Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานทวีปยุโรป (ณชนก ม3/2)

งานทวีปยุโรป (ณชนก ม3/2)

Published by nachanokwinathi, 2021-07-21 19:29:30

Description: งานทวีปยุโรป (ณชนก ม3/2) ใช้สำหรับส่งงาน

Search

Read the Text Version

ประวตั ศิ าสตร์ ทวปี ยุโรป จดทำโดย ด.ช. ณชนก อธิปัญญำคม เลขท่ี 22 หอ้ งม 3/2

ลำกบั เหตกุ ำรณ์

ลำดับเหตกุ ำรณ์ ยุคกอ่ นประวัตศิ ำสตร์ กระดกู ของมนุษยย์ ุคแรก ๆ ในยุโรปถูกพบทเ่ี มอื ง ประเทศจอรเ์ จยี ซงึ่ กระดกู เหล่ำนั้นคำดว่ำมอี ำยุรำว ๆ 2 ล้ำนปี ก่อน ครสิ ตกำล หลักฐำนของมนุษยท์ มี่ ีโครงสร้ำงสรีระคล้ำยมนุษยป์ ัจจบุ ันทป่ี รำกฏในยุโรปทเี่ กำ่ ทสี่ ุดนั้นคือประมำณ 35,000 ปี กอ่ นครสิ ตกำล แต่ หลักฐำนแสดงกำรตงั้ รกรำกถำวรนั้นแสดงอยู่รำว ๆ 7000 ปี กอ่ นครสิ ตกำลในประเทศบัลแกเรีย โรมำเนีย และ กรซี ยโุ รปกลำงเข้ำสู่ยุคหนิ ใหม่ ในช่วงรำว ๆ 6000 ปี ก่อนคริสตกำลก่อนหลำย ๆ ทใ่ี นยุโรปเหนือซง่ึ เข้ำสู่ยุคหนิ ใหม่ในช่วงรำว ๆ 5000 ถงึ 4000 ปี ก่อน คริสตกำล รำว ๆ 2000 ปี ก่อนคริสตกำลเร่ิมมีอำรยธรรมทม่ี ีควำมรู้ทำงกำรอ่ำน-เขียนในยุโรปคอื อำรยธรรมของพวกมิโนน ทเี่ กำะ และตำมด้วยพวกไมเซ เนียน (ทงั้ สองอำรยธรรมอยรู่ ำว ๆ บรเิ วณซง่ึ เป็ นประเทศกรีซในปัจจุบนั ) รำว ๆ 400 ปี ก่อนครสิ ตกำล วัฒนธรรมลำทเี น่ ซงึ่ เป็ นวัฒนธรรมในยุคเหล็กไดแ้ พร่กระจำยไปเกอื บท่วั ภำคพนื้ พวกอีทรัสกนั ได้เข้ำไปตงั้ รกรำกใน ตอนกลำงของอิตำลแี ละลอมบำดี ซงึ่ อยูต่ อนเหนือของอติ ำลีปัจจบุ นั ควำมรุ่งเรอื งของกรุงโรม พวกโรมันมีกษัตรยิ ป์ กครองกนั เรื่อยมำหลังตำนำนโรมูลุส กษัตริยล์ ูกหมำป่ ำทก่ี อ่ ตงั้ กรุงโรม จนมำถงึ รุ่นของกษัตริย์ ทำควนิ เป็ นองคส์ ุดทำ้ ย ว่ำกนั ว่ำชำวโรมันไม่พอใจทท่ี ำควินสร้ำงสิ่งกอ่ สร้ำงตำ่ ง ๆ มำกมำยจนประชำชนเดอื ดร้อนทำใหม้ ีตระกูลชั้นสูงพวกแพทริ เซยี นทม่ี อี ำนำจในกรุงโรมนำโดยสกุล บรูตัส พำกันขับไล่พระองคล์ งจำกบลั ลังก์ ตงั้ แตน่ ั้นมำชำวโรมันกใ็ ช้กำรปกครองแบบสำธำรณรัฐปกครองโดยสภำซเี นตมำถงึ 400 ปี จวบจนมำถงึ ยุคของจักรพรรดอิ อกสั ตสั จกั รพรรดิ พระองคแ์ รกของจักรวรรดโิ รมัน กำรล่มสลำยของกรุงโรม พวกคนเถอ่ื นทำงตอนเหนือของยุโรปกำ้ วร้ำวบุกรุกอำณำจักรโรมันกนั เป็ นว่ำเล่น หน่ึงในนั้นมี “แอตตลิ ำ” ผู้นำของคนเถอื่ นทเี่ ป็ นตำนำน รวบรวมเหล่ำคนเถอื่ นมำไว้ดว้ ยกนั นำกำลังบุกเข้ำไปในอำณำจกั ร โรมันแต่ ถงึ กระนั้นกไ็ ม่สำมำรถทจี่ ะบกุ เข้ำไปถงึ กรุงโรมได้ถกู พวกโรมันหยุดยัง้ ไว้ไดก้ ่อน แล้วกม็ ำด่วนตำยไป แต่กำรกระทำของแอตตลิ ำกส็ ่งผลใหพ้ วกคนเถอ่ื นบกุ เข้ำไปในจกั รวรรดโิ รมัน จนในทสี่ ุดกรุงโรมกถ็ ูกตแี ตกโดยพวก เยอรมัน เป็ นกำรสนิ้ สุดอทิ ธิพลของพวกโรมันในยโุ รปตะวันตก คงเหลือแต่พวกโรมันทก่ี รุงคอนสแตนตโิ นเบลิ เทำ่ นั้นท่ี ยังคงแผ่อิทธิพลออกไป

สงครำมครูเสด ดบู ทความหลักท:ี่ สงครามครูเสด พระสันตะปำปำเรียกร้องใหช้ ำวครสิ ตท์ กุ คนนำกำลังไปช่วยเหลือจักรวรรดโิ รมันตะวันออกทกี่ ำลังถูกพวกอำหรับกลืนกนิ กองทพั ของผู้ศรัทธำนำกำลังบกุ เข้ำไปถงึ กรุง เยรูซำเลม ดนิ แดนอันศักดสิ์ ทิ ธิใ์ นพระคำภรี ฉ์ บับเก่ำของโมเสสทถี่ ูกชำวอำหรับครอบครอง กองทพั ครูเสดยดึ ดนิ แดนได้แถบรมิ ฝ่ังตะวันออกของทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียนแล้วตงั้ เป็ นประเทศ อยมู่ ำจนกำรมำถงึ ของ ซำลำดนิ สุลต่ำนอำหรับทส่ี ำมำรถ บุกยดึ กรุงเยรูซำเลมจำกพวกครูเสดได้ ตงั้ แต่นั้นมำนักรบครูเสดทถ่ี กู ส่งมำอกี หลำย ๆ ครั้งกไ็ ม่สำมำรถทจี่ ะยดึ คนื กรุงเยรูซำเลมกลับมำได้อกี เลย สงครำมร้อยปี สงครำมร้อยปี เป็ นควำมขัดแย้งระหว่ำงอังกฤษและฝร่ังเศส นำน 116 ปี นับจำก พ.ศ. 1880 ถงึ พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1337 ถงึ 1453) เร่ิม จำกกำรอ้ำงสทิ ธิข์ องกษัตริยอ์ ังกฤษเหนือบลั ลังกฝ์ ร่ังเศส คำทนี่ ักประวัตศิ ำสตรใ์ ช้นิยำมสงครำมควำมขัดแย้งแบ่งไดส้ ำมถงึ สี่ช่วง คอื สงครำมยคุ เอด็ เวิรด์ สงครำมยุคแครอไลน์ สงครำมยคุ แลงคำสเตอร์ อังกฤษกบั ฝร่ังเศสเป็ นไม้เบอ่ื ไม้เมำกันมำนำน ชำวนอรม์ ังดบี ุกไปชิงรำชบังลังกท์ เี่ กำะ อังกฤษเพรำะยังอยำกทจ่ี ะได้ดนิ แดนของบรรพบรุ ุษกลับมำอกี ครัง้ อังกฤษกบั ฝร่ังเศสจงึ ทำสงครำมกนั เรอื่ ยมำ ช่วงหลังของสงครำมอังกฤษสำมำรถบุกเข้ำไปยดึ ดนิ แดนของฝร่ังเศสไดจ้ นเกอื บจะสิน้ ชำติ แตก่ ม็ ีกำรมำถงึ ของหญิงสำว “ฌำนดำรค์ ” (โจนออฟ อำรค์ ) สำวชำวนำผู้ได้รับนิมิตจำกพระเจ้ำใหน้ ำฝร่ังเศสไปสู่เอกรำชจำกพวกอังกฤษ แต่ไม่ทนั ทจ่ี ะจบสงครำมโจนกถ็ กู จับไปเผำในข้อหำว่ำเป็ นแม่ มด แต่กำรกระทำของโจนกไ็ ม่เสียเปล่ำพวกฝร่ังเศสขับไล่อังกฤษออกจำกประเทศได้สำเร็จ

กำรปฏวิ ตั ฝิ ร่ังเศส ขณะนั้น สมัชชำตอ้ งกำรสถำปนำระบอบรำชำธิปไตยภำยใต้รัฐธรรมนูญ และในหว้ งสองปี ถดั มำ ได้ผ่ำนกฎหมำยหลำยฉบบั รวมทงั้ คำประกำศว่ำ ด้วยสิทธิมนุษยชนและสทิ ธิพลเมอื ง กำรเลิกระบบฟิ วดลั และกำรเปลีย่ นแปลงพนื้ ฐำนในควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงฝร่ังเศสกับกรุงโรม ในตอนแรก พระมหำกษัตรยิ ท์ รงยนิ ยอมกับกำรเปล่ียนแปลงเหล่ำนีแ้ ละได้รับควำมนิยมอยูพ่ อสมควรจำกประชำชน แตเ่ ม่อื กำรตอ่ ต้ำนพระมหำกษัตรยิ เ์ พมิ่ ขนึ้ ร่วมกับกำรบกุ ครองจำกต่ำงชำตทิ คี่ ุกคำม พระมหำกษัตรยิ ์ ผู้ทรงถกู ถอดพระรำชอำนำจ ตดั สินพระทยั ลภี้ ยั ไปพร้อมกับพระบรมวงศำนุวงศ์ แตม่ ี คนจำพระองคไ์ ด้และทรงถกู นำพระองคก์ ลับมำยงั กรุงปำรสี วันที่ 12 มกรำคม ค.ศ. 1793 พระองคถ์ ูกตดั สินประหำรชวี ิต ดว้ ยข้อหำกบฏ วันที่ 20 กนั ยำยน ค.ศ. 1792 สภำกงวองซยิ งแหง่ ชำติเลิกสถำบนั พระมหำกษัตรยิ แ์ ละประกำศใหฝ้ ร่ังเศสเป็ นสำธำรณรัฐ เน่ืองจำกภำวะสงครำมฉุกเฉนิ สภำกงวองซยิ งแหง่ ชำตจิ งึ ตัง้ คณะกรรมำธิกำรควำมปลอดภยั ส่วนรวม ควบคุมโดยมักซมี ีเลยี ง รอแบส็ ปี แยรแ์ หง่ สโมสรฌำกอแบง็ ขึน้ ทำหน้ำทเ่ี ป็ น ฝ่ ำยบรหิ ำรของประเทศ คณะกรรมำธิกำรฯ ภำยใต้อิทธิพลของรอแบ็สปี แยรร์ เิ ร่ิมสมัยแหง่ ควำมน่ำสะพรึงกลัว ซงึ่ ในช่วงนีม้ ปี ระชำชนกว่ำ 40,000 คนถกู ประหำรชวี ิตในกรุงปำรสี ส่วนใหญ่เป็ นชนชั้นสูง และผู้ทถ่ี กู ศำลปฏวิ ัตพิ พิ ำกษำลงโทษ โดยมักเป็ นหลักฐำนทไ่ี ม่น่ำเชอื่ ถอื สำหรับทอ่ี น่ื ใน ประเทศ กำรก่อกำรกบฏตอ่ ต้ำนกำรปฏวิ ัตถิ ูกปรำบปรำมอย่ำงโหดร้ำย ระบอบถูกโค่นในรัฐประหำรเม่อื วันที่ 9 แตรม์ ดิ อร์ (27 กรกฎำคม ค.ศ. 1794) และรอแบส็ ปี แยรถ์ ูกประหำรชีวติ ระบอบตอ่ มำยุตคิ วำมน่ำสะพรงึ กลัวและผอ่ นคลำยนโยบำยสุดโตง่ กว่ำของรอแบส็ ปี แยร์

สงคร1ำม.พนัฒโปเนลยี ำนกำรสมัยอดตี (ต้นยุคใหม่) สงครำมนโปเลียน, ฝร่ังเศส: เป็ นหน่ึงในควำมขัดแยง้ ทส่ี ำคัญทที่ ำ ใหจ้ กั รวสรงรคดรฝิ ำรม่ังเนศโสปแเลละยี พนันธมิตร นำโดยนโปเลียนท่ี 1 ตอ่ กรกบั กลุ่มอำนำจในยโุ รปทด่ี ูผันผวนซงึ่ ได้รวมตัวกนั เป็ นพันธมติ ร ซง่ึ ได้รับกำสรงสคนรับำมสนโุนปทเลำงยี กนำรเปเง็ นนิ หแนล่ึงะในนำคโดวำยมสขหัดรแำชยอง้ ทำณส่ี ำำคจัญักรทที่มำันใถหกู จ้ ักรวรรดฝิ ร่ังเศสและพันธมติ ร นำโดยนโปเลยี นท่ี 1 ตอ่ กรกับกลุ่มอำนำจในยุโรปทดี่ ผู ัน สร้ำงขึน้ ผใวนนชซ่วงึ่ งไเดว้รลวำมอตันัวสกัน้ นั ๆเปข็ นอพงกันำธรมปิตกรคซรงึ่อไงดฝ้รรับ่ังเกศำสรใสนนยับุโสรปนุสน่วทนำงกำรเงนิ และนำโดยสหรำชอำณำจักร มันถกู สร้ำงขึน้ ในช่วงเวลำอันสัน้ ๆ ของกำร ใหญ่ สงปคกรคำรมอคงรฝั้งรน่ังีเ้ กศดิสจในำกยขุโร้อปพสพิ ่วำนทใทหยี่ญงั ่ไสมง่ไคดรร้ ำับมกคำรรั้งแนกีเ้ ้ไกขดิ ทจี่ ำกข้อพพิ ำททยี่ งั ไม่ไดร้ ับกำรแก้ไขทเ่ี กย่ี วข้องกับกำรปฏวิ ัตฝิ ร่ังเศสและผลลัพธข์ องควำม เกยี่ วข้อขงัดกแับยก้งำครรปั้งฏนวิี้ สัตงฝิ ครร่ังำเศมสมแักลแะบผ่งลอลอัพกธเปข์ ็ นอคงควำวมำมขขัดัดแแยยง้ ห้งคำ้ ครั้งรั้ง แตล่ ะครัง้ จะเรียกตำมชอ่ื สหสัมพันธมิตรทตี่ ่อสู้กับนโปเลียน: สหสัมพันธมิตรครั้งท่ี นี้ สงครสำำมมมัก(คแ.ศบ.ง่ 1อ8อ0ก5เ)ปค็ นรคั้งทวำสี่ มี่ (ขคัด.ศแ.ย1ง้ 8ห0ำ้ 6ค-0ร7ัง้ )แคตรล่ั้งทะคห่ี รำ้ งั้ จ(คะ.เศร.ีย1ก809) ครัง้ ทหี่ ก (ค.ศ. 1813-14) และครัง้ ท่ี 7 (ค.ศ. 1815) เป้ำหมำยของสงครำมครัง้ นีค้ ือ ตำมชื่อกสำหรสจัมดั พตันง้ รธัฐมบิตำรลททต่ี มี่ อ่ ีคสวู้กำบั มนมโ่ันปคเลงใียนนฝ:รส่ังัมเศพสันใธนมขิตณรคะรทั้งไี่ ทดี่้แสดงใหท้ ่วั ทงั้ ยโุ รปเหน็ ว่ำ กองทพั ทพ่ี วกเขำรวบรวมมำไดน้ ั้นมีไว้เพอื่ ปกป้อง สำม (ค.ศ. 1805) ครั้งทสี่ ี่ (ค.ศ. 1806-07) ครั้งทห่ี ำ้ (ค.ศ. 1809) ครั้งที่ หก (ค.ศ. 1813-14) และครั้งที่ 7 (ค.ศ. 1815) เป้ำหมำยของสงครำม ครั้งนีค้ อื กำรจัดตัง้ รัฐบำลทม่ี คี วำมม่ันคงในฝร่ังเศส ในขณะทไี่ ด้ แสดงใหท้ ่วั ทงั้ ยโุ รปเหน็ ว่ำ กองทพั ทพ่ี วกเขำรวบรวมมำได้นั้นมีไว้ เพอ่ื ปกป้อง

สงครำมโลกครั้งท่ี 1 สงครำมโลกครั้งทห่ี นึ่ง ยงั เป็ นทรี่ ู้จกั กนั คือ \"สงครำมโลกครัง้ แรก\" หรือ \"มหำสงครำม\" เป็ นสงครำมท่วั โลกทก่ี นิ เวลำจำกวันที่ 28 กรกฎำคม ค.ศ. 1914 ถงึ 11 พฤศจกิ ำยน ค.ศ. 1918 โดยถกู อธิบำยอย่ำง ใคร่ครวญว่ำเป็ น \"สงครำมเพอ่ื ยุตสิ งครำมทงั้ หมด\" มันนำไปสู่กำรระดมพลบุคลำกรทำงทหำรมำกกว่ำ 70 ล้ำนนำย รวมทงั้ ชำวยโุ รป 60 ล้ำนคน ทำใหเ้ ป็ นหน่ึงในสงครำมขนำดใหญ่ทส่ี ุดในประวัตศิ ำสตร์ นอกจำกนีย้ งั เป็ นหน่ึงในควำมขัดแยง้ ทอ่ี ันตรำยร้ำยแรงทส่ี ุดในประวัตศิ ำสตร์ โดยมผี ู้เสียชวี ติ ประมำณ เก้ำล้ำนคนและพลเรือนเสียชวี ิต 13 ล้ำนคนอันเป็ นผลโดยตรงจำกสงครำม ในขณะทไ่ี ดเ้ กดิ กำรฆ่ำล้ำง เผ่ำพนั ธุแ์ ละกำรระบำดครั้งใหญ่ของไข้หวัดใหญ่สเปนในปี ค.ศ. 1918 ทำใหม้ ีผู้เสียชีวิตอีก 17 - 100 ล้ำนคนท่วั โลกเมอ่ื วันที่ 28 มถิ นุ ำยน ค.ศ. 1914 กัฟรโี ล ปรินซปี ชำวเซริ บ์ บอรส์ เนีย นักชำตนิ ิยมยโู ก สลำฟ ไดล้ อบปลงพระชนม์ อำรช์ ดยุก ฟรันซ์ แฟรด์ นี ันท์ รัชทำยำทแหง่ ออสเตรีย-ฮังกำรี ในเมอื ง ซำรำเยโว ได้นำไปสู่วิกฤตกำรณเ์ ดอื นกรกฎำคมในกำรตอบสนอง ออสเตรยี -ฮงั กำรไี ด้ยน่ื คำขำดตอ่ เซอรเ์ บยี เม่อื วันท่ี 23 กรกฎำคม คำตอบของเซอรเ์ บยี ได้ล้มเหลวในกำรสร้ำงควำมพงึ พอใจให้กับชำว ออสเตรีย และทงั้ สองฝ่ ำยต่ำงได้เข้ำสู่สงครำม และไดเ้ ช่อื มโยงใหป้ ระเทศอืน่ ๆเข้ำสงครำม

สงครำมโลกครั้งที่ 2 สงครำมโลกครัง้ ทส่ี อง หรอื เป็ นสงครำมท่วั โลกกนิ เวลำตัง้ แต่ปี 1939 ถงึ 1945 ประเทศ ส่วนใหญ่ในโลกมสี ่วนเกย่ี วข้อง รวมทงั้ รัฐมหำอำนำจทงั้ หมด แบง่ เป็ นพันธมิตรทำง ทหำรคู่สงครำมสองฝ่ ำย คือ ฝ่ ำยสัมพันธมติ รและฝ่ ำยอักษะ เป็ นสงครำมทก่ี ว้ำงขวำง ทสี่ ุดในประวัตศิ ำสตร์ มที หำรกว่ำ 100 ล้ำนนำยจำกกว่ำ 30 ประเทศเข้ำร่วมโดยตรง สงครำมนีม้ ีลักษณะเป็ น \"สงครำมเบด็ เสร็จ\" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครำมหลักทมุ่ ขีด ควำมสำมำรถทำงเศรษฐกจิ อุตสำหกรรมและวทิ ยำศำสตรท์ งั้ หมดเพอื่ ควำมพยำยำม ของสงครำม โดยลบเส้นแบง่ ระหว่ำงทรัพยำกรของพลเรอื นและทหำร ประเมนิ กันว่ำ สงครำมมีมูลค่ำรำว 1 ล้ำนล้ำนดอลลำรส์ หรัฐ ประเมินกนั ว่ำมผี ู้เสียชีวติ ระหว่ำง 50 ถงึ 85 ล้ำนคน ดว้ ยประกำรทงั้ ปวง สงครำมโลกครัง้ ทสี่ องจงึ นับว่ำเป็ นสงครำมขนำดใหญ่ ทสี่ ุด ใช้เงนิ ทนุ มำกทส่ี ุด และมีผู้เสยี ชวี ิตสูงสุดในประวัตศิ ำสตรม์ นุษยชำติ สงครำมในยโุ รปยตุ ลิ งหลังกองทพั แดงยดึ กรุงเบอรล์ นิ ได้ และกำรยอมจำนนอย่ำงไม่มี เงอื่ นไขของเยอรมนีเมือ่ วันท่ี 8 สิงหำคม 1945 แม้จะถูกโดดเดยี่ วและตกอยู่ในสภำพ เสยี เปรยี บอยำ่ งยงิ่ ญี่ป่ ุนยงั ปฏเิ สธทจี่ ะยอมจำนน กระท่งั มีกำรทงิ้ ระเบดิ นิวเคลยี รส์ อง ลูกถล่มญี่ป่ นุ และกำรบกุ ครองแมนจเู รยี จงึ ได้นำไปสู่กำรยอมจำนนอย่ำงเป็ นทำงกำร ของญป่ี ่ นุ เม่อื วันท่ี 2 กนั ยำยน 1945 สงครำมยุตลิ งดว้ ยชยั ชนะของฝ่ ำยสัมพนั ธมติ ร

สงครามเยน็ • สงครำมเยน็ เป็ นช่วงเวลำแหง่ ควำมตงึ เครยี ดทำงดำ้ นภูมศิ ำสตรร์ ะหว่ำงสหภำพโซเวียตและสหรัฐอเมรกิ ำและประเทศพันธมิตรจำกทงั้ กลุ่มตะวันออก และกลุ่มตะวันตก ภำยหลังจำกสงครำมโลกครั้งทสี่ อง นักประวัตศิ ำสตรย์ งั ไม่ตกลงกันทงั้ หมดว่ำสงครำมเยน็ คือช่วงใดกันแน่ แต่ช่วงเวลำโดยท่วั ไป ดังกล่ำวจะนับตงั้ แต่กำรประกำศลัทธิทรูแมน ปี ค.ศ. 1947 จนกระท่งั กำรล่มสลำยของสหภำพโซเวยี ตในปี ค.ศ. 1991 ดว้ ยลัทธิอำนำจทำลำยล้ำงซงึ่ กนั และกันไม่เหน็ ด้วยทจ่ี ะใหม้ กี ำรโจมตลี ่วงหน้ำโดยฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่ง นอกเหนือจำกกำรพัฒนำคลังเกบ็ อำวุธนิวเคลยี รแ์ ละกำรใช้งำนทำงทหำรตำมแบบ แผน กำรต่อสู้เพอื่ ครอบงำได้ถูกแสดงออกโดยวธิ ีทำงอ้อม เช่น สงครำมทำงจติ วิทยำ กำรทพั โฆษณำชวนเช่อื กำรจำรกรรม กำรคว่ำบำตรระยะไกล กำร แข่งขันชงิ ดชี งิ เดน่ กนั ในงำนกฬี ำและกำรแข่งขันทำงเทคโนโลยี เช่น กำรแข่งขันอวกำศ กาแพงเบอร์ลิน • ในปี ค.ศ. 1945 ภำยหลังกองทพั นำซเี ยอรมัน ภำยใต้กำรนำของอดอลฟ์ ฮติ เลอร์ ไดพ้ ำ่ ยในสงครำมโลกครัง้ ทสี่ อง กองทพั สัมพนั ธมิตรไดเ้ ข้ำยดึ ครองประเทศ เยอรมัน และตอ่ มำ 4 ประเทศมหำอำนำจทเี่ ป็ นแกนนำในสงครำมครั้งนั้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกำ อังกฤษ ฝร่ังเศส และสหภำพโซเวียต ไดท้ ำสนธิสัญญำในกำรแบ่ง กำรดแู ลประเทศเยอรมันออกเป็ น 4 ส่วนภำยใตก้ ำรดแู ลของแตล่ ะประเทศ และเช่นกนั กรุงเบอรล์ นิ เมืองหลวงของประเทศ ไดถ้ ูกแบง่ เขตกำรปกครองออกเป็ น 4 ส่วนเช่นเดยี วกัน • ปี ตอ่ มำ เยอรมนีภำยใต้กำรปกครองของ 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกำ อังกฤษ และฝร่ังเศส รวมกนั จดั ตงั้ เป็ นประเทศสหพนั ธส์ ำธำรณรัฐเยอรมนี หรอื เยอรมนี ตะวันตก ในขณะทเี่ ยอรมนีส่วนทอ่ี ยูภ่ ำยใตก้ ำรปกครองของสหภำพโซเวียต ได้จัดตงั้ เป็ นประเทศสำธำรณรัฐประชำธิปไตยเยอรมนี หรือ เยอรมนีตะวันออก ในช่วง แรก ประชำชนของทงั้ สองประเทศสำมำรถเดนิ ทำงข้ำมแดนไปมำหำสู่กันได้เป็ นปกติ แต่เม่ือเวลำผ่ำนไปนำนขึน้ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกำรปกครองแบบ พปทกรุฒั ะอนชยำำำ่ ธงแิปถลไูกะตเฟปยื้นใลนฟื่ยเนปู ยมรอะอืรเไมทปนศเีตปอ็ะนำวขคันอำตรงกบรัฐ้ำแนเลปเะร็ นกอื เำนหรตตป่ำใุกงหคผ้ๆรู้คอทนงพ่ีใพนังำรทกะลันบำอบยพคในยอพชม่วขมง้ำิวสมนงถิสคนิ่ ตรจำใ์ ำมนกโเลยเยอกอไรรดมม้รนนับีตีตกะำะวรวันบันอูรออณอกกะมไสปคี ่วยวนังำเเมยยแออตรรกมมตนนำ่ีตีตงะะทววเี่ ันันดอต่นอกชกกัดทันขกุมึน้ อำใกยนขำ่ ขงนึ้ กณลทะับำทใสเี่หยวเ้อนยรทอมำรนงมกีตนนั ะีตวะยันวิ่งตันไปกอไกอดวก้ร่ำปับนรกั้นะำธสรุรบกจิ ปัญหำกำรขำดแรงงำน เฉพำะในปี ค.ศ. 1961 เพยี งปี เดยี ว ซง่ึ มขี ่ำวลือว่ำ ทำงเยอรมนีตะวันออกจะปิ ดกัน้ พรมแดนระหว่ำงสองประเทศ ทำใหผ้ ู้คนกว่ำ 3 ล้ำนคน พำ กันอพยพไปยังเยอรมนีตะวันตก เป็ นจุดเร่ิมต้นทท่ี ำใหร้ ัฐบำลเยอรมนีตะวันออก ภำยใตก้ ำรควบคุมของสหภำพโซเวยี ตไดเ้ ร่งสร้ำงกำแพงกนั แนวระหว่ำงสอง ประเทศ และรวมไปถงึ แนวกำแพงทปี่ ิ ดล้อมกรุงเบอรล์ นิ ฝ่ังตะวันตกอกี ดว้ ย

เศรษฐกิจในทวปี ยโุ รป เศรษฐกิจในทวปี ยโุ รป (ยคุ กลาง)

ระยะตน้ เริ่มต้งั แต่การล่มสลายของจกั รวรรดิโรมนั ตะวนั ตกใน ค.ศ.476 จนถึงประมาณ ค.ศ.1000 เป็นสมยั ของการก่อรูปของอารยธรรมและ สงั คมของยโุ รปใหม่ ซ่ึงเป็นสมยั ที่มีความตกต่าทางการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม ซ่ึงนกั ประวตั ิศาสตร์เรียกช่วงเวลาน้ีวา่ ยคุ มืด เม่อื ชนเผ่ำเยอรมันเขำ้ มำตัง้ ถน่ิ ฐำนภำยในดนิ แดนต่ำงๆแล้ว ได้เปลย่ี นวถิ ชี วี ติ มำเป็ นเกษตรกรรมใช้ระบบนำโล่ง พชื ทปี่ ลูกส่วนใหญ่ คอื ข้ำวสำลี ข้ำวโอ๊ต และขำ้ วบำรเ์ ลย์ ส่วนระบบชลประทำนขนำดใหญ่ถกู ละเลยตัง้ แตช่ ่วงเวลำสิน้ สุดสมัยโรมัน ในสมัยจกั รพรรดชิ ำรเ์ ลอมำญ ได้พยำยำมทำนุบำรุงโครงสร้ำงพนื้ ฐำนทำงเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ สร้ำงสะพำน ขุดคลอง จดั ระบบกำรพำณิชย์ กำหนดมำตรำช่งั ตวง วัด ผลติ เงนิ ตรำ ในช่วงคริสตศ์ ตวรรษท9่ี นีไ้ ด้เกิดระบบฟิ วดลั ขนึ้ ระบบนีค้ รอบคลุมทัง้ ดำ้ นเศรษฐกจิ สังคม และระบบกำรเมืองกำรปกครอง ของยุโรปสมัยกลำงในเวลำต่อมำ มำจำกคำว่ำ Fiefs หมำยถงึ ทดี่ นิ ทเี่ ป็ นพนั ธสัญญำระหวำ่ งเจ้ำนำย ซง่ึ เป็ นเจ้ำของทดี่ นิ กับผู้ใช้ ประโยชนใ์ นทดี่ นิ ทเี่ รียกวำ่ ขำ้ พวกเจำ้ ของทด่ี นิ จะเป็ นพวกขุนนำง เรียกว่ำ ลอรด์ ส่วนผู้ทอ่ี ยูใ่ ต้อำนำจของขนุ นำงเรียกว่ำ วสั ซัล เศรษฐกิจในทวปี ยโุ รป

ระยะกลาง ระยะกลางเร่ิมต้งั แต่ ค.ศ.1000-1350 ช่วงเวลาน้ีเป็นระยะเวลาแห่งการเปล่ียนแปลง เนื่องจากสงั คมตะวนั ตกมีประชากรเพิ่มข้ึน คริสตศ์ าสนาและระบบฟิ วดลั มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด และเริ่มมีพฒั นาการในหลายดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม รวมท้งั ภูมิปัญญา ในระยะแรกกำรคำ้ ซบเซำ เน่ืองจำกในระบบฟิ วดัลแตล่ ะแมเนอรม์ ีระบบเศรษฐกจิ ทพี่ ง่ึ ตนเองได้ แต่เม่ือเกดิ สงครำมครูเสดซงึ่ เป็ นสงครำม ระหว่ำงคริสตศ์ ำสนำกับศำสนำอสิ ลำมในช่วงครสิ ตศ์ ตวรรษท1ี่ 1-12ผู้คนออกไปสู่โลกภำยนอกทำให้เกดิ ควำมตอ้ งกำรสนิ คำ้ ระบบเศรษฐกิจ เริ่มมกี ำรขยำยตวั อกี ครั้ง โดยเฉพำะกำรค้ำและอุตสำหกรรมในหวั เมืองสำคญั ในอติ ำลี เชน่ เวนิส เจนัว และเขตเมืองในเนเธอรแ์ ลนด์ พ่อค้ำเริ่มมีกำรตดิ ต่อกำรค้ำระหวำ่ งประเทศ กำรค้ำทำงบกมีควำมเจริญไม่น้อยไปกวำ่ กำรค้ำทำงทะเล มกี ำรตงั้ ศูนยก์ ำรค้ำในหวั เมือง ท้องถน่ิ โดยกำรร่วมลงทุนระหวำ่ งพ่อคำ้ กับคนในทอ้ งถนิ่ กำรค้ำทำงทะเลเริ่มมคี วำมเจริญรุ่งเรืองขนึ้ เรื่อยๆโดยเฉพำะในเขตทะเลเหนือ และทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียน สินคำ้ จำกต่ำงแดนได้แพร่สะพดั เขำ้ มำในยุโรป ผลจำกกำรขยำยตวั ของกำรค้ำทำใหเ้ กิดชุมชนกำรค้ำและอุตสำหกรรม ส่งผลให้ชำวชนบทละทงิ้ ทนี่ ำเขำ้ มำประกอบอำชพี ค้ำขำยหรอื ประกอบอำชพี ผลติ สนิ คำ้ หตั ถกรรมในเขตเมอื ง ทำให้สังคมเมืองมกี ำรขยำยตวั เริ่มเกดิ ระบบเงนิ ตรำขนึ้ มำใหม่อกี ครั้ง เพอื่ ใช้ในกำรซือ้ ขำยสนิ ค้ำ และเกิดสมำคมอำชพี ซึง่ แบ่งเป็ นสมำคมพ่อคำ้ และสมำคมกำรชำ่ ง ซง่ึ เม่ือพวกนีม้ ฐี ำนะทำงกำรเงนิ ม่ันคงขนึ้ ก็ได้มสี ่วนสนับสนุน ระบอบสมบูรณำญำสทิ ธิรำชย์ เพอ่ื ใหค้ ุ้มครองกจิ กำรทำงเศรษฐกจิ ของตน เอง เศรษฐกิจในทวปี ยโุ รป

ระยะปลาย สมยั น้ีมีช่วงระยะเวลาระหวา่ งค.ศ.1350-1500 ช่วงเวลาน้ีเป็นช่วงระยะเวลาของการเปล่ียนแปลงไปสู่ความเป็นสมยั ใหม่ ท้งั ดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม ศาสนาถูกลดบทบาทลง ความคิดแบบมนุษยนิยมเริ่มเขา้ มามีบทบาทในทศั นคติและความคิดของคนในสังคม ในช่วงเวลาน้ีเป็นช่วงเวลาที่มีความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในดินแดนต่างๆของยโุ รปตะวนั ตก ปรากฏการณ์ทางการเมืองท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ ความเส่ือมของจกั รวรรดิโรมนั อนั ศกั ดสิสิทธสิHoly Roman Empire และการเกิดรัฐชาติข้ึนในฝร่ังเศส องั กฤษ และสเปน สงครำมร้อยปี ระหว่ำงอังกฤษกับฝร่ังเศสในช่วงคริสตศ์ ตวรรษท่ี14-15จึงยง่ิ ทำให้ขุนนำงเสื่อมอำนำจอยำ่ งรวดเร็ว เปิ ดโอกำสให้กษัตริยส์ ำมำรถรวบรวมอำนำจและก่อตั้งรัฐขนึ้ มำได้ใน เวลำต่อมำ เกิดเป็ นรัฐชำตภิ ำยใต้กำรนำของกษัตริย์ เศรษฐกิจในช่วงนีส้ ำมำรถแบ่งไดเ้ ป็ น2ช่วงเวลำไดแ้ ก่ 1.ช่วงคริสตศ์ ตวรรษท1ี่ 4 เป็ นช่วงเวลำของควำมเสอื่ มโทรมทำงเศรษฐกจิ ของยโุ รปทั้งดำ้ นเกษตรกรรม อุตสำหกรรม และกำรค้ำ โดยมสี ำเหตุมำจำกสภำวะสงครำมและเกดิ กำฬโรคระบำดคร้ังใหญ่ในทวีป ยโุ รป ซึง่ ส่งผลกระทบ ทำใหข้ ำดแคลนอย่ำงรุนแรง เพรำะประชำชนล้มตำยเป็ นจำนวนมำก 2.ช่วงครสิ ตศ์ ตวรรษท1่ี 5 ระบบเศรษฐกิจไดก้ ลับมำเจริญรุ่งเรอื งอีกครั้งหน่ึง กจิ กำรอุตสำหกรรมไดร้ ับกำรพฒั นำ ซ่งึ โดยส่วนใหญ่เป็ นกจิ กำรดำ้ นช่ำงฝี มอื กำรทอผ้ำ และกำรทำเหมืองแร่ ควำมเจริญก้ำวหน้ำ ทำงด้ำนเศรษฐกิจในเขตเมืองทำใหร้ ะบบเศรษฐกจิ แบบฟิ วดัลต้องเสอ่ื มลง ช่วงครสิ ตศ์ ตวรรษท1ี่ 5 เกดิ กลุ่มนำยทนุ ซ่งึ ลงทนุ ในกจิ กำรดำ้ นตำ่ งๆ ในช่วงปลำยศตวรรษท1ี่ 5 ควำมเจรญิ ก้ำวหน้ำทำงดำ้ นกำรเดนิ เรอื ทำใหช้ ำวยุโรปค้นพบดนิ แดนแห่งใหม่ๆซ่ึงเหมำะแก่กำรตั้งถ่ินฐำนและเป็ นแหล่งวัตถุดบิ ทำให้ชำวยโุ รปอพยพไป ยงั ดนิ แดนแหง่ ใหม่พร้อมกับยดึ ครองดินแดนแห่งนีเ้ ป็ นสถำนีกำรค้ำ กำรขยำยตัวทำงกำรค้ำและกำรยดึ ครองดนิ แดนทำใหช้ นช้ันนำยทุนร่ำรวยขึน้ แต่ชนช้ันขุนนำงและชนช้ันแรงงำนต้องยำกจนลง พวกนำยทุนได้ให้กำรสนับสนุนสถำบันกษัตรยิ เ์ พอื่ ปกป้องคุ้มครองกจิ กำรทำงเศรษฐกิจของตน ขณะทพ่ี วกขุนนำงต้องยอมอ่อน น้อมต่อกษัตริยแ์ ละชนชั้นนำยทุนขุนนำงท่ตี อ้ งกำรขำยทดี่ นิ ให้แก่ชนชั้นอื่นๆ จึงเริม่ มีกำรลงทุนในทด่ี นิ ทำงดำ้ นเกษตรกรรมเพอื่ หวังผลกำไร ทำให้เศรษฐกิจแบบฟิ วดลั ต้องยุตลิ งใน ครสิ ตศ์ ตรวรรษท1่ี 6

เศรษฐกิจในทวปี ยโุ รป เศรษฐกิจในทวปี ยโุ รป (ยคุ ปัจจุบนั )

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ทุนนิยม เป็ นระบบเศรษฐกจิ ซงึ่ เจ้ำของเอกชนเป็ นผู้ควบคุมกำรค้ำ อุตสำหกรรมและวถิ กี ำรผลติ โดยมี เป้ำหมำยเพอ่ื ทำกำไรในเศรษฐกจิ แบบตลำด คุณลักษณะสำคัญของทุนนิยม ไดแ้ ก่ กำรสะสมทุน ตลำด แข่งขันและค่ำจำ้ งแรงงำน ในเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม โดยท่ัวไปภำคใี นปฏสิ ัมพันธก์ ำหนดรำคำทมี่ กี ำร แลกเปลย่ี นสนิ ทรัพย์ สนิ ค้ำและบริกำร

ระบบสังคมนิยม • สังคมนิยม เป็ นระบบสังคมและเศรษฐกจิ ซงึ่ มลี ักษณะคอื สังคมเป็ นเจ้ำของปัจจัยกำรผลติ และกำร จดั กำรเศรษฐกจิ แบบร่วมมอื ตลอดจนทฤษฎแี ละขบวนกำรทำงกำรเมอื งซงึ่ มุ่งสถำปนำระบบ ดงั กล่ำว \"สังคมเป็ นเจ้ำของ\" อำจหมำยถงึ กำรประกอบกำรสหกรณ์ กำรเป็ นเจ้ำของร่วม รัฐเป็ นเจำ้ ของ พลเมอื งเป็ นเจ้ำของควำมเสมอภำค พลเมอื งเป็ นเจ้ำของกรรมสทิ ธิ์ หรือทกี่ ล่ำวมำรวมกันมคี วำมผัน แปรของสังคมนิยมจำนวนมำกและไม่มนี ิยำมใดครอบคลุมทงั้ หมดควำมผันแปรเหล่ำนีแ้ ตกตำ่ งกันใน ประเภทของกำรเป็ นเจ้ำของโดยสังคมทส่ี ่งเสริม ระดับทพี่ ง่ึ พำตลำดหรือกำรวำงแผน วธิ ีกำรจัดระเบยี บ กำรจดั กำรภำยในสถำบนั กำรผลติ และบทบำทของรัฐในกำรสร้ำงสังคมนิยม[7]

การพฒั นาการปกครองยโุ รป (สมยั ก่อน)

ระยะต้น เร่ิมต้งั แต่การล่มสลายของจกั รวรรดโิ รมันตะวนั ตกใน ค.ศ.476 จนถงึ ประมาณ ค.ศ.1000 เป็ นสมัยของการก่อรูปของอารยธรรมและสังคมของ ยุโรปใหม่ ซ่ึงเป็ นสมยั ท่มี ีความตกตา่ ทางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม ซึ่งนักประวตั ศิ าสตร์เรียกช่วงเวลานีว้ ่า ยุคมืด (Dark Ages) • หลงั จากครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 7 เป็นตน้ มา อาณาจกั รของชนเผ่าต่างๆเหลา่ นีก้ ็ไดล้ ม่ สลายลง เหลือเพียงชนเผา่ แองโกลแซกซนั ในประเทศองั กฤษและชนเผา่ แฟรงกใ์ นประเทศฝร่งั เศสเท่านนั้ ท่ียงั คงสามารถรกั ษาอาณาจกั รไวไ้ ด้ ในช่วงเวลานีก้ ารเมอื งในยโุ รปตะวนั ตกมคี วามป่ันป่วนและเกิดสงครามระหวา่ งชนเผา่ ขนึ้ ตลอดเวลา เพราะแตล่ ะชนเผา่ ตา่ งพยายามขยายอาณาเขตของ ตนเองออกไป จนในชว่ งปลายครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี7 พวกแฟรงกใ์ นดินแดนฝร่งั เศสพยายามผนวกดินแดนตา่ งๆเขา้ เป็นสว่ นหน่ึงของอาณาจกั รของตน และมีอาณาเขตกวา้ งขวางท่ีสดุ ในสมยั ของจกั รพรรดิชารเ์ ลอมาญ สามารถรวบรวมยโุ รปตะวนั ตก ยโุ รปกลาง และดินแดนของอติ าลเี ขา้ เป็นจกั รวรรดิเดียวกนั ไดส้ าเรจ็ เป็นครง้ั แรก และไดร้ บั การสวมมงกฎุ จากสนั ตะปาปาแห่งกรุงโรมใหเ้ ป็นจกั รพรรดแิ ห่งจกั รวรรดโิ รมนั ตะวนั ตกเม่อื ค.ศ.800 ในยคุ สมยั ของจกั รพรรดิชารเ์ ลอมาญ พระองคท์ รงพยายามฟื้นฟรู ะบอบการปกครองแบบรวมศนู ยอ์ านาจโดยรบั แนวความคดิ จากครสิ ตศ์ าสนา การปกครอง สว่ นกลางรวมศนู ยอ์ านาจท่ีองคจ์ กั รพรรดแิ ละราชสานกั สว่ นการปกครองสว่ นภมู ภิ าคแบง่ เป็นมณฑล โดยพระองคไ์ ดส้ ง่ ขนุ นางไปปกครอง มีอานาจสทิ ธิ์ขาดใน แตล่ ะมณฑล แต่หลงั จากจกั รพรรดิชารเ์ ลอมาญสนิ้ พระชนมใ์ น ค.ศ.814 จกั รวรรดกิ ็เรม่ิ แตกแยก ในท่ีสดุ หลงั ค.ศ.843 จกั รวรรดิถกู แบง่ แยกเป็น 3สว่ น ซ่งึ พฒั นามาเป็น อาณาจกั รฝร่งั เศส จกั รวรรดิเยอรมนั และอิตาลี และพวกขนุ นางทอ้ งถ่ินตา่ งก็มอี านาจมากขนึ้ เร่อื ยๆ จนสามารถแบง่ แยกดนิ แดนของจกั รวรรดอิ อกเป็นแควน้ ต่างๆ นาไปสกู่ ารปกครองแบบฟิวดลั อยา่ งแทจ้ รงิ ในชว่ งเวลาต่อมา

ระยะกลาง ระยะกลางเร่ิมต้งั แต่ ค.ศ.1000-1350 ช่วงเวลาน้ีเป็นระยะเวลาแห่งการเปล่ียนแปลง เน่ืองจากสงั คมตะวนั ตกมีประชากรเพิ่มข้ึน คริสต์ ศาสนาและระบบฟิ วดลั มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด และเร่ิมมีพฒั นาการในหลายดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม รวมท้งั ภูมิปัญญา จกั รวรรดแิ ฟรงกล์ ม่ สลายในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี9 ดนิ แดนของจกั รวรรดไิ ดแ้ บง่ แยกออกเป็นฝร่งั เศส เยอรมนั และอติ าลี ดนิ แดนเยอรมนั มีจกั รพรรดปิ กครองแตท่ วา่ ไมม่ ีอานาจมากนกั จนในสมยั ของพระเจา้ ออทโทท่ี1 ไดท้ รงปกครองเยอรมนั และอติ าลี สนั ตะปาปาจอหน์ ท่ี12 จงึ ทรงสถาปนาพระเจา้ ออทโทท่ี1 ขนึ้ เป็น จกั รพรรดแิ หง่ จกั รวรรดโิ รมนั อนั ศกั ดสิ์ ิทธิ์ (Holy Roman Empire) ในค.ศ.962 ทงั้ จกั รพรรดแิ ละสนั ตะปาปาตา่ งอา้ งอานาจในการปกครองรว่ มกนั ในจกั รวรรดิ ในชว่ งเวลานีศ้ าสนจกั รยงั ไมม่ ีอานาจเตม็ ท่ี จนกระท่งั ศาสนจักรไดม้ ีการปฏิรูปอานาจของศาสนจกั ร ใหม้ ีอานาจสงู สดุ ในท่ีสดุ สนั ตะปาปาก็ทรงประกาศวา่ ศาสนจกั รมีอานาจเหนือจกั รพรรดิ ทาใหเ้ กิดความขดั แยง้ ระหวา่ งสนั ตะปาปากบั จกั รพรรดขิ นึ้ ประกอบกบั จักรพรรดเิ ยอรมนั ทรงพยายามขยายอานาจใน ดนิ แดนอิตาลีซ่งึ สนั ตะปาปามีอิทธิพลอยู่ จกั รพรรดเิ ป็นฝ่ายพา่ ยแพอ้ านาจของศรสิ ตจกั รท่ีกรุงโรม การตอ่ สดู้ งั กลา่ วสง่ ผลใหข้ นุ นางแต่ละแควน้ มีอานาจมากขนึ้ ทาใหร้ ะบบฟิวดลั มีความแข็งแกรง่ เพ่มิ ขนึ้ สาหรบั องั กฤษและฝร่งั เศส ศาสนจกั รไมค่ อ่ ยแทรกแซงการเมืองภายในมากนกั สถาบนั กษัตรยิ พ์ ยายามเพ่มิ อานาจของตนเองในการปกครอง ทาใหอ้ านาจของขนุ นางลดลงไป ในองั กฤษเกิดความขดั แยง้ ระหวา่ งพระมหากษตั รยิ ก์ บั ขนุ นาง ในท่ีสดุ พระมหากษัตรยิ ต์ อ้ งยอมจานนตอ่ คณะขนุ นาง และคณะขนุ นาง ไดก้ ลายมาเป็นสมาชกิ รฐั สภาขององั กฤษ สว่ นฝร่งั เศส กษตั รยิ ก์ ลบั มีอานาจเพ่ิมขนึ้ เร่อื ยๆ จนมีอานาจในการปกครองเบด็ เสรจ็ และกลายมาเป็นระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชยใ์ นท่ีสดุ 2.ระบบฟิวดลั เจรญิ รุง่ เรืองสงู สดุ ในระหวา่ งครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี9-10 พวกอนารยชนจากสแกนดเิ นเวีย(ปัจจบุ นั คือ นอรเ์ วย์ สวีเดน และเดนมารก์ )ท่ีเรียกวา่ พวกไวกิง้ ไดเ้ ขา้ รุกรานจกั รวรรดขิ องพวกแฟรงก์ ปรากฏวา่ จกั รวรรดขิ อง พวกแฟรงกไ์ มม่ ีกาลงั เขม้ แข็งพอ การปอ้ งกนั ภยั จากพวกไวกิง้ ตกเป็นหนา้ ท่ีของพวกขนุ นางทอ้ งถ่ินหรอื เจา้ ของท่ีดนิ จดั ตงั้ เป็นกองทหารปอ้ งกนั การรุกราน ทาใหข้ นุ นางทอ้ งถ่ินสามารถสรา้ งอิทธิพลของตนเอง เกิดลกั ษณะการเมืองแบบหลายศนู ยอ์ านาจขนึ้ ขนุ นางเร่มิ มีอานาจจนสามารถตอ่ รองอานาจกับกษตั รยิ ์ ระบบฟิวดลั ไดม้ ีการพฒั นาจนกลายเป็นระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสงั คมท่ีสาคญั ของยโุ รปในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี11-13 แลว้ เรม่ิ เส่ือมลงในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี14 และสลายตวั ลงในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 16

ระยะปลาย สมยั นีม้ ีช่วงระยะเวลาระหว่างค.ศ.1350-1500 ช่วงเวลานีเ้ ป็ นช่วงระยะเวลาของการเปลย่ี นแปลงไปสู่ความเป็ นสมยั ใหม่ ท้งั ด้านการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม ศาสนาถูกลด บทบาทลง ความคิดแบบมนุษยนิยมเร่ิมเข้ามามีบทบาทในทศั นคติและความคิดของคนในสังคมในช่วงเวลานีเ้ ป็ นช่วงเวลาทม่ี คี วามเปลย่ี นแปลงทางการเมืองในดนิ แดนต่างๆของยโุ รปตะวนั ตก ปรากฏการณ์ทางการเมืองทส่ี าคญั ได้แก่ ความเส่ือมของจักรวรรดโิ รมันอนั ศักด์ิสิทธ์ิHoly Roman Empire และการเกดิ รัฐชาติขนึ้ ในฝรั่งเศส องั กฤษ และสเปน ในชว่ งเวลานีส้ งั คมระบบฟิวดลั และศาสนจกั รเรม่ิ เส่อื มลงอย่างเหน็ ไดช้ ดั การเกิดสงั คมเมือง การคา้ ทาใหเ้ กิดสงั คมชนั้ กลางขนึ้ เป็น จานวนมาก โดยชนชนั้ กลางมีสถานะอย่รู ะหว่างชนชนั้ สงู และชนชนั้ ลา่ งกบั ชนชนั้ ชาวนา ชนชนั้ กลางตอ้ งการรฐั บาลกลางท่ีเขม้ แข็งใน การคมุ้ ครองทางเศรษฐกิจ ขณะเดยี วกนั กษัตรยิ ก์ ็ตอ้ งการการสนบั สนนุ จากชนชนั้ กลาง ดงั นนั้ จงึ เกิดความสมั พนั ธ์ระหวา่ งชนชนั้ ทงั้ สอง ขนึ้ ก่อใหเ้ กิดลกั ษณะของสงั คมท่ีเปล่ยี นไป คือ 1.สงั คมระบบฟิวดลั เส่อื มสลายลง เน่ืองจากสงครามครูเสดทาใหข้ นุ นางตอ้ งออกไปทาสงครามและเสยี ชีวติ จานวนมาก และความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจทาใหข้ นุ นางยากจนลงอีกทงั้ พวกขา้ ติดท่ีดินไดห้ ลบหนีอพยพเขา้ เมืองเป็นจานวนมาก 2.ชนชนั้ กลางขนึ้ มามีอานาจแทนท่ีชนชนั้ ขนุ นาง เน่ืองจากสงั คมไดเ้ ปล่ยี นคา่ นิยมจากเรอ่ื งชาติกาเนิดมาเป็นฐานะทางเศรษฐกิจของแตล่ ะบคุ คล 3.เกิดขบวนการนกั วิชาการสายมนษุ ยน์ ิยมท่ีหนั ไปสนใจศกึ ษาอารยธรรมกรกี และโรมนั นกั วชิ าการกลมุ่ นีพ้ ยายามแยกกรอบความคดิ ทางศาสนาออกจากการศกึ ษาของตนเอง

การพฒั นาการปกครองยโุ รป (สมยั ใหม่)

ระบอบประชาธิปไตย ประชำธปิ ไตย เป็ นระบอบกำรปกครองแบบหนึ่งซง่ึ พลเมอื งเป็ นเจำ้ ของอำนำจอธิปไตยและเลือก ผู้ปกครองซง่ึ ทำหน้ำทอี่ อกกฎหมำย โดยพลเมอื งอำจใช้อำนำจของตนด้วยตนเองหรือผ่ำนผู้แทนทเี่ ลอื ก ไปใช้อำนำจแทนกไ็ ด้ กำรตดั สนิ ว่ำผู้ใดเป็ นพลเมอื งบ้ำงและกำรแบง่ ปันอำนำจในหมู่พลเมอื งเป็ นอยำ่ งไร นั้นมกี ำรเปลยี่ นแปลงตำมเวลำและแต่ละประเทศเปลย่ี นแปลงในอัตรำไม่เทำ่ กัน นอกจำกกำรเลอื กตงั้ แล้ว ควำมคดิ ทเี่ ป็ นรำกฐำนของประชำธปิ ไตย ไดแ้ ก่ เสรภี ำพในกำรชุมนุมและกำรพูด กำรไม่แบ่งแยก และควำมเสมอภำค สิทธิพลเมอื ง ควำมยนิ ยอม สทิ ธิในกำรมชี วี ติ และสทิ ธิฝ่ ำยข้ำงน้อย นอกจำกนี้ ประชำธปิ ไตยยังทำใหท้ ุกฝ่ ำยตระหนักถงึ ผลประโยชนข์ องตนและแบง่ อำนำจจำกกลุ่มคนมำเป็ นชุด กฎเกณฑแ์ ทน

ระบอบเผดจ็ การ • ระบอบเผดจ็ กำรเป็ นรูปแบบรัฐบำลทมี่ ลี ักษณะคอื มผี ู้นำคนเดยี วหรือกลุ่มเดยี ว และมกี ำรทนเพยี ง เลก็ น้อยต่อหรือไม่ทนเลยตอ่ ควำมเป็ นพหนุ ิยมทำงกำรเมอื งและต่อสอ่ื เสรี ในคำนิยำมแบบอน่ื ๆ นั้น เผดจ็ กำรกค็ อื ระบอบทไี่ ม่ใช่ประชำธปิ ไตยโลกในยุคศตวรรษท่ี 19 ถงึ 20 มรี ะบอบเผดจ็ กำร กับระบอบ ประชำธิปไตยภำยใตร้ ัฐธรรมนูญเกดิ ขนึ้ เป็ นรูปแบบของรัฐหลักสองรูปแบบ ซง่ึ ค่อยลดทอนระบอบ สมบรู ณำญำสทิ ธริ ำชยล์ งในยุคตน้ ปฏวิ ัตอิ ุตสำหกรรม สังคมเผดจ็ กำร และเผดจ็ กำรเบด็ เสร็จมักใช้ โฆษณำชวนเชอ่ื เพอ่ื ลดทอนอทิ ธพิ ลของคู่ตรงข้ำมทำงกำรเมอื งหรือระบอบกำรปกครองอนื่ ลง

เศรษฐกิจในทวปี ยโุ รป พฒั นำกำรทำงด้ำนสังคม วัฒนธรรมในทวปี ยโุ รป (ยคุ ปัจจุบนั )

พฒั นาการด้านสังคมและวฒั นธรรม สมัยโบรำณ กรีกและโรมนั เป็นสงั คมชนชนั้ โดยแบง่ พลเมืองเป็นชนชนั้ ปกครอง ไดแ้ ก่ ผนู้ าทางการเมือง เชน่ กษัตรยิ ์ กงสลุ จกั รพรรดิ รวมถงึ ทหารและขนุ นาง และชนชนั้ ท่ีถกู ปกครอง ไดแ้ ก่ เสรชี นท่ีประกอบอาชีพตา่ ง ๆ เชน่ พอ่ คา้ เกษตรกร ช่างฝีมือ รวมถงึ ทาส สมัยกลำง เป็นสงั คมแมนเนอรท์ ่ีมีปราสาทของขนุ นางเป็นศนู ยก์ ลางชมุ ชน แบง่ ออกเป็น 2 ชนั้ คือ ชนชนั้ ปกครองประกอบดว้ ยกษัตรยิ ์ ขนุ นาง และบาทหลวง และชนชนั้ สามญั ชน สมัยใหม่ ลกั ษณะทางสงั คมและวฒั นธรรมเจรญิ กา้ วหนา้ โดยเฉพาะทางความรูด้ า้ นตา่ ง ๆ มีการรอื้ ฟื้น วทิ ยาการสาขาตา่ ง ๆ ของกรกี และโรมนั ทาใหเ้ กิดการปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ การประดษิ ฐ์แทน่ พมิ พข์ ึน้ ใชไ้ ดผ้ ลเป็นครงั้ แรกในยโุ รป เม่ือ ค.ศ. 1454 ทาใหม้ ีการอา่ นหนงั สอื กนั อยา่ งกวา้ งขวาง

สหภาพยโุ รป และยโุ รปปัจจบุ นั

สหภาพยโุ รป สหภำพยุโรปมปี ระชำกรคดิ เป็ น 7.3% ของประชำกรโลก ในปี 2559 สหภำพยุโรปผลติ ผลติ ภัณฑม์ วลรวมภำยใน 16.477 ล้ำนล้ำน ดอลลำรส์ หรัฐ คดิ เป็ น 22.2% ของจดี พี รี ำคำตลำดโลก และ 16.9% เมอ่ื วัดในแง่ควำมเท่ำเทยี มกันของอำนำจซอื้ นอกจำกนี้ ประเทศ สหภำพยุโรป 26 จำก 28 ประเทศมดี ชั นีกำรพัฒนำมนุษยส์ ูงมำก ตำม ข้อมูลของโครงกำรพฒั นำแห่งสหประชำชำติ ในปี 2555 สหภำพ ยุโรป ได้รับรำงวัลโนเบลสำขำสันตภิ ำพ สหภำพยุโรปพฒั นำบทบำท ดำ้ นควำมสัมพนั ธภ์ ำยนอกและกำรกลำโหมผ่ำนนโยบำยต่ำงประเทศ และควำมม่ันคงร่วม สหภำพฯ คงคณะผู้แทนทำงทตู ถำวรท่ัวโลกและ มผี ู้แทนในสหประชำชำติ องคก์ ำรกำรค้ำโลก กลุ่ม 7 และกลุ่ม 20 เน่ืองจำกมอี ทิ ธิพลท่ัวโลก จงึ มกี ำรอธิบำยสหภำพยุโรปเป็ น อภมิ หำอำนำจปัจจุบนั หรืออภมิ หำอำนำจในอนำคต

ยโุ รปปัจจบุ นั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook