Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore do you know korea

do you know korea

Published by st37137, 2019-09-02 01:38:02

Description: do you know korea

Search

Read the Text Version

Do You Know KOREA

คำนำ เป็นสว่ นหนึ่งของวชิ าคอมพิวเตอร์ ชัน้ ม.3 จัดทาขึน้ เพื่อประโยชนใ์ นการศึกษา วฒั นธรรมของประเทศเกาหลี และเพื่อเป็น แนวทางในการเดนิ ทางหรืออาศัยทปี่ ระเทศ เกาหลี ขา้ พเจ้าหวงั ว่า เน้อื หานี้จะเป็น ประโยชน์ตอ่ ผทู้ ่ีสนใจในประเทศเกาหลี หาก มเี นือ้ หาสว่ นใดผิดพลาดตอ้ งขออภัยไว้ ณ ท่ีน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา

คำนำ หนา้ เรอ่ื ง 4 10 วัฒนธรรมดา้ นอาหาร 14 วฒั นธรรมด้านการแตง่ กาย 16 วัฒนธรรมด้านศลิ ปะ 19 วัฒนธรรมดา้ นดนตรี วัฒนธรรมดา้ นกีฬา 29 วฒั นธรรมดา้ นการใช้ชีวติ พนื้ ฐานของคนเกาหลี

คำนำ เดมิ เกาหลีเป็นประเทศเกษตรกรรม และชาวเกาหลี เพาะปลกู ข้าวเปน็ อาหารหลักมาต้ังแตโ่ บราณกาล อาหารเกาหลี อาหารเกาหลี เปน็ อาหารประจาชาติของชาว เกาหลใี นประเทศเกาหลี อาหารเกาหลีทเี่ ป็นทรี่ ู้จักกันดี ท่สี ุดคือ กิมจิ (คิมช)ี ซ่ึงเปน็ ผักดองทเี่ ป็นเอกลักษณ์ของ ชาวเกาหลี Cr:Getty Images/iStockphoto

การทานอาหารของคชาวำเกนาหำลจี ะจัดอาหารขึ้นโตะ๊ พร้อมกนั ทุกอย่างเรียกวา่ \"ฮนั จอ็ งชกิ \" โดยในหนง่ึ สารับ ประกอบดว้ ย ข้าว ซุป และกมิ จิเป็นหลัก นอกจากนัน้ มี กบั ข้าวท่ที กุ คนกินรว่ มกนั และบันซันซ่งึ เปน็ เครอื่ งเคยี งจาน เล็ก ๆ จานวนจะมากหรอื น้อยข้ึนกับฐานะทางสงั คม สว่ น ใหญส่ ามัญชนมี 3 อยา่ ง ถา้ เปน็ เชอ้ื พระวงศอ์ าจมีถึง 12 อยา่ ง เครื่องเคยี งเหลา่ นไ้ี ดแ้ ก่ ผกั ลวก ผกั นึ่ง และอาหาร ทะเลแห้ง

มาร้จู ัก “กมิ จ”ิ อาหารประคจาชำานติเกำาหลี กนั เถอะ การทากิมจิ ก็เป็นวิธกี ารเก็บรักษาอาหารชนิดหน่งึ ของชาวเกาหลี สมัยโบราณจะใช้แค่ “เกลือ” เท่านั้น ในการดอง รสชาตขิ องความเผ็ดนดิ เปร้ียวหน่อย อรอ่ ย กาลังดี ยังมีประเพณกี ารทากมิ จิ ที่มชี ื่อเรยี กวา่ “คมิ จาง” กมิ จิสามารถทานได้ในทกุ ฤดูกาลเรียกว่า “ฤดกู ิมจ”ิ ฤดู ใบไม้ผลทิ านกมิ จิน้า ฤดรู ้อนทานกิมจแิ ตงกวาสอดไส้ เปน็ ต้น ตวั สัญลกั ษณ์ \"กมิ จ\"ิ สร้างขน้ึ โดย.. องคก์ รการคา้ เกษตรกรรมและการประมงเกาหลี (Korea Agro-Fisheries Trade Corporation) เมอื่ เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. 2543 เพื่อสง่ เสริมกิมจแิ ท้ จากประเทศเกาหลี

คำนำ ตอ๊ กโบกี Cr: https://images.app.goo.gl/5aFiiDtx8DenjvTi8 บบิ ิมบบั Cr: https://images.app.goo.gl/EXswmWJrhcwCX8x38

ซมั คเคำทนงั ำ ทคั คาลบีCr: https://images.app.goo.gl/raiRMEQswAsL94hN9 Cr: https://images.app.goo.gl/iCAWbZwAXJB5bZLd8

บุลคโำกนกิำ จาจังมยอนCr: https://images.app.goo.gl/s2S1v9VewbWJckNb7 Cr: https://images.app.goo.gl/E4PyyTcxrvUcEBmx5

คำนำ เคร่อื งแตง่ กายของชาวเกาหลที ่ีมมี าแตโ่ บราณมีชือ่ วา่ “ฮันบก” - สวมกระโปร่งทรงหลวมยาวถึงข้อ เท้า สวมเส้ือคลมุ ผ่าอกตวั สั้นๆ อยู่เหนอื เอว แขนยาวถึง ขอ้ มือ ฮนั บกไมม่ ีบก ตัวเสอ้ื ไขว้กัน มีโบวผ์ กู ทีอ่ กดา้ นขวา เรียกว่า “จอโกล”ี

คำนำ

-สวคมกำานงเกำงขายาวสีขาวหลวมๆ เรียกวา่ “บาจ”ี รวบปลายขาดว้ ยแถบผา้ เรยี กวา่ “แทนิน” สวมถงุ เท้าเรยี กวา่ “ยงั มัล” สวนเสื้อแขนสั้น ไว้ขา้ งใน เรียกวา่ “บันโซเม” สวมเสอ้ื หลวมๆ หรอื แต่งแบบ ชาวตะวนั ตก เสอื้ ประจาชาติเป็นเส้ือตัวยาว แขนยาวไม่ มีปก ไม่มกี ระเป๋า เรียกว่า “ซอโกร”ี แต่บางทสี วมเสอ้ื กกั ไม่มแี ขน มีกระเปา๋ เรียกวา่ “โจะ๊ ก”ี

คำนำ

คำนำ ศิลปะเกาหลมี ีลกั ษณะเด่นหลายประการทีท่ าใหเ้ กิดแบบ ของตัวเอง ศลิ ปะเกาหลยี กยอ่ งธรรมชาตแิ ละการใชส้ อี ่อน ปรากฏอยู่เสมอในภาพเขยี นและเครอ่ื งป้ันแบบเกาหลี งาน หตั กรรมพ้ืนบา้ นคอื ศิลปะทีส่ ืบทอดกนั มา งานไม้และเครอื่ ง เขยี นของเกาหลีเป็นทรี่ ้จู ักกันดี เนน้ การออกแบบเพือ่ ประโยชน์ใชส้ อยละความเรียบงา่ ย สิ่งสะดุดตาในงานไม้ เกาหลี คอื

คำนำ การเขยี นตัวอักษรดว้ ยพกู่ นั เกาหลี เรยี กวา่ “ ” ภาพวาดเกาหลีเปน็ ศิลปะทม่ี ธี รรมเนยี มนิยมของตนเอง อยา่ งสมบูรณ์

คำนำ เครอ่ื งดนตรตี ามประเพณเี กาหลีมีประมาณ 60 ชนิด เคร่อื ง ดนตรีเกาหลีแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คอื เครื่องสาย เครอื่ งเป่า และเคร่ืองตี - (ดนตรที เ่ี นน้ การแสดงความรสู้ ึก) และดนตรีท่ใี ชใ้ นพิธไี สยศาสตร์มีจงั หวะทร่ี วดเรว็ และ กระฉับกระเฉง

- แบง่ ออกเคปน็ ำ2นปรำะเภท คอื ชองอัก ดนตรีในราชสานัก มินซกอันดนตรพี น้ื บ้าน เพลงชาตเิ กาหลีมีช่อื ว่า “ ” หมายถงึ บทเพลงแห่งความรกั ตอ่ ประเทศ

คำนำ คอื เพลงปอ็ ปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจากเกาหลใี ตเ้ ปน็ เพลงทีน่ ิยมอย่างมาก

คำนำ กีฬาประเพณี ชาวเกาหลีรกั การกีฬาเป็นอย่าง มาก 20 ปีมาแลว้ ที่ เกาหลเี ป็นเจา้ ภาพการแขง่ ขันนานาชาติตา่ งๆรวมท้ังกีฬา โอลมิ ปคิ ในปี ค.ศ.1988 และฟตุ บอลโลกค.ศ.2002 นอกจากนี้นกั กฬี าของเกาหลีกไ็ ด้คะแนนยอดเยยี่ มในการ แข่งขันกฬี าประเภทต่าง ๆนอกจากกฬี าสมัยใหม่เชน่ การชิง แชมป์นานาชาติเรอื กฬี าฤดหู นาวแล้ว เกาหลยี งั มี การละเลน่ ตามประเพณีแบบชาวบา้ นและกฬี าแบบตา่ ง ๆ อนั มีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั และถ่ายทอดมาตง้ั แตส่ มยั บรรพ บุรุษ

คำนำ ซรี ึม เปน็ หนงึ่ ในกฬี าประเพณีของเกาหลที ่ีถกู ถ่ายทอด มาต้ังแต่สมยั โบราณการเลน่ ประกอบด้วยนกั กีฬา 2 คน ท่ีต้องจับเชอื กคาดเอวของคตู่ อ่ สู้ใหม้ ่นั และใชพ้ ลงั ของ ตวั เองโยนคู่ตอ่ สขู้ องตวั ใหล้ งพ้นื ให้ไดจ้ ึงจะเป็นผชู้ นะใน ปัจจบุ นั ซรี มึ เปน็ กฬี าท่ีเป็นทน่ี ยิ มมากในหมู่สุภาพบุรษุ และสภุ าพสตรีชาวเกาหลีทงั้ หนุ่มสาวและผสู้ ูงอายแุ ละ ทกุ ๆปกี จ็ ะมกี ารแขง่ ขันกฬี าน้บี อ่ ย ๆ

คำนำ กฬี ายอดนยิ มท่ีโดง่ ดังจนเป็นทีย่ อมรับไปทว่ั โลกนี้ เปน็ กีฬาท่ี ถือกาเนิดขนึ้ มาจากประเทศเกาหลมี ีประวตั ยิ าวนานกว่า 2,000 ปี เปน็ กฬี าท่ีใชท้ ุกส่วนของรา่ งกายโดยเฉพาะแขนและ ขากฬี าเทควนั โดไม่ไดเ้ ป็นแค่ ศิลปินการป้องกนั ตวั เทา่ นัน้ แต่ ยงั เป็นการเสรมิ สร้างบคุ ลิกภาพโดยการฝกึ กาย และจติ คาวา่ เทควนั โด มาจากการรวมคาสามคาคือ คาวา่ “แท”แปลว่า เทา้ หรอื การโจมตีดว้ ยเทา้ “คว็อน”แปลว่ามือหรอื การโจมตีดว้ ยมอื “โท”แปลว่า วิถหี รือสติปญั ญา เมื่อรวมกันแล้วจะสามารถแปล ไดว้ ่าวิถแี หง่ การใช้มือและเท้าในการตอ่ สแู้ ละ ปอ้ งกนั ตัวหรอื การใช้มือและเทา้ ในการตอ่ สู้และป้องกันตวั อย่างมีสติ

คำนำ การยงิ ธนู คือประเพณแี ห่งศลิ ปะการต่อสู้และ ขณะเดยี วกันกเ็ ป็นการละเลน่ ตัง้ แตย่ คุ สมยั เกาหลโี บราณ การยิงธนเู ปน็ การแสดงความสามารถท่ีสาคญั ทเี ดียว และ ได้รับการขนานนามวา่ เป็นกีฬาช้ันสูง

คำนำ

คำนำ คีเนตยุ กี เป็นการละเลน่ ท่ี คนเล่นน้ันสามารถเลน่ ไดท้ ุกเพศทุกวยั แต่นิยมทจี่ ะเลน่ กนั ใน หมูส่ ภุ าพสตรี เชน่ เดียวกับนอลตุยกี คเี นตุยกีทาขน้ึ โดยใช้เชือก 2 เส้นผกู ตบิ แดกผั น่ ไม้และนาไปแขวนติดกบั ตน้ ไม้สูง หรอื ผูกตดิ กบั ไมซ้ งุ ทีต่ อ่ เปน็ คานหญงิ สาวชาว เกาหลีจะสามารถโลช้ งิ ชา้ คเึ นน้ี ไปไดส้ ูงจนน่าตกใจเลย ทเี ดยี ว โดยนิยมเล่นกันในวนั ทาโนะ๊ คึเน https://images.app.goo.gl/uD3vnJqjkW32vjuh7

คำนำ ชางกีเปน็ หมากกระดานที่มกี ารละเล่นคล้ายกับหมากรุกสากล โดยต้อง ใชผ้ ูเ้ ลน่ ทงั้ หมด 2 คน เชน่ เดยี วกับหมากเดินทาด้วยไมห้ รือ พลาสติก บรรดานักเลน่ หมากรุกทง้ั หลายยอ่ มรู้จักตวั พระราชา เรอื ม้า และเบ้ีย อ่ืน ๆ แตท่ ่แี ตกตา่ งจากหมากรกุ สากลคอื มีช้าง และปืนใหญ่ดว้ ยการละเล่นนแ้ี ละพาดกุ ถือวา่ เปน็ การละเล่น แบบตอ้ งใชย้ ทุ ธศาสตร์ และยทุ ธวิธีตา่ งๆ ในการเอาชนะ https://images.app.goo.gl/DFz32wsSBxWpqJLJ8

คำนำ การละเลน่ ชนดิ น้ี เป็นประเพณีการละเลน่ สาหรบั สุภาพสตรี สว่ นวธิ กี าร เลน่ นน้ั จะใชแ้ ผ่นไมย้ าวพาดฐานตรงกลางที่ทาจากกองฟางท่ี แหง้ แขง็ ทาให้มีลักษณะเหมือนม้ากระดกแบบตะวนั ตก อีกทั้ง ยังมีวิธีเล่นทค่ี ลา้ ยกัน เพียงแต่เปลย่ี นจากการนัง่ เป็นการยืน ผลัดกันกระโดดลงบนลายไมแ้ ต่ละขา้ งซึ่งจะทาให้ฝ่ังตรงขา้ ม ถกู แรง ดดี ของไมก้ ระดานลอยตัวขน้ึ ไปการละเล่นนี้มกั จะเลน่ กนั ในวันหยุดตามประเพณี ตา่ งๆเช่นวนั ข้นึ ปใี หมท่ างจนั ทรคติ วันชูซกหรือวนั ทาโนะ๊ https://images.app.goo.gl/RR8v1a9FM2bRLEEE6

หรอื ในภาษคาญำ่ีปนุน่ ำเรยี กวา่ “โก” และคน ไทยเรยี กว่าหมากล้อมกก เป็นการละเล่นบนกระดาน 4 เหลี่ยม โดยมผี เู้ ล่น 2 คนผลดั กนั วางหมากสขี าว และสดี า สลบั กัน ลงบนจุดตดั บนกระดาน เพ่อื แย่งชงิ พ้ืนที่กันโดย ใครท่สี ามารถครอบครองพ้นื ท่ไี ดม้ ากกว่า กจ็ ะเปน็ ผชู้ นะไป พาดุกเป็นการละเลน่ ที่เป็นทีน่ ิยมไปทั่วโลก ซ่งึ กลายเป็น การละเล่นสากลทมี่ ีการจัดการแขง่ ขันกนั อยา่ งจริงจงั พาดกุ นัน้ มี ความซับซ้อน และหลากหลายมาก จนสามารถกล่าว ไดว้ า่ ตงั้ แตก่ าเนดิ พาดุกมา ไมม่ ีหมากกระดานใดทเี่ ดิน เหมือนกนั เลย https://images.app.goo.gl/Sc5goUaBBAhVNrWm7

การละเคลน่ ำแบนบไำม้ 4 แท่ง ยุทนอริ จัดเป็นการละเล่นของเกาหลแี ทๆ้ ซง่ึ จะนยิ มเลน่ กนั ใน เดอื นชว่ งเดอื น มกราคมในจนั ทรคติและวนั ขนึ้ ปใี หมโ่ ดย คาว่ายุท เป็นคา ๆ หนง่ึ ในเกมสน์ ้ี (โด, เก, กล, ยทุ และ โม) หมายความวา่ “ส่ี” เกมสม์ คี วามคล้ายคลงึ กบั เกมส์ พาชีสิ แต่การเล่นแบ่งออกเป็น 2 ทีม วธิ เี ล่นกโ็ ยนไมท้ ง้ั สี่ แลว้ เมอ่ื ไดผ้ ลลพั ธ์เป็นอะไรก็เดนิ หมากไปรอบ ๆ ตามนน้ั แบ่งเปน็ สองที https://images.app.goo.gl/zxwNwKPjHav1HzKeA

คำนำ 1. การทักทาย คนเกาหลีทา : การกลา่ วคาทกั ทายและคาขอบคณุ นั้น คนเกาหลจี ะต้องก้มศีรษะคานบั เสมอ สว่ นการโค้งตา่ ระดบั ไหนน้ัน จะขึน้ อยูก่ ับความอาวโุ สของอีกฝา่ ย นน่ั เอง คนเกาหลีไมท่ า : การกลา่ วทักทายดว้ ยการโอบกอดใน ท่สี าธารณะ ซึ่งเปน็ สงิ่ ทไี่ มค่ วรทากบั คนท่ีเพ่งิ เจอกนั เป็นครง้ั แรกหรอื ไมไ่ ดส้ นทิ สนมกันพอสมควร นอกเสีย จากเป็นการกอดเพอ่ื การล่าลา

2. การเรียกผ้อู นื่ คำนำ คนเกาหลีทา : การเรยี กคนทไี่ มร่ ู้จกั กัน หรอื ไมร่ ู้จักชื่อ จะ ใช้คาพูดทเ่ี ปน็ การเกรน่ิ นาขึ้นมาก่อนไม่ไดม้ คี าเรยี กบุคคล น้ันตายตัว เช่น ขอโทษนะคะ,ไม่ทราบวา่ แต่อาจจะใช้คา สรรพนามท่สี ามารถ ใช้เรียกได้เลย เช่น 아저씨 (อาจอช)ี ซึ่งแปลว่า คุณลงุ หรือ 아줌마 (อาจมุ ม่า) ซง่ึ แปลวา่ คุณป้า การเรียกคนท่มี ีอายมุ ากกว่า จะไม่เรยี กชื่อ เขา แต่จะใช้สรรพนามใหเ้ หมาะสมกบั เขาคนน้นั แตถ่ า้ เรียกคนทม่ี ีอายนุ อ้ ยกว่า หรือเปน็ เพอ่ื นรุน่ เดยี วกนั สามารถ เรียกช่อื ได้ หรอื อาจใชส้ รรพนามแทนกไ็ ด้ คนเกาหลีไมท่ า : จะไม่เรียกคนทไี่ ม่รจู้ ักกันหรือไมร่ จู้ ักชอ่ื วา่ 너 (นอ) ซึง่ แปลว่า คุณหรือเธอเพราะเปน็ คาที่ใช้เรยี ก กนั เฉพาะเพอื่ นหรอื คนสนิทเท่าน้นั ขอ้ แตกต่างระหวา่ งคนไทยกบั คนเกาหลอี กี อย่างคือ การเรียกชอ่ื บา้ นเราไมว่ า่ จะสนทิ กันมากหรือไม่กต็ าม ก็ สามารถเรียกชือ่ เลน่ ได้

3. การรบั ประทานอาหาร คำนำ คนเกาหลีทา : ใชต้ ะเกยี บโลหะกับชอ้ นยาวโดยใช้ช้อน รบั ประทานขา้ วซุป และสตูว์ และใช้ตะเกียบกบั เครื่องเคียง แบบอาหารแห้ง เคี้ยวอาหารหรอื ซดนา้ ซุปเสียงดัง เพ่ือแสดง ความอรอ่ ย (คล้ายวัฒนธรรมจนี และญ่ีปุ่น) วางช้อนและ ตะเกียบลงบนโตะ๊ เม่ือทานเสรจ็ แล้วนอ้ มรับคาชมเก่ยี วกบั รสชาติอาหารและบรกิ ารผูน้ ้อย กอ่ นจะรบั ประทานอาหาร ตอ้ งรอให้ผู้อาวุโสท่สี ุดเปน็ ฝา่ ยบอกเรมิ่ การรับประทานอาหาร เสมอ คนเกาหลีไมท่ า : ใช้ชอ้ นและตะเกียบพร้อมกนั ปกั ตะเกยี บไว้ ในชามข้าว เพราะถอื วา่ เป็นการเซน่ ไหวค้ นตาย ยกจานหรอื ชามขน้ึ มาขณะรับประทานอาหาร การพดู คยุ ระหวา่ งม้อื อาหารที่มากเกินไป การสั่งนา้ มูกในโตะ๊ อาหาร ลุกจากโต๊ะ อาหารกอ่ นทผี่ อู้ าวุโสทสี่ ดุ จะรบั ประทานเสรจ็ รินเครอ่ื งด่ืมให้ ผู้อน่ื ขณะทเี่ คร่ืองด่ืมในแกว้ ยังไมห่ มด

4. การแสดงออก คำนำ คนเกาหลที า : การจับมอื ทกั ทายกันอยา่ งสุภาพโอบกอดในที่ สาธารณะทาเฉพาะกรณเี พอ่ื การล่าลา แสดงออกอย่างออ่ น นอ้ มถ่อมตน ชาวเกาหลีจะแสดงแสดงความคิดเห็นดว้ ยความ ระมัดระวงั รอบ คอบเพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ให้ผอู้ น่ื เกดิ การเขา้ ใจหรอื ตีความหมายผดิ คนเกาหลีไม่ทา : การแสดงความรักระหวา่ งเพศในทีส่ าธารณะ (เชน่ กอด, จูบ) ถูกเนอ้ื ตอ้ งตัว โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งบริเวณ ศรี ษะนอกจากจะแสดงความเอ็นดตู อ่ เดก็ เลก็

5. การใช้มือ คำนำ คนเกาหลเี วลาท่ีจะมอบและรบั สงิ่ ของหรือรบั สิง่ ของจาก ผู้ใหญจ่ ะทาโดยการใชม้ อื ท้งั สองมอื ในการรบั ถา้ รบั ของจาก ผู้ใหญโ่ ดยใชม้ ือเดียวจะถือวา่ เปน็ การเสยี มารยาทๆ เท่านัน้ 6.ชอื่ คนเกาหลี ชาวเกาหลสี ่วนใหญ่จะมีช่อื สกุลจากดั อยูใ่ น ไม่กี่กลมุ่ ชอ่ื เช่น 21% จะมีชื่อสกุลว่า คมิ 14% จะมีชอ่ื สกลุ ว่า ยี, ลี หรอื รี 8% มีชอ่ื สกลุ วา่ ปาร์ค นอกจากนั้นกม็ ีช่อื สกุลแตกออกไปอีกเช่น ชอย (หรือ แช) เจงิ (หรือ ชงุ ) จาง (หรอื ชาง) ฮัน , ลมิ เปน็ ต้น ช่อื เตม็ ของชาวเกาหลกี จ็ ะ ประกอบดว้ ย ชื่อสกุล 1 พยางค์และชอื่ หน้า 2 พยางค์ ช่อื สกลุ จะเขยี นก่อน

7.การสมรส ชาวเกาหลีถือวค่ากำารนสมำรสนัน้ เป็นช่วงเวลาท่ี สาคญั ทสี่ ุดในชีวิต และการหย่าร้างถือวา่ เป็นความตกตา่ เสีย ช่อื เสยี งไม่เพยี งแต่สาหรบั คู่สมรส เท่านั้น แตร่ วมไปถงึ ครอบครวั เลยทีเดยี ว แตถ่ ึงอย่างนนั้ กต็ าม อัตราหยา่ ร้างใน ปัจจบุ ันก็ขยายตวั เพม่ิ ขึ้นเร็วพอควร การประกอบพิธสี มรสใน ปจั จุบนั แตกตา่ งไปจากในสมยั โบราณ นัน่ คือในปจั จุบนั น้ีพิธี จะเรม่ิ ด้วยแบบทางตะวนั ตก น่นั คือมกี ารสวมชดุ วิวาหส์ ีขาว สาหรบั เจ้าสาวและทคั ซโี ดสาหรบั เจ้าบา่ ว โดยประกอบพธิ ใี น หอ้ งจัดพธิ วี วิ าห์ หรือในโบสถ์ 8.เจเย (พธิ เี คารพบูชาบรรพบรุ ษุ ) ตามหลกั ความเชือ่ ดัง้ เดมิ ของเกาหลีน้ัน เม่อื บคุ คลหนึ่งสนิ้ ชีวิตลง วิญญาณของเขายัง ไมไ่ ปไหน แตย่ งั วนเวียนอยใู่ กล้เปน็ เวลากว่า 4 ช่วั คนทีเดยี ว ในชว่ งเวลาอนั ยาวนานนีผ้ ู้ตายยังถกู ถอื วา่ เป็นสมาชิกของ ครอบครวั ความ สัมพนั ธ์อันนถ้ี กู ถา่ ยทอดออกมาดว้ ยพิธเี จเย ซึ่งจดั ข้ึนในวันพเิ ศษต่างๆ เช่น ซอลลั และชซู ก รวมทัง้ วนั ครบรอบวนั เสยี ชวี ติ ของบรรพบุรษุ เหลา่ น้นั

9.ภาษากาย เม่ือตอ้ งการกควกั ำมนือเรำยี กผูอ้ นื่ น้ัน ควรคว่ามอื ลงและกวกั นวิ้ เรยี กโดยใช้นิ้วชิดกนั การกวกั มอื เรยี กโดย หงายฝา่ มือขน้ึ น้นั ไม่สภุ าพ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ หากใช้นิว้ กวักเรยี ก เพราะถอื เป็นกริ ิยาเรียกสุนัขสาหรบั ชาวเกาหลี

คำนำ http://loveculturekorea.blogspot.com/

คำนำ ด.ญ.ชนดั ดา สีสุก ม.3/2 เลขที่ 4 ด.ญ.ณรี นุช ขุนศรี ม.3/2 เลขท่ี8 ด.ญ.อมรรัตน์ ศรสี าปทวน ม.3/2 เลขท่ี 28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook