้ 3 มาใชเ้ ป็นวิธกี ารใหม่ ดังนัน้ ผู้เขย ครูผูส้ อน นกั ออกแบบการสอน และผู้ท่ี เก่ยี วข้อง จําเปน็ ต้องศกึ ษาเกยี่ วกับหลักการของ การเรยี นร้ทู ้งั 3 ให้เกิดความเข้าใจอยา่ งลึกซึ้ง และสา มารถนํามาใชใ้ นการจดั ของผ้เู รียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม หรอื ในบางกรณีอาจเป็นการผสมผสานแนวคดิ ท่ี สอดคล้องกบั การจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย ต่อไปน้ี จะเป็นสว่ นของหลักการพืน้ ฐานของทฤษฎกี ารเรียนรู้ทง้ั 3 กระบวนทศั น์ ดังกลา่ ว ข้างต้น ใน บทที่ 3 ทฤษฎีพฤติกรรมนยิ มบทท่ี 4 ทฤษฎพี ุทธปิ ัญญานิยมและบทที่ 5 ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ ิสต์ ซงึ่ เปน็ รากฐานท่ีสําคญั ของการออกแบบการเรียนการสอน ในการทน่ี าํ ไปใช้ในการออกแบบเพื่อ ส่งเสรมิ การ เรียนร้ทู ่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ น่นั หมายถึง สง่ ผลตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รียน 21
ทฤษฎีการเรยี นรูก้ ลุ่มพฤตกิ รรม (Behavioral Theories) การเรยี นรู้ การเรียนรูต้ ามแนวคดิ กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนยิ ม หมายถึง การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม ซ่งึ เปน็ ผลอัน เน่ืองมาจากประสบการณ์ที่คนเรามปี ฏสิ ัมพันธก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม หรือจากการฝึกหดั งาน ท่ีสาํ คญั ของครู กค็ อื ช่วยนักเรียนแตล่ ะคนให้เกดิ การเรยี นรู้ โดยมคี รทู าํ หน้าที่จัดส่งิ แวดล้อมทาง การเรียนรใู้ หผ้ ูเ้ รียน เกดิ การเรียนรอู้ ย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้นั ความรเู้ กีย่ วกบั กระบวนการ เรียนร้ขู องผเู้ รยี นจึงเปน็ รากฐาน สําคญั ของการจดั การเรียนการสอนท่ีมปี ระสิทธิภาพ นักจติ วทิ ยาไดพ้ ยายามทําการวจิ ยั เก่ียวกับการเรียนรู้ของทัง้ สัตวแ์ ละมนษุ ย์ และได้ ค้นพบหลกั การท่ี ประยกุ ตเ์ พื่อจัดการเรยี นการสอนในโรงเรยี นได้ ทฤษฎขี องการเรยี นร้มู หี ลาย ทฤษฎี แต่จะขอนาํ มา กล่าวเพียงเฉพาะกลุม่ ทฤษฎีพฤติกรรม (Behavioral Theories) โดยจะม่งุ เน้นเฉพาะส่วนที่นํามา ประยุกต์ใชก้ ับงานทางดา้ นเทคโนโลยีการศึกษา กลุ่มพฤตกิ รรมนยิ ม (Behaviorism หรือ S-R Associationism) ซง่ึ จะเรียกนักจติ วิทยา ในกลมุ่ นี้ ว่า Behaviorist Environmentalist Associationist และได้ศึกษาเกี่ยวกบั ความสัมพันธ์ ระหวา่ งสิง่ เร้า (Stimulus) กบั การตอบสนอง (Response) หรือพฤตกิ รรมท่ีแสดงออกมา ซ่ึงจะให้ ความสนใจกับ พฤตกิ รรมทีส่ ามารถวดั และสงั เกตจากภายนอกได้ และเนน้ ความสําคญั ของ สิ่งแวดลอ้ มเพราะเชื่อวา่ สง่ิ แวดลอ้ มจะเปน็ ตวั ที่กาํ หนดพฤตกิ รรม ในแนวคิดของกลมุ่ พฤติกรรมนยิ มเช่ือว่า การเรยี นรจู้ ะเกดิ 22
จากการเช่ือมโยงระหวา่ งสิง่ เรา้ กับการตอบสนอง หรือการแสดงพฤติกรรมนิยม และถ้าหากไดร้ บั การ เสรมิ แรงจะทาํ ใหม้ กี ารแสดงพฤติกรรม น้นั มมี ากขนึ้ (สรุ างค,์ 2544 : พรรณี, 2545) ส่วนนักจติ วทิ ยา กลุ่มทฤษฎพี ทุ ธปิ ัญญานยิ ม เน้นความ สําคัญของผเู้ รยี น และศกึ ษาว่าเวลาทกี่ ารเรียนรู้เกดิ ขึน้ มกี าร เปลย่ี นแปลงอะไรบา้ งในตวั บุคคล ส่วนนกั จิตวทิ ยาการเรยี นรู้คอนสตรคั ตวิ สิ ตเ์ น้นการสร้างความรขู้ อง ผู้เรียน นกั จติ วิทยาในกลุ่มพฤตกิ รรมนิยมท่ีสาํ คญั และเป็นผทู้ ีผ่ ลงานมบี ทบ เทคโนโลยีการศกึ ษาในปจั จุบนั ไดแ้ ก่ Povloy, Watson, Thorndike และ Skin นยิ มมีพน้ื ฐานความคดิ (Assumption) ท่สี าํ คญั คอื 1) พฤตกิ รรม และสามารถสังเกตได้ 2) พฤตกิ รรมแต่ละชนิดเปน็ ผลรวมของการเรียนทเ่ี ปน็ Reinforcement) ช่วยทาํ ให้พฤตกิ รรมเกิดขน้ึ ได้ (สุรางค,์ 2544) 3) การเสรมิ แรง เอกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ 23
นกั จิตวทิ ยากล่มุ พฤตกิ รรมนิยมไดจ้ าํ แนกพฤตกิ รรมมนษุ ยอ์ อกเป็น 2 ประเภท 1) พฤตกิ รรมเรสปอนเดนส์ (Respondent Behavior) หมายถึง พฤติกรรมทเ่ี กิด มองกจ็ ะเกิดข้ึน ซ่ึงจะสามารถวดั และสงั เกตได้ และทฤษฎที นี่ าํ มสี ่ิงเร้าพฤตกิ รรมตอบสนองก็จะ เกิดขึน้ ซ่งึ จะสามารถวัดและสังเกตไ: ในอธบิ ายกระบวนการเรียนรูป้ ระเภทน้ีเรยี กวา่ ทฤษฎีการวาง เงื่อนไขแบบคลาสสคิ (Classical Conditioning Theory) 2) พฤตกิ รรมโอเปอรแ์ รนต์ (Operant Behavior) เป็นพฤติกรรมทบ่ี ุคคล ห กรรมตอบสนองออกมา (Emited) โดยปราศจากส่งิ เรา้ ทแี่ นน่ อน และพฤตกิ รรมนม้ี ีย แวดล้อม ทฤษฎี การเรียนรูท้ ี่ใชอ้ ธิบาย Operant Behavior เรยี กวา่ ทฤษฎกี ารวางเรอื่ ง แบบลงมือกระทาํ (Operant Conditioning Theory) ต่อไปนี้ จะเปน็ รายละเอยี ดของทฤษฎีการเรียนร้แู บบการวางเง่อื นไขแบบคลาสสิก (Classical Condi- tioning Theory) และทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบลงมือกระทาํ (Operant Conditioning Theory) 24
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้การวางเงอื่ นไขแบบคลาสสกิ (Classical Conditioning Theory) แนวคิดของพาฟลอฟ (Pavlov) นกั สรีรวิทยาชาวรสั เซียชอื่ พาฟลอฟ (Pavlov, 18491936) เปน็ นกั วิทยาศาสตร์ที่มชี ่อื เสยี งมากได้รบั รางวัลโนเบล (Nobel Prize) จากการวิจยั เร่ือง “สรีรวทิ ยาการย่อยอาหาร เมอื่ ปี ค.ศ.1904 ในการวิจยั เกย่ี วกับการย่อยอาหารของสนุ พาฟลอฟสงั เกตสนุ ขั มนี ้าํ ลายไหลออกมาเม่อื เหน็ ผู้ทดละ อาหารมาให้ พาฟลอฟสนใจในพฤติกรรมนํ้าลายไหลขอ กอ่ นไดร้ ับอาหารมาก จึงไดค้ ดิ ทาํ การศึกษาเรือ ระเบียบ และ ได้ทาํ การวิจยั เร่อื งนอ้ี ย่างละเอยี ดจากการ พาฟลอฟเป็นตวั อย่างท่ีดขี องการใชว้ ิธีการทางวิทยา 25
ทฤษฎีการเรียนรพู้ ฤตกิ รรมนยิ ม ศึกษาพฤติกรรม เพราะเป็นการทดลองท่ีมวี ธิ กี ารควบคุม (Control) อย่างดี นอกจากนยี้ งั เป็นการ ทดลองท่สี ามารถแสดงใหเ้ ห็นว่าการเรยี นรู้เปน็ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม โดยการทดลองท่ี ทําให้ สนัขน้ําลายไหลเมื่อไดย้ นิ เสยี งกระดิ่ง พาฟลอฟได้พบหลกั การเรียนรู้ ท่เี รียกว่า Classical Condition- ing ซง่ึ พาฟลอฟไดท้ าํ การทดลองอาจจะอธบิ าย ไดด้ งั ต่อไปนี้ 1) ส่ันกระดงิ่ กอ่ นทจ่ี ะนําอาหาร (ผงเน้อื ) ให้แกส่ ุนขั เวลาระหว่างการสั่นกระดิง่ และ ใหผ้ งเนอ้ื แกส่ นุ ัข จะตอ้ งเป็นเวลาที่กระชั้นชดิ มากประมาณ 25 ถงึ 50 วินาที 2) กระทาํ ซ้ําโดยสัน่ กระด่ิงกอ่ นและให้ผงเน้อื แกส่ ุนัขควบคู่กันหลายๆ คร้ัง 3) หยุดใหอ้ าหารเพียงแตส่ ่ันกระด่ิงอยา่ งเดียวเทา่ นัน้ ก็ปรากฏว่าสนุ ขั ก็ยังคงมี นำ�ํ้ ลายไหลได้ พาฟลอฟ ได้สรปุ ปรากฏการณท์ สี่ นุ ขั นา้ํ ลายไหลเพยี งแต่ได้ยนิ เสียงสนั่ กระดง่ิ อยา่ ง เดยี ววา่ สุนัขเกดิ การเรยี นรู้ (Conditioned หรือ Learned) เพราะสามารถเชอ่ื มโยงระหวา่ ง เสยี งสน่ั กระด่งิ กับการให้ อาหาร และมกี ารตอบสนองต่อการไดย้ ินเสียงกระด่งิ เช่นเดียวกับ การเหน็ อาหาร พาฟลอฟได้เรยี ก ปรากฏการณ์ดังกลา่ วว่า พฤติกรรมของสุนขั ไดถ้ ูกวางเง่ือนไข แบบคลาสสกิ และเรียกการเรียนรู้ ดงั กลา่ ววา่ “การวางเง่อื นไขแบบคลาสสิก” (Classical Conditioning) 26
สรุปแล้ว การตอบสนองท่ีต้องวางเง่อื นไข (Conditioned Response หรือ CR) เปน็ ผล จากการ เรียนรูแ้ บบวางเง่อื นไขแบบคลาสสกิ การวางเงื่อนไขเป็นการสรา้ งความสัมพันธ์ ระหว่าง ส่ิงเรา้ ที่ ตอ้ งวางเง่อื นไข (Conditioned Stimulus หรือ CS หรือเสียงกระด่งิ ) กับการสนองตอบท่ี ตอ้ งการ ให้เกดิ ขน้ึ (Conditioned Response หรอื CR หรือ นํ้ าลายไหล) โดยการนํา CS (เสยี งกระด่ิง) ควบค่กู บั สิ่งเรา้ ทไ่ี มต่ อ้ งวางเงอื่ นไข หรอื ผงเน้อื (Unconditioned Stimulus หรือ UCS) ซํ้ าๆ กนั หลกั สําคญั ก็คือจะต้องให้ CS หลัง UCS อยา่ งกระช้นั ชิด คอื เพยี งเสียววนิ าที (25 - 50 วนิ าท)ี และ จะตอ้ งทําซ้ําๆ กนั เพราะความตอ่ เนอ่ื งใกล้ชดิ (Contiguity) และความ (Frequency) ของสิ่งเรา้ เปน็ ส่งิ ท่มี ีความสําคญั ต่อการเรียนรู้ แบบการวางเงือ่ นไข แบบคลาสดา การทดลองของพาฟลอฟ เก่ียวกบั การวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิกเปน็ การทดลอง ทางวิทยาศาล อยา่ งละเอยี ด และการทดลองที่ แสดงให้เห็นว่า การเรยี นรู้ เปน็ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ จากเหตุผลท่วี ่าครงั้ แรกสนุ ขั ไม่มปี ฏกิ ริ ยิ าใดๆ ตอ่ เสียงกระด่ิงแตเ่ มือ่ เกิดการเรือ ถ้าได้ยนิ เสียงกระดิง่ จะได้อาหารหรือผงเน้อื คร้งั ต่อๆ มาสุนัขจะ มีปฏิกิริยาตอ่ เสียง คือ นํ้ าลายไหล น่ันคอื การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมหรือ เกิดการเรียนรู้น้ันเอง น” พาฟลอฟได้อธบิ ายรายละเอียดเกี่ยวกบั การวางเง่อื นไข แบบคลาสสกิ ดังมีรายละเอยี ด ดงั น้ี 1) ถ้าส่ันกระดงิ่ หลาย ๆ ครัง้ โดยไมใ่ หอ้ าหารปริมาณนํ้าลายทไี่ หลจะคอ่ ย ๆ ลดลง และ จะหายไปในท่ีสดุ 2) สนุ ขั จะมีการตอบสนอง (นํา้ ลายไหล) ต่อทุกเสียงท่คี ล้ายคลงึ กบั เสียงสน่ั กระด่งิ เชน่ เสยี งนกหวีด เรียกว่า เปน็ การเกิดการเรยี นรแู้ บบ Generalization 3) ทําการทดลองเพอื่ ใหส้ นุ ัขเรียนรู้เฉพาะสง่ิ ท่ตี ้องการตอบสนองเทา่ น้ัน โดยการให้ผง เน้ือทนั ทีเฉพาะ เสียงกระดิ่งเทา่ นั้น แตจ่ ะไมใ่ หผ้ งเนอ้ื ภายหลังเสียงอน่ื ๆ ท่ีคล้ายคลึงเสียงกระดิง่ ในท่สี ดุ สนุ ัขเรียนรู้และ นํา้ ลายไหลเฉพาะเสยี งกระดิ่ง เรียกว่า การเรียนรูแ้ บบ Discrimination นอกจากน้ี พาฟลอฟไดศ้ ึกษา หลกั การเกย่ี วกบั การเรยี นร้หู ลายประการ ซงึ่ เปน็ หลักการท่นี กั จิตวทิ ยายงั คงใช้อย่จู นถึงปัจจุบันน้ี 27
ตอ่ ไปน้ีจะนาํ เสนอตัวอย่างเก่ียวกับการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิก ได้แก่ พฤตกิ รรมของ นักเรยี นชั้น ประถมปีท่ี 6 ในช่วั โมงทนี่ ายแพทยม์ าแสดงปาฐกถาพเิ ศษ เรอื่ งสมอง ใชเ้ วลาปาฐกถา 2 ช่ัวโมง ระหวา่ ง 10.00-12.00 น. เมือ่ ปาฐกถาเสรจ็ แลว้ ขณะท่นี ายแพทยก์ ําลังจะลา กลบั เสียงกริง่ ดังข้ึน ซ่ึงบอกเวลาที่ นักเรยี นพกั กลางวันเพ่ือรบั ประทานอาหารกลางวนั นักเรียน ผหู้ น่ึงยกมอื และขอถามอีกคาํ ถามหนึ่งซึง่ เขาอยากทราบคําตอบมานานแลว้ นักเรียนถามวา่ “กอ่ นเสยี งกริ่งผมไมร่ สู้ ึกหิวขา้ วเลย พอได้ยนิ เสียง กรง่ิ รู้สึกหวิ ขา้ วขนึ้ มาทนั ที แทบวา่ อยากจะ วงิ่ ไปโรงอาหาร ทาํ ไมเปน็ อย่างน้ันครับ” นายแพทยใ์ ห้คํา ตอบ และอธบิ ายเหตุผล โดยหยิบยก การทดลองของพาฟลอฟเกย่ี วกับสุนขั นํา้ ลายไหลให้ฟงั ซึ่งนกั เรียน ฟังด้วยความสนใจมาก (สรุ างค,์ 2544) จากหลักการเรียนรแู้ บบ Classical Conditioning จะเห็นได้วา่ โดยส่วนใหญ่จะ เก่ยี วขอ้ งกับเหตุการณ์ ในชวี ติ ประจาํ วัน ซ่งึ ส่วนใหญจ่ ะเปน็ เรือ่ งทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั อารมณค์ วามรู้สึก ไดแ้ ก่ ความกลัว เช่น กลวั น้ํา กลัวความสงู กลวั สุนัข ท้งั น้ีอาจเนื่องมาจากเคยมีประสบการณ์ ท่ีไมด่ เี ก่ียวกบั เร่ืองน้นั ๆ มาก่อน แมว้ ่ามาเจอกบั สถานการณใ์ หมแ่ ตก่ ็ยงั เชือ่ มโยงกบั ประสบการณเ์ ดิม คนท่กี ลัวนา้ํ อาจสืบเนอื่ งมาจาก ประสบการณ์เดมิ ที่เคยจมน้ําเกอื บตายมาก่อน และจะฝังใจกบั ความรสู้ กึ กลัวจมนํา้ ตายตลอดมาจนโตก็ กลัวจมน้าํ ไม่กลา้ เล่น 28
ทฤษฎีการเรียนรกู้ ารวางเง่ือนไขแบบลงมือกระทํา (Operant Conditioning Theory) แนวคิดของธอรน์ ไดค์ (Thorndike) ธอรน์ ไดค์ (Thorndike: 1814-1949) เปน็ ผทู้ ไ่ี ดช้ ่อื ว่า เป็น บดิ าแหง่ จิตวทิ ยาการศกึ ษา และเป็นผู้ทคี่ ิด ทฤษฎี Connectionism ท่เี ชอื่ วา่ การเรียนรูจ้ ะเกดิ ขึ้นได้จากการเช่อื มโยงระหว่าง สิ่งเร้ากบั การตอบ สนอง ท่ีเรียกว่า S-R Model อกี ทง้ั ใหค้ วามสาํ คญั ต่อการใหก้ ารเสริมแรง (Reinforcement) ทีจ่ ะทํา ให้เกิดการเช่อื มโยง และการตอบสนองเพ่มิ ขึ้น อาจกล่าวไดว้ ่า ส่ิงเรา้ ใดท่ีทําใหเ้ กิดการตอบสนองและ การตอบสนองนน้ั ไดร้ บั การ เสริมแรง จะทําใหเ้ กิดการเชอื่ มโยงระหวา่ งสิ่งเรา้ กบั การตอบสนอง น้นั เพ่ิม มากขึ้น โดยเน้นการใหร้ างวลั มากกวา่ ลงโทษ ซึง่ ธอร์นไดค์ ไดท้ าํ การทดลองดังตอ่ ไปนี้ ธอรน์ ไดค์ไดจ้ บั แมวทก่ี าํ ลังหวิ ใสไ่ ว้ในกลอ่ งปัญหาที่มีสลกั ปดิ ไว้ และนาํ จานใสอ่ าหาร วางไวน้ อกกรง แมวจะได้กินอาหารถ้าสามารถถอดสลกั ประตูออกมาได้ ในการทดลองแมว จะเดนิ ไปเดนิ มาในกล่อง และพยายามหาทางออกมาข้างนอกเพอ่ื กินอาหารในจานท่ีวางอยู่ ในขณะน้ันแมวก็บังเอิญไปจับถกู สลัก และสามารถเปดิ ประตอู อกมากินอาหารได้ และจากการ สงั เกตครง้ั ตอ่ ๆ มาแมวใชเ้ วลานอ้ ยลงในการหา ทางออกมากนิ อาหาร ซ่งึ ธอร์นไดค์เรยี กการ เรียนรู้ของแมววา่ เป็นการเรยี นรแู้ บบลองผดิ ลองถกู (Trial and Error) ไมใ่ ช่ การใชส้ ตปิ ัญญาใน การแก้ปัญหา จากการทดลองน้ีเขาได้ตั้งเป็นกฏแหง่ การเรยี นรู้ ที่ เรยี กวา่ กฎแห่งผล (Law of Effect) และนอกจากนี้ได้มกี ารสรุปเป็นกฎแหง่ การเรียนรูอ้ ่นื ๆ 29
คอร์นไดคเ์ ชอื่ ว่าจะสามารถคน้ พบรูปแบบการ 2 เกิดการเรยี นรู้ และจะใช้รูปแบบน้ัน เช่อื วา่ การเรยี นรู้เกดิ จากการเช่ือมโยงระหว่างสิ่ง โดยจะมกี ารลองผิดลองถูก (Trial and Error))ไปเรอ่ื ยๆ จนกวา่ จะสามารถคน้ พอ ตอบสนองทใ่ี ห้ผลทท่ี ําให้เกดิ ความพึงพอใจท่สี ดุ ซ่ึงเรยี กวา่ เกดิ การเรียน ตอบ สนองตอ่ ไป ซึง่ ธอรน์ ไดค์ไดส้ รปุ เปน็ กฎแหง่ การเรยี นรู้ ไวด้ ังน้ี 1. กฎแห่งผล (Law of Effect) ส่ิงเรา้ ใดทม่ี ีการกระต้น ผเู้ รียนได้รับผลทนี่ า่ พงึ พอใจจากการกระทาํ น้ัน แล้ว จะเป็นผลทีท่ ําให้กระท�ำ พฤติกรรมนนั้ ซ้ำ�ๆ หรือตอ้ งการท่ีจะเรียนรสู้ ่งิ น้นั ตอ่ ไป แต่ถ้าไมไ่ ดร้ บั ผลท่ี นา่ พงึ พอใจ จะแตง่ ดว้ ใดท่มี ีการกระตุ้นใหม้ ีการตอบสนองแล้ว ทาํ ให้ ทาํ น้ันแลว้ จะเป็นผลทที่ ําให้กระ ทําพฤตกิ รรมน้นั ซาํ้ ๆ อกี แตถ่ ้าไม่ได้รับผลทน่ี า่ พึงพอใจ จะทาํ ให้เลิกทาํ พฤตกิ รรมน้นั ไดค์ อธบิ ายว่า การแสดงพฤติกรรมเป็น ลกั ษณะของการลองผดิ ลองถกู โดยการกดนน่ั ดึงนีม่ าหลายครง้ั เพ่อื หาทางออก ดังการทดลองข้างตน้ จนแมวพบสลกั โดยบังเอกิ คอื สิง่ เร้า (S) และดงึ สลกั ออก คอื การตอบสนอง (R) และสามารถออกจาก กลอ่ งเพอ่ื มากินอาหารได้ ทาํ ให้แมวไดร้ บั ความพึงพอใจจากการทาํ พฤติกรรมทส่ี ามารถเปิดสลกั ออกมา ภายนอกและได้กนิ อาหาร (Reinforce) จะทําใหเ้ กดิ การเชือ่ มโยงระหวา่ งสงิ่ เร้ากับการตอบ สนอง (S-R) คู่นี้อย่างแน่นแฟ้น ได้แก่ การเห็นสลกั และการดึงสลกั นน่ั คือ แมวจะกระทาํ พฤตกิ รรมนีซ้ ้ําๆ เพราะได้ รับความพงึ พอใจ ในทางตรงข้ามถ้าไมไ่ ดร้ ับความพงึ พอใจ ดังเชน่ พอแมวเหน็ สลกั (S) และดงึ สลัก (R) และออกมานอกกรงได้แทนทจี่ ะไดก้ ินอาหารกลับโดนติ • แมวจะค่อยๆ เลกิ พฤติกรรมท่ีเหน็ สลักแลว้ ดงึ เพราะผลจากการกระทําดังกลา่ วจะทาํ ใหแ้ มวโดนซ่งึ ทําใหแ้ มวไมไ่ ดร้ ับความพึงพอใจ (พรรณี,2545) 2. กฏแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรยี นรจู้ ะเกิดขนึ้ ความพรอ้ มท้ังทางรา่ งกายและ จติ ใจ 3. กฏแห่งการฝึกหดั (Law of Exercise) การฝึกหดั หรอื กระท�ำ บ่อยๆ จะทำ�ใหก้ ารเรยี นรนู้ นั้ คงทน ถาวร แต่ในทางตรงขา้ มถา้ ไม่ได้กระทําซ้าํ ๆ บอ่ ยๆ การเรียนรู้น้นั อาจไมค่ งทนถาวรและในที่สดุ อาจลมื ได้ 4. กฏแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse) การเรยี นรูจากการเช่ือมโยง ระหวา่ งสงิ่ เรา้ กับการตอบ สนอง ถา้ ไดม้ กี ารน�ำ ไปใชบ้ ่อยๆ การเรยี นรูน้ ้นั จะมวั คามคงทนถาวร หากไม่มีการนำ�ไปใช้บ่อยๆอาจจจะ เกิดการลมื ขน้ึ ได้ 30
31
ทฤษฎีการเรยี นรู้กล่มุ พทุ ธิปัญญา (Cognitive Theories) บทนํา นกั จติ วิทยากลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) เช่อื วา่ การเรยี นรเู้ ป็นส่ิงทีม่ ากกว่าผล ของการเชื่อมโยง ระหวา่ งสง่ิ เรา้ การตอบสนอง โดยใหค้ วามสนใจในกระบวนการภายในที่เรยี กวา่ ความรู้ความเข้าใจ หรอื การรคู้ ดิ ของมนุษย์ โดยเชื่อวา่ การเรยี นรจู้ ะอธิบายไดด้ ีท่ีสุด หากเรา สามารถเขา้ ใจกระบวนการภายใน ซง่ึ เป็นตัวกลางระหวา่ งส่งิ เร้าและการตอบสนอง การเรียนรู้ ตามแนวคิดของน้ี มีรากฐานอยูบ่ นแนวคดิ นักจิตวิทยากลมุ่ เกสตัลท์ ซ่งึ แนวคดิ พื้นฐานของกล่มุ เกสตัลทพ์ ่งุ ไปที่เร่ืองการรับรู้ โดยเหน็ ว่าการรับรู้ เปน็ กระบวนการของการเรียบเรียงประสบการณ์ และข้อสารสนเทศและจัดใหเ้ ป็นรปู รา่ งและโครงสร้าง ทม่ี คี วามหมาย แลว้ จึงแสดงอาการ ตอบสนอง ซ่ึงการตอบสนองใหม่ท่เี กดิ ข้นึ ก็คือการเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมทไี่ ดจ้ ากการเรยี นรู้ (กุญชร,ี 2540) นักจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ ไดศ้ ึกษาวิจยั เก่ียวกับการ ส่วนมากมนุษย์เราจะรับรู้ใน ลกั ษณะอัตวิสัย (Subjective) และ ความสมั พันธ์ของสว่ นยอ่ ย และส่วนรวม และไดอ้ ธิบายความ สัมพันธข์ อ สว่ นรวมมากกว่าผลรวมของส่วนย่อย (สรุ างค์, 2544) นักจิตวทิ ย วา่ เปน็ ผนู้ าํ เกยี่ วกับการ ศกึ ษาวิจยั ทางดา้ นพทุ ธปิ ัญญา คือ แวรไ์ ทมเมอร์ ลกู ศษิ ยโ์ คทเ์ ลอร์ (Kohler) และคอฟคา (Koffka) ที่ เนน้ เก่ียวกบั การคดิ และและการแกป้ ญั หา การเรยี นรูต้ ามแนวพุทธิปญั ญา หมายถึง การเปล่ียนแปลงความรขู้ อง -ด้านคุณภาพ คอื นอกจากผเู้ รยี นจะมสี ่งิ ท่เี รียนรเู้ พมิ่ ขึน้ แลว้ ยงั สามารถจดั ปริมาณและดา้ เรยี บเรยี ง สง่ิ ทีเ่ รยี นรู้เหลา่ นน้ั ให้เปน็ ระเบยี บ เพอ่ื ใหส้ ามารถเรียกกลับมาใชไ้ ดต้ ามที่ตัง้ สามารถถ่ายโยงความรแู้ ละ ทกั ษะเดิม หรอื สงิ่ ทเี่ รียนรูม้ าแลว้ ไปสบู่ ริบทและปญั หาใหม่ (Mayer,1992) 32
กล่มุ พทุ ธปิ ัญญานยิ ม (Cognitivism) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 นักทฤษฎีการเรียนรเู้ ริม่ ตระหนกั วา่ การทีจ่ ะเขา้ ถึงการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ ง สมบูรณน์ ้ัน จะตอ้ งผ่านการพิจารณา ไตรต่ รอง การคิด (Thinking) เช่นเดียวกบั พฤติกรรม และควร เรมิ่ สรา้ งแนวคิด เกีย่ วกบั การเรียนรู้ ในทรรศนะของการเปล่ียนแปลงกระบวนการรคู้ ดิ (Mental Change) ที่เกดิ ข้นึ ภายในของผ้เู รียนมากกว่าการเปล่ยี นแปลงทางพฤติกรรมทสี่ ามารถวดั และสิ่ง เกตได้เท่านั้น ดังน้นั จึงมี การเปลย่ี นกระบวนทศั น์จากความสนใจเกี่ยวกบั สง่ิ เรา้ กบั การตอบสนอง กลุ่มพุทธิปญั ญา ใหค้ วามสนใจเกย่ี วกับกระบวนการคิด การใหเ้ หตผุ ลของผู้ แตกต่างจากทฤษฎกี ารเรียน รูข้ องกลมุ่ พฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism) ท่ีมงุ่ เนน้ พๆ” ไดเ้ ท่านน้ั โดยมิไดส้ นใจกบั กระบวนการร้คู ิด หรอื กจิ กรรมทางสตปิ ัญญาของ Activities) ซ่ึงเปน็ สง่ิ ทีน่ ักจิตวทิ ยากลุ่มพุทธปิ ญั ญาตระหนักถึงความจ กระบวนการดงั กลา่ ว ซ่ึงเป็นสิง่ ท่ไี ม่สามารถสังเกตได้ โดยใช้กระบบ อาจกล่าวได้ว่าทฤษฎีกลุม่ พุทธพิ ุทธิปญั ญา (Cognitive Theories)เปน็ การใหค้ วามส�ำ คญั กับการศกึ ษา เกย่ี วกบั “ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งเรา้ ภายนอก สง่ ผา่ นโดยละ ความร้คู วามเข้าใจ หรือกระบวนการรูค้ ิด (Cognitive Proce ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั กระบวนการรู้การคดิ (Cognitive Process) ทีช่ ว่ ยส่งเสรมิ การเรียนรู้ ขอบเขตที่เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการรู้การคดิ (Cognitive Theories)Process) ได้แก่ ความใสใ่ จ (Attending) การรับรู้ (Perception) การจําได้ (Remembering) การคดิ อยา่ งมเี หตุผล (Reasoning) จนิ ตนาการหรอื การวาดภาพในใจ (Imagining) การคาดการณล์ ่วงหนา้ หรือการมแี ผน การณ์รองรบั (Anticipating) การตัดสินใจ (Decision) การแกป้ ญั หา (Problem Solving) การจดั กล่มุ ส่งิ ต่างๆ (Classifying) การแปลความหมาย (Interpreting) ทฤษฎีทางดา้ นพฤตกิ รรมนยิ ม (Behavioral Theories) ยอมรบั ว่า การเรยี นรูเ้ ก่ียวข้อง กับการสร้าง ความเชอื่ มโยงระหวา่ งส่ิงเร้ากับการตอบสนองอยา่ งต่อเนอื่ ง และการกระทําซาํ้ ๆ และ ไดใ้ ห้ความรเู้ ก่ียว กับความสาํ คัญของการเสรมิ แรง ในขณะเดยี วกนั ก็เน้นบทบาทในการให้ผล ยอ้ นกลบั เก่ียวกับความถูก ตอ้ งของการตอบสนอง นอกเหนือจากบทบาทของการเสรมิ แรงแลว้ ยงั เนน้ การให้การเสรมิ แรง เม่ือยอมรับแนวความคิดดังกลา่ ว ของพฤติกรรมนิยมจะเห็นแนวคดิ ที่แตกต่าง ของทฤษฎพี ุทธิปัญญานิยมซงึ่ มีแนวคิดเกย่ี วกับการ เรยี นรู้ (Learning) วา่ เปน็ การได้มา (Acquisition) หรอื การจัดระเบียบ หรือหมวดหมู่ใหม่ (Reorganization) ของโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive Structures) โดย ผ่านกระบวนการประมวลผลของขอ้ มูล และการเกบ็ รกั ษาข้อมูล (Good and Bro- phy,1990) และทางดา้ น จติ วทิ ยา ดา้ นพุทธิปญั ญา (Cognitive Psychology) ภาพท่ี 4-1 การประมวลผลและ บคุ คลทม่ี ี บทบาท คนหน่งึ คอื Jean Piaget ซ่ึงช่วงแรก การเก็บรกั ษาขอ้ มลู แนวคดิ ของ Piagetยงั ไม่มผี ลกระทบต่ออเมริก าเหนือ จนกระทง่ั 1960 หลงั จาก Miller และ Bruner ไดต้ งั้ Harward Center for Cognitive Studies 33
ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยมนี้ จาํ แนกย่อยออกเป็นหลายทฤษฎีเช่นกนั แต่ ทฤษฎีซ่งึ เป็นท่ี ยอมรบั กนั มากในระหว่างนกั จติ วิทยาการเรยี นรู้ และนํามาประยกุ ตใ์ ชก้ นั มาก สถานการณ์การ ทฤษฎีการเรยี นรู้โดยการคน้ พบของบรูเนอร์ เจอรโ์ รม บรเู นอร์ (Jerome Bruner) เปน็ นกั จติ วิทยาแนวพทุ ธปิ ัญญา ท่ีเนน้ พฒั นาการเกย่ี วกับ ความ สามารถในการรบั รแู้ ละความเข้าใจของผเู้ รียน ประกอบกบั การจัดโครงสร้างของเน้อื หาทจี่ ะเรียนรู้ ให้ สอดคล้องกัน และไดเ้ สนอทฤษฎกี ารสอน (Theory of Instruction) โดยนําหลักการพฒั นาทางสติปญั ญาของ ภาพท่ี 4-10 เจอรโ์ รม บรูเนอร์ เพียเจต์ (Piaget) มาเปน็ พื้นฐานในการพัฒนา บรเู นอร์ ได้ เสนอว่า ในการจดั การศึกษาควรคํานึงถึงการเชอื่ มโยง ทฤษฎพี ฒั นาการกบั ทฤษฎีความรู้ กบั ทฤษฎีการ สอน เพราะการจดั เน้ือหาและวธิ ีการสอนจะต้อง คํานงึ ถงึ พัฒนาการและปรับเนือ้ หาให้สอดคลอ้ งกับ ความสามารถในการคดิ หรือการรบั รู้ การใช้ ภาษาที่เหมาะสม รวมถงึ การเลอื กใชว้ ธิ กี ารทเ่ี หมาะสมกบั วยั ของผู้เรยี น บรเู นอรเ์ ช่ือว่า ครู สามารถชว่ ยพัฒนาให้ผู้เรยี นเกิดความพรอ้ มได้โดยไมต่ อ้ งรอเวลา ดังท่ี บรเู นอรก์ ลา่ วไว้วา่ “วชิ าใดๆก็ตาม สามารถที่จะสอนให้เดก็ ในทุกช่วงพัฒนาการใหเ้ กดิ การเรียนรอู้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพได้ โดยใช้วิธีการท่เี หมาะสม” ซง่ึ แนวคิดดงั กล่าวบรเู นอรไ์ ด้เสนอวา่ การจัดการเรียน การ สอนควรมกี ารจดั เนอ้ื หาวิชาที่มีความสัมพันธ์ตอ่ เนื่องกันไปเรื่อยๆ มคี วามลึกซงึ่ ซบั ซอ้ น และกวา้ งขวาง ออกไปตามประสบการณ์ของผเู้ รยี น เนื้อหาในเร่ืองเดียวกันอาจสามารถเรยี น ต้งั แตร่ ะดบั ประถมจนถึง มหาวิทยาลัย เรยี กว่า Spiral Curriculum ) ความเขา้ ใจจะควบคไู่ ปกบั ภาษา วิธีการเรียนรูใ้ นขนั้ น้เี รยี กว่า Symbolic Mode ซงึ่ ผู้เรียน จะใช้ในการ เรียนได้เม่ือมี ความ สามารถทจี่ ะเขา้ ใจในสิ่งท่ีเปน็ นามธรรม หรือความคดิ รวบยอด ท่ีซับซอ้ น แนวคดิ เก่ยี วกับการเรียนรโู้ ดยการคน้ พบของบรเู นอร์ (Jerrome Bruner) บรูเนอร์ เชอื่ ว่า การเรียนรจู้ ะ เกิดขน้ึ เมือ่ ผู้เรยี น เกิดขนึ้ ตลอดชีวติ มใิ ช่เกดิ ขน้ึ ช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านนั้ บรเู นอร์เห็นด้วยกบั Piaget ทว่ี า่ มนุษยเ์ รา มโี ครงสร้างทางสตปิ ัญญา (Cognitive Structure) มา ตั้งแต่เกดิ ในวยั เด็ก โครงสร้างทางสติปญั ญาอาจ ยงั ไม่ซับซ้อน เมือ่ มีปฏิสมั พันธก์ ับสิ่งแวดล้อม เพ่ิมมากขึ้นจะสง่ ผลให้โครงสรา้ งทางปัญญา ขยาย และซับ ซอ้ นเพ่ิมขึ้น หน้าที่ของครู คือ การจัดสภาพสงิ่ แวดลอ้ มทีช่ ่วยเออ้ื ตอ่ การขยายโครงสรา้ งทางปญั ญาของ ผู้เรยี น 34
Symbolic Representation การแกป้ ัญหา) เรยี กว่า การเรียนรู้โดยการคน้ พบ (Discovery Approach) ผู้เรียนจะประมวลขอ้ มลู สารสนเทศจากการมีปฏิสมั พันธก์ ับส่งิ แวดลอ้ ม และ จะรับรู้สงิ่ ท่ีตนเอง เลือก หรอื ส่ิงที่ใส่ใจ การเรียนรูแ้ บบน้ี จะชว่ ยให้เกิดการค้นพบเน่ืองจากผเู้ รยี นมคี วามอยากรู้ อยากเห็น ซง่ึ จะ เป็นแรงผลกั ดันทท่ี าํ ให้สาํ รวจสิ่งแวดล้อม และทาํ ใหเ้ กิดการเรยี นรโู้ ดยการค้นพบ โดยมีแนวคิดการเรียน ร้โู ดยการคน้ พบ ท่เี ป็นพน้ื ฐาน ดงั น้ี 1. การเรยี นรูเ้ ป็นกระบวนการท่ผี ้เู รียนมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กับสิ่งแวดลอ้ มดว้ ยตนเอง 2. ผ้เู รียนแต่ละคนจะมี ประสบการณแ์ ละพ้ืนฐานความร้ทู แี่ ตกต่างกนั 3. การเรียนรจู้ ะเกดิ จากการทผี่ ู้เรียนสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่งิ ทพ่ี บใหมก่ บั ความรู้ เดิม แล้วนาํ มาส รา้ งเป็นความหมายใหม่ จากแนวคิดของ บรเู นอร์ ดงั กลา่ วขา้ งต้น สามารถสรปุ ไดว้ า่ มนษุ ย์ทกุ คนมพี ฒั นาการ ทางความรู้ความ เขา้ ใจ หรือการรคู้ ดิ โดยผ่านกระบวนการทเี่ รียกว่า Acting, Imagine และ Symbolizing ซ่ึงอยใู่ นขั้น พฒั นาการทางปัญญาคือ Enactive, Iconic และ Symbolic Representation ซง่ึ เป็นกระบวนการที่ โดยผ่านกระบวนการท่เี รยี กวา่ Acting, Imagine และ Symbolizing ซง่ึ อยใู่ นข้ันพฒั นาการทางปัญญา คือ Enactive, Iconic และ Symbolic Representation ซง่ึ เป็นกระบวนการที่เกดิ ขึ้นตลอดชวี ติ มใิ ช่ เกดิ ขนึ้ ช่วงใดช่วงหนง่ึ ของชีวติ เทา่ นน้ั บรเู นอร์เหน็ ดว้ ยกบั Piaget ทีว่ ่ามนษุ ย์เรามโี ครงสร้างทางสติ ปญั ญา (Cognitive Structure) มา ต้ังแตเ่ กิดในวัยเดก็ โครงสร้างทางสติปญั ญาอาจยังไม่ซบั ซอ้ น เมอ่ื มี ปฏิสมั พันธ์กับสง่ิ แวดล้อม เพ่ิมมากขนึ้ จะส่งผลให้โครงสร้างทางปัญญา ขยาย และซับซ้อนเพ่ิมขน้ึ หนา้ ท่ี ของครู คือ การจดั สภาพส่ิงแวดลอ้ มที่ชว่ ยเออื้ ตอ่ การขยายโครงสรา้ งทางปญั ญาของผเู้ รียน 35
36
ออกแบบการสอน (Instructional Design) บทนํา การออกแบบการสอน เปน็ สาขาหนึ่งซึง่ เฉพาะเจาะจงในเร่ืองท่ีเกี่ยวกบั การสอนเพ่อื ใหบ้ รรลุถึงผล สัมฤทธ์ทิ ่ีต้องการในการเรียนการสอน กระบวนการในการออกแบบเป็นสิ่งที่ สาํ คญั ท่ีสดุ ของการเรยี น การสอน เพือ่ แสดงให้เหน็ ถงึ การเปลีย่ นแปลงเกีย่ วกบั ความรู้ หลักสูตร และทักษะใหเ้ หมาะสมกับเน้อื หา และผู้เรียน การออกแบบการสอนอาจจะเป็นระบบทม่ี ขี ้ันตอน ซง่ึ แล้วแต่แบบจาํ ลองการสอน (Instruc- tional Model) แต่ละแบบหรอื แล้วแต่ผู้สอนหรอื นกั ออกแบบ การสอนจะนาํ มาประยุกต์ใช้ ความหมายของการออกแบบการสอน (Instructional Design) การออกแบบการสอน (Instructional Design) อาจมีความหมายท่แี ตกต่างกันไป ดังนี้ (http://www.coe.uh.edu/courses/cuin6373/whatisid.html) 37
ระบบการสอน • การออกแบบการสอนเปน็ ระบบของกระบวนพัฒนาระบบการ การพัฒนาระบบการเรียนการสอน เป็นกระบวนการในการนาระบบไปใช้ หรี การออกแบบการสอนเป็นการนาํ วธิ รี ะบบมาใช้ในการวิเคราะห์ องการเรียนรู้ และการวางแผน กระบวนการสอนและการเรยี นรู้ • การออกแบบการสอนเปน็ กระบวนการ (Instructional Desic )การออกแบบการสอนเปน็ การ พัฒนาด้านการเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบ การเรยี นรแู้ ละการสอนมาใช้เพือ่ ประกันเก่ียวกบั คุณภาพ ดา้ นการเรยี นการสอน ทงั้ หมดของการวเิ คราะห์ความต้องการของการเรยี น เป้าหมายของการเรยี นรู้ ระบบการถ่ายทอด เพือ่ ให้ตอบสนองความต้องการดงั กล่าว การออกแบบการ การพัฒนาเกย่ี วกับสื่อการ เรยี นการสอนตลอดจนกจิ กรรมการเรยี นการสอนก การประเมนิ ผลทงั้ ดา้ นการสอนและเก่ียวกับผ้เู รียน ดว้ ย • การออกแบบการสอนเปน็ สาขาวิชาหน่ึง (Instructional Design as) การออกแบบการสอนเป็น สาขาความรู้ทเ่ี ก่ียวข้องกับการวิจัยและทฤษฎที ่เี กย่ี วกบั กล จดั การเรียนการสอนและกระบวนการ สําห รบั การพัฒนาและการนํากลยุทธ์เหล่านั้นไปะ • การออกแบบการสอนเปน็ ศาสตร์แขนงหน่ึง (Instructional Design as a Science) การ ออกแบบการสอน เป็นศาสตร์ในการสรา้ งที่เฉพาะเจาะจงสาํ หรบั การพฒั นา การนาํ ไปใช้ การ ประเมนิ ผล และการจดั สภาพการณท์ ี่ชว่ ยสนบั สนุนการเรียนรู้ท้งั ในหนว่ ยย่อยและหนว่ ยใหญ่ ของ เนื้อหาวิชาทีม่ รี ะดับความซับซอ้ นแตกต่างกนั • การออกแบบการสอนเปน็ เรือ่ งของความเป็นจรงิ (Instructional Design as a Reality) การ ออกแบบการสอนสามารถทจ่ี ะเร่ิมต้นไดใ้ นทุกจุดของกระบวนการออกแบบที่อาจนําไปสู่ การ สรา้ งสรรค์ และการพัฒนาให้ถึงแกน่ ของสถานการณก์ ารสอน (Instruction Situation) กระบวนการ ทง้ั หมด ของออกแบบจะชว่ ยให้ผูอ้ อกแบบสามารถย้อนกลับไปตรวจสอบถงึ องคป์ ระกอบทงั้ หมด โดยอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และบนั ทกึ การดาํ เนนิ การอย่างเป็นระบบเพือ่ นาํ ไปสู่การสร้างสรรค์ และการพฒั นาใหถ้ ึงแกน่ ของสถานการณก์ ารสอน(Instruction Situation) กระบวนการท้งั หทดของ การออกแบบจะช่วยให้ผู้ออกแบบสามารถย้อนกลบั ไปตรวจสอบถึง องคป์ ระกอบทง้ั หมดโดยอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละบนั ทกึ การด�ำ เนินการอย่างเปน็ ระบบเพอ่ื น�ำ ไปสู่เหตผุ ล รวมทง้ั หลกั ฐานเชิงประจกั ษท์ กุ ประการที่เกดิ ขน้ึ ในการส่งเสรมิ การเรียนรู้ นอกจากนี้ยงั มีคําสําคญั (Keywords) บางคาํ ท่เี กย่ี วข้องกับการออกแบบการเรยี นการสอน และเปน็ แนวก” มคี วามสมั พนั ธก์ นั ซ่งึ จะชว่ ยเอือ้ ใหเ้ กิดความเข้าใจทลี่ ึกซ้งึ เพมิ่ ข้นึ อีกท้งั จะช่วยป้องกนั ควา เข้าใจทคี่ ลาดเคลื่อน 38
คําสําคญั (Keywords) เกีย่ วกบั การออกแบบการสอน ระบบการสอน (Instructional System) หมายถึง การจัดสรรแหลง่ ทรพั ยาก กระบวนการท่ีจะ สนับสนุนดา้ นการเรียนรู้ การออกแบบการสอน (Instructional Design) หมายถงึ กระบวนการของวิธรี ะบบใน การพัฒนาการสอน การพัฒนาการสอน (Instructional Development) เป็นกระบวนการนาํ การออกแบบ การสอนท่ีไดว้ างแผนไวไ้ ปทดลองใช้ เก่ียวกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละเทคนิควิธกี ารทม่ี ีผู้ (Behaviorism) พุทธิปญั ญานิยม (0 เทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) คอื ระบบและวิธกี ารในการประยกุ ต์ สตร์และเทคนิควิธีการท่ีมีพืน้ ฐานมาจากทฤษฎกี ารเรียนรู้ เช่น พฤติกรรมนยิ ม ism) พทุ ธปิ ัญญานิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติวสิ ต์ (Constructivism) นํามาใช้ในการแก้ปัญหา เกยี่ วกบั การเรียนการสอน ดังนั้น เทคโนโลยีการสอน = การออกแบบการสอน + การพฒั นาการสอน ทฤษฎีการออกแบบการสอน (Instructional Design Theory) หรอื อาจกลา่ วไดว้ ่า เทคโนโลยกี ารสอน หมายถึงการประยกุ ตท์ ฤษฎีและความรตู้ า่ งๆ ที่มกี ารจัดระเบยี บไว้แล้ว มา ใช้ในภารกิจในการออกแบบ การสอนและการพัฒนาการสอน โมเดลของทฤษฎกี ารออกแบบการสอน (Instructional Theory Design Model) ดงั ท่ีได้ กล่าวมาขา้ ง ต้นแลว้ ว่า การออกแบบการสอนเปน็ กระบวนการพัฒนาการสอนอย่างมรี ะบบ เมื่อเพิม่ คาํ ว่า ทฤษฎี นัน่ แสดงนยั ว่าการออกแบบการสอนนนั้ มีพืน้ ฐานทแ่ี ข็งแกรง่ ท่จี ะชว่ ยใน การอธิบายคําถามที่อยู่ภายใต้ กระบวนการออกแบบอยา่ งเปน็ ระบบ ว่าทาํ อย่างไร (How) และ ทําไม (Why) Merill and Jones (1990) ได้อธบิ ายทฤษฎีการออกแบบการสอนวา่ เปน็ สิง่ ท่ีใช้ในการ กําหนดการ เลอื กยทุ ธศาสตรท์ จี่ ะช่วยให้ผเู้ รียนบรรลุเป้าหมายการเรยี นรู้ ทฤษฎเี หลา่ นจ้ี ะเป็น ทฤษฎีการเรียนรูท้ ี่ เกย่ี วขอ้ งกับสาขาวชิ า โดยจะกลา่ วถงึ ลักษณะการดําเนินการมากกว่า ขน้ั ตอนในการดําเนินการ ถ้าอา่ นบทความที่เก่ยี วกบั การศึกษาของต่างประเทศ จะพบว่ามหี ลายคําทใี่ ช้บ่อย ถา้ อ่านบทความเกี่ยว กับการศกึ ษาของต่างประเ ” ซ่ึงมคี วามหมายเชน่ เดียวกับคาํ มีความหมายเดียวกัน ไดแ้ ก่ คาํ ว่า “Behavioral” ข เหล่าน้ีว่า “Rationalistic Traditi Objectivist, Empirical และ Rational ซ่ึงเรยี กกลุ่มคาํ ส” หรือ “Technique Rational” ในฝ่ายนไี้ ดม้ ีทฤษฎีจติ วทิ ยาการ เทคโนโลยีการศึกษา ไดแ้ ก่ The Gao หลายทฤษฎี เชน่ เดียวกับทฤษฎกี ารสอนทพี่ ฒั นาโดยนกั เทคโนโล ยก -Brigg’s Theory (Gagne’&Brigg, 1979) เรยี นรู้ทีม่ พี น้ื ฐานจากพฤติกรรมนยิ มหลายทฤษฎี เช่นเดยี วกับทฤษฎีการสอนทพี่ ฒั นาโดยเทคโนโลยีการ ศึกษา ไดแ้ ก่ The GagneBrigg’s Theory(Gagne’&brigg.1979) 39
การออกแบบการสอน (Hostructional Design) การออกแบบการสอนตัง้ แตเ่ ร่มิ แรก สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ช่วง ไดแ้ ก่ การออกแจ สอนในชว่ งเริม่ แรก (ID ) ซง่ึ ส่วนใหญม่ พี น้ื ฐานจากทฤษฎีทางจติ วิทยากลุ่มพฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism) เรียกว่า ID การ ออกแบบการสอนในช่วงท่สี อง ID ในชว่ งน้อี าศยั พืน้ ฐาน จากทฤษฎีกล่มุ พทุ ธปิ ัญญานิยม (Cognitiv- ism) และชว่ งถดั มาเปน็ การออกแบบการสอนท่ีมี พน้ื ฐานจาก Constructivism ซึ่งจะมคี วามแตกต่าง กันในรายละเอียด ในท่นี ี้จะกลา่ วอี. การประยุกตห์ ลักการของจติ วทิ ยาการเรียนรทู้ ั้ง 3 กลุ่มมาใช้ในการ ออกแบบการสอน ซึ่งเรยี กวา่ ขอ้ ตกลงเบอื้ งต้นของการออกแบบการสอน ซ่งึ จะอธบิ ายในรายละเอียด ของ ID ID และ Constructivism 40
การออกแบบการสอน (Designing Instruction หรอื Instructional Design) จากหลกั การทวี่ า่ การเรยี นรู้ (Learning) เปน็ กระบวนการของการได้รบั ความรใู้ หมห่ รือ ทกั ษะใหมผ่ ่าน กระบวนการยอ่ ยๆ ของการวางแผน (Plan) การนาํ ไปใช้ (Implement) และ การประเมนิ ผล (Evalua- tion) การสอน (Instruction) เปน็ กระบวนการที่จะชว่ ยเหลือให้ผู้เรยี นในการเรยี นรู้โดยผ่านทาง การจัดการ ขอ้ มูลสารสนเทศ กิจกรรมต่างๆ วธิ ีการ และสือ่ ส่วนการออกแบบการสอน (Instruction Design) เป็นกระบวนการของการวางแผนการพฒั นาสําหรบั การเรียนการสอน โดยผา่ นทาง การประยุกตห์ ลัก การทฤษฎี การออกแบบการสอนมักนิยมอธิบายไวว้ า่ เปน็ กระบวนการทม่ี ีระบบ สําหรบั การพฒั นา การวางแผนการ สอน หรอื กล่าวได้ว่าเป็นกระบวนการทมี่ ีลําดบั ขัน้ ตอนดว้ ยตรรกภายใน ซ่ึงเป็นผล ทาํ ใหก้ ารวางแผนนัน้ มีส่วนประกอบที่เหนียวแนน่ และส่วนประกอบเหลา่ น้นั มีการประสานกัน อยา่ งแน่นแฟ้น ซึ่งเป็นไปตาม หลกั การเหตผุ ล หรอื วตั ถปุ ระสงค์ ซงึ่ ส่วนตา่ งๆ เหลา่ นน้ั ถูกจัดไว้ตาม ลาํ ดบั โดยเรม่ิ จากวตั ถปุ ระสงค์ อย่างไรกต็ าม ครูผู้สอนท่ไี ด้ฝกึ ฝนมาอย่างดี หรอื ระดับมืออาชพี ไมจ่ ําเปน็ ต้องดาํ เนินตามวตั ถุประสงค์ เปน็ ประการแรกในการวางแผนการสอนเสมอไป บางคร้ังอาจ เรม่ิ จากการกาํ หนดวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ นอกจากนี้อาจพิจารณาส่ิงอืน่ ๆ ต่อไปน้ี กจิ กรรมทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกหดั ซง่ึ อาจเปน็ หน่ึงกจิ กรรมหรอื มากกว่า ความครอบคลมุ ของเน้ือหา ความรเู้ ดิมของผเู้ รียน วิธีการที่จะทดสอบความเขา้ ใจของผเู้ รยี น วธิ กี ารสอนหรอื ส่ือทจี่ ะใช้ ครผสู้ อนมกั จะพัฒนาส่วนประกอบท่เี หลืออยู่ในการวางแผนตามลําดับขน้ั เพือ่ ทจี่ ะแสดง ใหเ้ ห็นความ ยดื หยุ่น จะนําเสนอ “สูตร” หรอื “ตาํ รบั ” สําหรบั การออกแบบการสอน ซง่ึ สามารถ เพม่ิ เติมสว่ น ประกอบของแผนได้ และส่ิงที่จําเป็นสําหรับแต่ละส่วนประกอบทปี่ รากฏในแผนการ สอนท่สี มบูรณ์ ตํา รับอาหารเปน็ หลกั การและเหตผุ ลท่ีแสดงกระบวนการท่ีเตม็ ไปด้วยการคดิ และ ระบบ ซึ่งเปน็ ผลทที่ ําให้ แผนน้ันมีความประสานสมั พนั ธ์อย่างแนบแนน่ ระหวา่ ง แตล่ ะส่วนประกอบ เปรียบเสมือนระบบใดระบบ หนง่ึ ทก่ี ารวางแผน เป็นส่งิ ท่ีมีความเปน็ พลวตั (Dynamic) และยดื หย่นุ (Flexible) การตัดสนิ ใจทีใ่ ช้ใน การพฒั นาสว่ นประกอบต่างๆ ของแผน จะมผี ลต่อการตดั สินใจ เกี่ยวกบั ส่วนประกอบอนื่ ๆ อาจหมาย ถงึ การตรวจสอบอยา่ งละเอยี ด หรอื แมแ้ ต่การเปลย่ี นแปลง การตัดสินใจทีไ่ ดท้ าํ อาจใช้กระบวนการ ออกแบบ กระบวนการทจ่ี ะวางแผนบทเรียน หนว่ ย (Unit) คอรส์ หรอื หลกั สตู รทัง้ หมด ในทีน่ ้จี ะเน้น เกย่ี วกับการออกแบบบทเรยี น (Lesson) 41
ขอ้ ควรคํานึงในการวางแผนการสอน (Instructional Plan) ผู้เรียน (Students) ส่วนแรกทจ่ี ะกล่าวถงึ ได้แก่ผ้เู รยี น เพราะวา่ วตั ถุประสงค์ของการสอน คอื การช่วยเหลือ ผ้เู รยี นให้เกิด การเรยี นรู้ ในฐานะครูผสู้ อน วิธีการต่างๆ ในการทจ่ี ะช่วยผู้เรียนให้สามารถ บรรลุ เปา้ หมายการเรยี นรู้ อย่างไรกต็ าม ควรตระหนักวา่ ผ้เู รยี นแต่ละคนมคี วามแตกตา่ งกนั ในหลาย ด้าน ได้แก่ ระดบั ของการพัฒนาการ (Development Level) สติปญั ญา (Intelligence) แบบการเรียน (Learning Style) เพศ (Gender) ชาติพรรณและวฒั นธรรม (Ethnicity and Culture) สถานภาพเศรษฐกจิ และ สงั คม (Socioeconomic Status) ความตอ้ งการพิเศษ (Special Needs) แรงจูงใจในการเรียนรู้ (Moti- vation to Learn) ความรูแ้ ละทกั ษะท่ีมมี ากอ่ น (Prior Knowledge and Skills) การสอนแบบกรณีตวั อย่าง ความแตกตา่ งท่มี คี วามหลากหลายทําใหก้ ารวางแผนการสอนยากยงิ่ ข้นึ ซึง่ บางครงั้ ครผู ูส้ อนอาจหาวิธี การชว่ ยเหลือผเู้ รยี นคนใดคนหน่ึงได้สําเรจ็ แตว่ ิธกี ารน้นั อาจจะไมส่ ามารถใช้ได้ กับผูเ้ รียนทกุ คน ด้วย เหตนุ ้ีจึงมคี วามจาํ เป็นทีค่ รูผู้สอนจะต้องนําความหลากหลายของผ้เู รยี นมา พจิ ารณาในการวางแผนการ ออกแบบการสอน ในทนี่ ้จี ะกล่าวถงึ รายละเอยี ดเกีย่ วกบั ความแตกตา่ งของผู้เรียนเฉพาะดา้ นทสี่ าํ คญั ท่ี นาํ มาใชใ้ นการวางแผน ดังตอ่ ไปน้ี ระดับการพฒั นาการ ผูเ้ รยี นทีม่ คี วามพรอ้ มดา้ นวฒุ ภิ าวะสามารถทจ่ี ะพฒั นาไดห้ ลายด้าน รวมทัง้ ทักษะ และ การประสาน สมั พนั ธ์ของกลา้ มเนอื้ กระบวนการคดิ ตลอดจน ความสามารถดา้ นการใช้ภาษา ความสามารถในการอยู่ รว่ มกับผอู้ ่ืน บุคลิกภาพและความรสู้ กึ เกย่ี วกบั ตนเอง ความเข้าใจท่ถี ูก ตอ้ งหรือผดิ ในแต่ละดา้ นดังกล่าว ความก้าวหนา้ ในการพฒั นาท่ีเป็นไปตามลาํ ดบั ขั้น เช่น เด็กเรียนที่จะนัง่ ก่อนท่ีจะสามารถคลานไดแ้ ละ เรยี นรูท้ จี่ ะคลานกอ่ นการเดนิ ความหมายของการสอนแบบกรณตี ัวอย่าง การสอนแบบกรณีตวั อยา่ ง หรอื กรณีศึกษา แปลง ภาษาอังกฤษว่า “Case Study” หมายถึง วธิ กี ารสอ นท่นี าํ เอาเจ จรงิ หรือเรอ่ื งราวทีส่ มมตขิ ึน้ มาเป็นตัวอยา่ ง เพื่อใชก้ ระตุ้นใหผ้ เู้ รยี น อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ คน้ ควา้ หาความจริงหรอื ความรดู้ ้วยตนเอง โดยที่ผู้สอนไม่จาํ เป็นต้องบอกโดยตรง (บรู ชยั ศิรมิ หา สาคร, 2537) 42
ตัวอย่าง การสอนจริยธรรม เรือ่ ง ความซอ่ื สัตย์ กรณีตวั อยา่ ง เร่อื ง “จะทาํ อย่างไรด”ี แดงเปน็ นกั เรียนชน้ั ป.6 ฐานะทางครอบครัวยากจน พ่อของแดง เสยี ชีวติ ไปแลว้ แมจ่ ึงตอ้ งทํางานหนักเพ่อื เล้ียงดูแดงกับนอ้ งอีก 2 คน แมท่ าํ งานจนล้มปว่ ย ตอ้ งหยุดขาย ของ แดงอยากพาแม่ไปหาหมอ แตก่ ไ็ ม่มีเงิน เช้าวันหน่ึง ขณะทแี่ ดงเดนิ ไปโรงเรียน พบกระเป๋าเงินของผู้อืน่ ตกอยู่ เปดิ ดูข้างในมีเงินประมาณ 500 บาท แดงตัดสินใจไม่ถูกว่า ควรจะนาํ เงนิ น้ีไปรกั ษาแม่ และซ้ือขา้ วใหน้ ้องๆ กิน หรอื จะนาํ ไปสง่ ครู เพอื่ ประกาศหาเจ้าของดี คาํ ถาม ถา้ นกั เรยี นเปน็ แดง นักเรียนจะตัดสินใจทาํ ตามข้อใด ก. นําเงินไปรกั ษาแมแ่ ละซอ้ื ขา้ วให้น้องๆ กนิ เพราะวา่ ................................” ข. นาํ เงนิ ไปสง่ ครู เพือ่ ประกาศหาเจ้าของ เพราะวา่ ................................” ค. คดิ หาวิธอี ่นื นอกจากข้อ ก และขอ้ ข ดงั น้ี คือ................................” *การสอนแบบกรณตี ัวอย่าง กบั การสอนแบบบุคลาธิษฐาน 43
วธิ กี ารสอนธรรมะในพทุ ธศาสนานั้น มี 2 แบบ คือ 1. แบบบุคลาธษิ ฐาน คอื วิธกี ารสอนทีย่ กเอาตวั บุคคลเปน็ ทต่ี ั้ง ผกู เรื่องราว สรา้ งตวั อยา่ ง เพอ่ื ทําให้ เกิดความสนกุ สนาน ชวน ติดตาม โดยไมท่ ําใหร้ สู้ กึ เบอ่ื เชน่ การสอนธรรมะด้วยการเล่านทิ าน ชาดก หรอื การสอนพุทธประวตั แิ บบปาฏหิ ารยิ ์ เชน่ เม่ือตอนเจ้าชาย สิทธตั ถะประสตู จิ ากพระครรภม์ ารดา สามารถเดินได้ 7 กา้ ว และแต่ละ กา้ วมดี อกบวั ผุดขึ้นมารองรบั เปน็ ต้น 2. แบบธรรมธิษฐาน คอื วิธกี ารสอนที่ยกเอาความจรงิ ใน ธรรมเปน็ ที่ตัง้ โดยไมม่ กี ารผูกเป็นเร่ืองราว หรือแตง่ เตมิ ให้เกินความ เปน็ จริง มุ่งสอนให้คนเกิดปญั ญา คือ เขา้ ใจความจริงตามสภาพความ เป็นจรงิ เชน่ การที่เจ้าชายสทิ ธัตถะประสูตแิ ล้วเดินได้ 7 ก้าว และมี ดอกบวั ผุดข้ึนรองรบั นนั้ มไิ ดแ้ ปลวา่ ทรง เดนิ ได้หรือมดี อกบวั ผดุ ขน้ึ มารองรับจรงิ ๆ แตเ่ ป็นเพยี งปริศนาธรรม ที่หมายถงึ ทรงเปน็ ผู้บรสิ ทุ ธ์ิ เกิด มาเพื่อเป็นศาสดาเอกของโลก และจะเผยแผศ่ าสนาไปยัง 7 ชนบท ของชมพทู วปี เปน็ ต้น อาจกลา่ วไดว้ ่า การสอนแบบบุคลาธษิ ฐานนน้ั มีส่วนคล้ายคลงึ กับการสอนแบบกรณีตัวอย่าง (Case Study) อยมู่ าก เพราะเป็น การสอนจากตัวอยา่ งไปหากฎ (การสอนแบบอปุ นัย) สอนจากสง่ิ ทีเ่ ปน็ รูป ธรรมไปหานามธรรม สอนจากกระพ่ไี ปหาแกน่ หรือสอนจากสงิ่ ที่ เข้าใจง่ายไปสูส่ ง่ิ ทเี่ ขา้ ใจยาก ดว้ ยธรรมะของพระพทุ ธเจ้าในบางเร่ืองนน้ั ลกึ ซง้ึ ยากแกก่ ารอธิบายความ หากใช้นทิ านหรอื เรือ่ งราวตา่ งๆ เป็นส่อื แลว้ สรุปจบดว้ ยหลักธรรม หรอื ขอ้ คิดสอนใจ จะช่วยใหเ้ ข้าใจได้ ง่ายข้ึน ซ่งึ สอดคลอ้ งกับหลกั จิตวทิ ยาการเรยี นรู้ และเหมาะสําหรบั ใช้สอนเดก็ หรือคนทีม่ ีภูมปิ ญั ญาน้อย เปน็ อยา่ งยิง่ อีกทงั้ ธรรมชาตขิ องเดก็ น้นั ชอบฟังเร่อื งราวทสี่ นุกสนาน ชอบการเลียนแบบส่ิงทต่ี นเองได้ ฟัง หรือ ไดพ้ บเห็น การสอนแบบกรณีตัวอยา่ งนี้ จึงเหมาะทจ่ี ะใช้พฒั นาจรยิ ธรรม ของนักเรยี น จะเห็นได้ว่า พระพทุ ธเจ้าซงึ่ เป็นบรมครูของชาวโลก ทรง นิยมใช้การสอนแบบบคุ ลาธิษฐานหรอื กรณตี วั อยา่ ง เพราะมีนิทาน ชาดก ตา่ งๆ ที่ทรงนาํ มาเล่ามากกวา่ 500 เร่ือง จงึ นบั เป็นวิธกี ารสอน ทไ่ี ด้ผลดวี ธิ ีหน่งึ มานานกว่า 2,500 ปี แลว้ แนวคดิ ในการพฒั นาจรยิ ธรรมของนกั เรียนกบั การสอนแบบกรณีตวั อยา่ งตามหลักพฤติกรรมศาสตร์ เชอ่ื วา่ กฎขอ้ ท่ี 1 พฤตกิ รรมของมนษุ ย์เป็นผลมาจากเจตคติ (Attitude) และการรับรู้ (Perception) ถา้ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม ของคน ตอ้ งเปลี่ยนเจตคติของบคุ คลน้นั กอ่ น ตวั อย่าง คนที่ทาํ แตค่ วามดี เพราะมคี วามเช่อื ว่า ทาํ ดยี ่อมไดด้ ี และการที่บุคคลนนั้ เชอื่ วา่ ทาํ ดียอ่ มได้ ดี เพราะเขาเคยรบั รู้ (Perception) หรอื เคยเห็นบุคคลท่อี ยู่รอบขา้ ง ซ่งึ ทําความดแี ลว้ ได้รับผลดีเป็นสง่ิ ตอบแทน ส่วนคนทชี่ อบทําชัว่ น้นั เพราะมคี วามเชอื่ หรือเจตคติว่า ทาํ ดี ไดด้ ีมที ่ไี หน ทาํ ช่วั ได้ดมี ีถมไป การที่เขามี ความเช่อื เช่นน้ี เพราะได้รบั รู้ หรอื เคยเหน็ บคุ คลท่ีอยูร่ อบขา้ งทําความช่วั แล้ว ได้รับผลดตี อบแทน ใน เบอ้ื งต้น แต่มไิ ดร้ ับรถู้ ึงผลรา้ ยท่เี กดิ ขนึ้ กบั คนผู้นั้นในบ้ันปลาย จึงสรปุ เอาเองวา่ ทําชว่ั ไดด้ ี 44
ดังนนั้ ถ้าตอ้ งการจะเปลย่ี นพฤติกรรมของคน ตอ้ งเปลี่ยน ความเชื่อของบุคคลนน้ั เสียกอ่ น เช่น ตอ้ งทาํ ใหเ้ ขาเช่ือวา่ ทําดียอ่ มได้ดี และการทจ่ี ะเปลี่ยนความเชอ่ื หรือเจตคติของคนไดน้ น้ั ตอ้ งใหเ้ ขาได้ รับรใู้ นส่งิ ท่ถี กู ตอ้ งตามความเปน็ จริงนน่ั เอง กฎข้อที่ 2 พฤตกิ รรมท่ีดี ยอ่ มเป็นผลมาจากการมีเจตคติ ทดี่ ี และเจตคตทิ ่ดี ี ยอ่ มเปน็ ผลมาจากการรับรู้ แตใ่ นสงิ่ ท่ดี ี ดังนน้ั ถ้าอยากให้เดก็ มีพฤตกิ รรมที่ดี ตอ้ งให้เดก็ รับรแู้ ตส่ ่ิงดี เพ่ือให้ เกิดเจตคตทิ ด่ี ี ตวั อย่าง ถา้ อยากให้เดก็ พดู จาสภุ าพเรยี บร้อยหรอื พูดจาฯ. ผู้ใหญต่ อ้ งพดู จาไพเราะกบั เดก็ เพื่อใหเ้ ดก็ รับ รแู้ ละซมึ ซับกับสง่ิ ท่ี เจตคตทิ ีด่ ี ซงึ่ ส่งผลไปสู่พฤตกิ รรมที่ดีในท่สี ดุ กฎข้อท่ี 3 พฤตกิ รรมทีไ่ ม่ดี ยอ่ มเปน็ ผลมา ทผ่ี ดิ และเจตคติทีผ่ ดิ เปน็ ผลมาจากการรับรู้ในส่ิงท่ี ที่ไม่ดี ตัวอยา่ ง เด็กทชี่ อบพดู คําหยาบ เพราะรับรูห้ รือเคยไดย้ ินบอด รอบขา้ ง ซ่งึ อาจจะเปน็ พ่อแม่ พีน่ อ้ ง หรือ เพอ่ื นๆ พูดคําหยาบ จนเกดิ ความเคยชนิ และคดิ วา่ การพูดคําหยาบเปน็ เรือ่ งปกติ จงึ พดู คาํ หยาบ ตาม ผู้อ่ืน เปน็ ตน้ กฎทงั้ 3 ขอ้ ตามหลกั พฤติกรรมศาสตรด์ ังกล่าว สอดคลอ้ ง กับการเรียนร้ตู ามแนวคิดในพทุ ธศาสนาท่ี เชอื่ ว่า ผสั สะ (การรบั รู้ ทา เกดิ ทฐิ ิ (ความเหน็ ) และเป็นผลไปสู่การปฏิบัติ ถา้ รับรแู้ ต่ในสง” กว็ ามเห็นถูก (สัมมาทิฐ)ิ เมอื่ เกิดความเหน็ ทถ่ี กู กป็ ฎบิ ัตถิ กู ลกั ษณะของกรณตี วั อย่างท่ดี ี ๕ ลกั ษณะของกรณตี วั อย่างทีด่ ี คอื 1 มเี รอ่ื งราวสอดคล้องกบั จุดประสงค์ การเรยี นรู้ทตี่ ง้ั ได้ - มปี ระเด็นปญั หาทช่ี ัดเจน น่าสนใจ ชวนใหค้ ดิ อภปิ .. หรอื ในทางพทุ ธศาสนา เรียกวา่ สามารถเขย อยาก เรยี นรู้ คน้ ควา้ หาคําตอบ 3. มคี วามยาก-ง่ายเหมาะสมกบั วัยของผเู้ รียน 4. มเี น้ือหาไม่สัน้ หรือยาวเกนิ ไป เพราะถา้ สนั้ เกนิ ไป ทํางาน ขาดรายละเอียด ซึง่ เปน็ ข้อมูลในการคิด วเิ คราะห์วิจารณ์ แตถ่ า้ ยาว เกินไป ทาํ ให้ขาดจุดสนใจของเรื่อง เกดิ ความน่าเบือ่ หนา่ ย 45
ขั้นตอนการสอนแบบกรณีตัวอยา่ ง ขัน้ ตอนการสอนแบบกรณตี ัวอยา่ งมดี งั น้ี 1. ครูตอ้ งทบทวนความรู้หรือประสบการณ์เดิมใหแ้ กผ่ ู้เรยี น ก่อน เพ่ือใช้เป็นข้อมลู พืน้ ฐานในการคิดวเิ คราะห์วิจารณ์ หรืออภปิ ราย กลมุ่ 2. การแบ่งกล่มุ นกั เรยี น ไมค่ วรมากกวา่ กล่มุ ละ 10 คน เพอ่ื เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนได้ แสดงความคิดเหน็ อยา่ งทว่ั ถึง 3. ครแู นะนําวิธกี ารประชมุ กลุ่ม เพอ่ื ระดมความคิดแบบ วงลอ้ พัฒนา และการตัดสินใจ แบบประชาธิปไตยเชงิ พทุ ธ 4. ครูแจกใบงานกรณีตัวอยา่ ง และใหน้ กั เรียนปฏิบัติกิจกรรม ต่างๆ ตามใบงานโดยให้ เวลาในการอภปิ รายกลมุ่ อยา่ งเพยี งพอและเหมาะ 5.ใหผ้ รู้ ายงานกลุ่ม รายงานผลการอภิปรายกลมุ่ หนา้ ชัน้ เรียน 6.ครผู สู้ อนสรปุ บทเรยี นหรือแนวคดิ ทไี่ ดจ้ ากกรณตี ัวอยา่ ง โดยไมเ่ น้นการตัดสนิ ถกู หรือผิด แตเ่ นน้ ใหผ้ ้รู ายงานกลมุ่ รายงานผลการอภปิ รายกลุม่ หนา้ ช้ันเรียน สอนสรปบทเรียนหรือแนวคิดที่ไดจ้ ากกรณีตัวอย่าง ในการตดั สนิ ถกู หรือผดิ แตเ่ นน้ ทเ่ี หตผุ ลของแต่ละ กลมุ่ ว่า มีนาํ้ หนักของเหตผุ ลมากน้อยเพียงใด ซ่ึงนา้ํ หนักของเหตผุ ลน้ี เปน็ ตวั บง่ ชีค้ ณุ ภาพทางความคดิ ของนกั เรียน 7. เงอ่ื นไขสําคญั ท่ีจะทําใหก้ ารสอนแบบกรณีตวั อยา่ งประสบ ความสาํ เร็จ คือ ครูต้อง สรา้ งบรรยากาศในการเรียนร้ทู เ่ี ป็นกนั เอง แบบ กัลยาณมิตร มีการเสรมิ แรง เช่น การพยักหน้า ยมิ้ หรือ พูดชมเชย เพื่อกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นเกดิ ความม่ันใจ กลา้ พดู แสดงความคิดเหน็ และ ดึงเอาศกั ยภาพท่มี ีอยู่ ในตัวเองออกมาใช้อยา่ งเตม็ ท่ี ครูไม่ควรแสดง อาการเบอ่ื หน่าย หรือดถู กู ความคิดเหน็ ของนักเรียน 46
เทคนคิ การระดมความคิดแบบวงลอ้ พัฒนา และการตัดสนิ ใจแบบประชาธปิ ไตยเชิงพทุ ธ วธิ ีดําเนนิ การ 1. กําหนดประเดน็ ปญั หาในการอภปิ รายให้ชดั เจน 2. เลอื กสมาชกิ 1 คน เปน็ ประธาน และใหป้ ระธานดําเนนิ การเลือกเลขานกุ ารกลุ่ม และผรู้ ายงาน ผลการอภปิ รายกลมุ่ โดยมี หน้าท่ี ดังนี้ 2.1 ประธาน มีหน้าทด่ี ําเนนิ การประชมุ จัดลําดับการพูด ของสมาชิก กระตนุ้ ให้ สมาชิกพดู แสดงความ คิดเห็น ประนีประนอม เมอ่ื เกิดขอ้ ขัดแย้งระหว่างสมาชิก และ สรุปความคดิ เห็นของสมาชิก 2.2 เลขานุการกลุ่ม มหี นา้ ท่จี ดบนั ทกึ ผลการอภิป อ่านบนั ทึกผลการอภิปรายใหส้ มาชกิ ฟงั 2.3 ผู้รายงานผลการอภิปรายกล่มุ มหี นา้ ทพี่ ูดรายงาน ผลการอภปิ รายกลุ่ม ให้สมาชกิ ทุกคนในทปี่ ระชุม ใหญท่ ราบ 3. ใหก้ ลุม่ จัดรปู แบบการนง่ั ประชมุ เพ่ือระดมความ วงล้อพฒั นา 4. ในการประชุมกล่มุ แต่ละคร้งั ควรมกี ารผลดั เปลี่ยนหมุน เวยี นกันทาํ หนา้ ที่ผู้นํา (ประธาน) และผู้ ตาม โดยเล่ือนไหลไปตามทิศทาง ลูกศร คือ หลังจากเปน็ ประธานแล้ว ให้เลื่อนเปน็ สมาชิกคนท่ี 1 สว่ น เลขานุการกลุม่ ใหเ้ ล่ือนขน้ึ เป็นประธาน ผ้รู ายงานผลเลอื่ นเป็น เลขานุการกล่มุ 5. ประธานดาํ เนนิ การประชุม โดยเรียงลาํ ดับการอภิปราย จากสมาชิก คนที่ 1 ถึง 7 ถ้าสมาชิกคนใด ยงั คดิ ไมอ่ อก ให้บอก “ผ่าน” เพื่อจะได้ไมเ่ สยี เวลา และให้สมาชิกคนตอ่ ไปไดพ้ ดู ทารกประมาณ 2-3 รอบ จนไมม่ สี มาชกิ คนใด เสนอความคิด อีกแล้ว 47
6. ในระหวา่ งที่สมาชกิ แตล่ ะคนกําลังพดู ควรยดึ หลกั คารวธรรม คอื การเคารพในความคดิ เหน็ ส่วน บคุ คล ไมม่ ีการคัดค้าน หรือโต้แยง้ วา่ ถูกหรือผิด เพราะจะเปน็ การสกดั กนั้ ความคิดเหน็ ของ ผพู้ ดู ซ่ึง ความคดิ เหน็ ของผู้พูด จะมีสว่ นชว่ ยกระตุ้นความคดิ เห็นของ คนอ่ืน ใหห้ ลากหลายออกไป โดยเนน้ ขอ้ มูลเชิงปริมาณ คอื ให้ได้ขอ้ มูล มากทีส่ ดุ กอ่ น แลว้ จึงพจิ ารณาคุณภาพหรือความเป็นไปได้ในภายหลงั 7. เมอ่ื ได้ข้อมูลเพยี งพอแล้ว และไม่มีสมาชกิ คนใด ต้องการ แสดงความคิดเห็นเพ่มิ เติมอีก ให้ประธาน หลอมความคดิ ต่างๆ ที่ หลากหลายของสมาชิกเข้าด้วยกนั โดยยดึ หลกั ปัญญาธรรม คือ การ เคารพใน เหตผุ ลทีด่ กี วา่ และยดึ หลกั สามคั คธี รรม คือ การเคารพหรือ ปฏบิ ตั ิตามมติของคนส่วนใหญ่ภายในกลุ่ม คือ เน้นความถูกตอ้ งของ เหตุผล (ปญั ญาธรรม) และความถกู ใจของสมาชิกในกลมุ่ (สามัคคี ธรรม) แล้ว จัดลําดบั แนวทางในการแก้ปัญหาทดี่ ีทส่ี ดุ โดยเรียงลําดบั ความสําคญั เปน็ 1, 2, 3. เพอ่ื จจแปลงความ คิดไปสกู่ ารปฏิบัติจรงิ 8. หลักการตัดสินใจแบบประชาธปิ ไตยเชิงพุทธ 9. บรรยากาศท่ีดี ซึง่ ทําใหก้ ารระดมความคิดมีประสทิ ธภิ าพ คือ ควรหลีกเล่ียงการตาํ หนิ ควรใจกวา้ ง ยอมรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อน่ื ถึงแม้จะไม่เห็นด้วยก็ตาม ควรแสวงหาแนวความคดิ ท่แี ปลกใหม่ แตก ตา่ งจากท่ผี อู้ นื่ เสนอแล้ว ควรมกี ารยกยอ่ งชมเชยผ้ทู ม่ี ีความคิด ท่นี ่าสนใจ และไม่ควรใช้คาํ พดู ทท่ี ําให้ สมาชิกไม่อยากแสดงความ คิดเห็น เช่น คาํ พดู ว่า ไม่ไดเ้ รื่อง ไมเ่ ขา้ ทา่ ไมม่ ใี ครเขาทํากัน เป็นต้น 10. อปุ สรรคทีท่ ําใหก้ ารระดมความคดิ ไม่ประสบผลสําเรจ็ คอื สมาชกิ บางคนไม่ยอมพูด บางคน ผูกขาดการพูดไว้คนเดยี ว หรือบางครัง้ ประธานทาํ ตวั เป็นผูร้ ทู้ กุ อยา่ ง ไมเ่ ปดิ โอกาสใหส้ มาชิกได้แสดง ความ คดิ เหน็ ดงั นัน้ ประธานทด่ี ี จะตอ้ งกระตุ้นให้สมาชกิ ทไ่ี มพ่ ูด ได้พดู และยบั ยั้งการพดู ท่ีมากเกินไปของ 48
49
สอ่ื การสอนเพอ่ื การเรียนรู้ Instructional Media for Learning สอ่ื การเรยี นรู้เป็นเคร่อื งมือชว่ ยถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความร้สู กึ เพิ่มพนู ทกั ษะ และ ประสบการณ์ สร้างสถานการณก์ ารเรียนรู้ กระตนุ้ ให้เกิดการพัฒนาศกั ยภาพการคดิ เสรมิ สรา้ ง คุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยมแกผ่ ู้เรยี น ส่อื การเรียนรมู้ ีหลากประเภทและมีคุณลกั ษณะแตกต่าง กนั โดยเฉพาะอย่างย่งิ ส่ือการเรยี นรใู้ นปจั จบุ ันมีอทิ ธิพลสูงในการให้ผู้เรยี นเป็นผู้แสวงหาความรู้ ดว้ ยตนเอง สามารถเช่ือมโยง แหลง่ ความรทู้ ี่อย่ไู กลตัวผู้เรียนมาสกู่ ารเรยี นรขู้ องผู้เรยี นไดใ้ นเวลา อนั รวดเรว็ และไมม่ ขี อ้ จํากดั จงึ เปน็ เรอื่ งทผ่ี เู้ ก่ยี วข้องกับการเรยี นรู้ควรใหค้ วามสนใจ และกา้ วให้ ทันความเปลี่ยนแปลงของโลกทีไ่ ม่หยดุ น่งิ สอ่ื ในปัจจุบนั นบั ว่ามคี วามสําคัญตอ่ มนุษย์ ตราบใดยังตอ้ งดํารงชวี ติ อยู่ในสังคมของโลกการสอื่ สาร จาก ความตอ้ งการข้อมูลสารสนเทศมากข้ึนทุกวนั สือ่ จึง เป็นตวั กลางทีจ่ ะชว่ ยให้การสอื่ สารระหวา่ งผู้สอนไป ยัง ผูเ้ รียนเข้าใจและเกดิ การเรยี นรู้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ด้วย เหตุนี้จงึ นาํ เอาสอื่ มาใช้ในการสอนปัจจบุ ัน ความหมายของสือ่ การเรียนรู้ สื่อ (Media) หมายถึง เครอ่ื งมือทช่ี ว่ ยเปน็ ทางให้สารอาศยั ผ่าน หรอื อาจหมายถงึ วัตถุท่นี ํา สารไปผา่ น เครือ่ งมอื น้ัน เช่น ฟิล์มภาพยนตรแ์ ตไ่ มใ่ ชส่ าร สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรยี นรู้ สอ่ื การสอน (Instruction Media) หมายถึง วัสดแุ ละอุปกรณ์ หรอื อาจจะเป็นวธิ กี ารทีเ่ ป็น ควกลางการ ถ่ายทอดในการส่ือความหมายเพื่อใหร้ บั รู้ท้งั ผสู้ ง่ สารและผ้รู ับสาร มคี วามเขา้ ใจท่ี ตรงกัน 50
Search