Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทานชาดกอันดับที่3

นิทานชาดกอันดับที่3

Published by จริยา พาศิริ, 2021-07-12 03:51:20

Description: นิทานชาดกอันดับที่3

Search

Read the Text Version

๑๐๐ นิทานชาดกเล่มสาม ขัดถูร่างกายให้มัน แม้พืนคอกสกปรกก็จะลงมือขัดถูให้เองจนละอาด เอียมตกกลางคืนจะสุมไฟไล่ยุงให้, ส่วนโคทั้งลองพี่น้องไม่เคยได้รับ การเอาอกเอาไจเช่นนีเลย ต้องออกทำงานแต่เช้าตรู่ ไต้รับแต่เพียง ข้าวลีบ หญ้าแก่ๆหรือใบไม้แห้งๆ.เท่านน / โคจุฬโลหิตผู้น้องเห็นการกระทำของซาวนาและบุตรลาว เช่นนีอดน้อยเนือตํ่าไจไม่ไต้ จึงกล่าวรำพันกับโคมหาโลหิตผู้พี่ว่า \"ดูซิพ เราทั้งสองทำงานหนักสารพัดอย่างไมมว่างเว้น แทน จะเรียกว่าเราเป็นผู้ทำมาหาเลี้ยงครอบครัวนี้ก็ยังได้ แต่เรากลับ ได้กินเทียงข้าวลีบ ฟางหญ้าแห้ง ๆ ใบไม้แก'ๆอย่างลี้ ส่วนเด้าหมู มูณิกะ วันทั้งวันเอาแต่นอน ไม่เคยทำอะไรลักอย่างเดียว กลับ ได้กินข้าวอย่างดี ช่างไม่ยุติธรรมเลย\" โคมหาโลหิตผู้พี่ จึงกล่าวเตือนลติน้องว่า \"น้องรัก เด้าอย่าได้อิจฉามุณิกะเลย ที่มันกินอย่างลี้ ไมได้ กินเพื่ออยู่แต่กินเพื่อตาย คอยดูลีอีกไม่กี่วัน เมื่อถึงวันแต่งงานของ คุณหนู เขาก็จะจับมันแกงเลี้ยงแขกที่มาร่วมงาน เด้ากินแต่ข้าวลีบ อย่างลี้น่ะดีแล้ว อายุจะได้ยืน\" และแล้วก็เป็นจริงดังคำของโคมหาโลหิต เพราะต่อมาอีก ไม่นาน เขาก็ช่วยกันจับสุกรมุณิกะฆ่าทำแกงเลี้ยงแขกที'มาร่วมงาน แต่งงาน มิไยที่หมูมุณิกะจะแผดเลียงร้จังขอชีวิตอย่างน่าลงลารก็ไม' มิใครเห็นไจ ซํ้านายลาวซึ่งเคยเอาอกเอาไจมันอย่างดีตลอดมา เมื่อครั้งก่อน ยังลงมือช่วยฆ่าอีกแรงเสียด้วย โคจุฬโลหิตจึงกล่าว

นิทานชาดกเล่มสาม ๑0๑ กับโค่มหาโลหิตว่า \"พี่จ๊ะ ฉันเห็นโทษของการกินมาก ๆ ของเจ้ามุณิกะแล้วว่า เป็นอย่างไร ทำ ให้รู้สึกว่าหญ้าแก'ๆ กับใบไม้แห้ง ๆ ของเราช่าง เป็นอาหารพี่ประเสริฐสุดจริง ๆ กินแล้ว อายุปีนกว่าอาหารอร่อย ๆ ของเจ้ามุณิกะตั้งร้อยเทำพันเทำเชียว\" แล้วโคทงสองพี่น้องก็สนทนากันต่อด้วยความเบิกบานใจ 'ประขุมขาดก เมื่อพระพุทธองค์ทรงแสดงชาดกจบแล้ว ทรงเทศนาอริยสัจ(T พระภิกษุรูปนนส่งใจไปตามพระธรรมเทศนา บังเภิดความสลดใจ เห็นภัยในวัฏสงสารและโทษของการครองเรือน สามารถประคองใจ ให้หยุดนิ่งตั้งมั่นอยู่ในศูนย์กลางกาย ใด้บรรลุธรรมดำรงอยู่ในโสดา บัตติผล แล้วพระบรมศาสดาทรงประชุมซาดกว่า สุกรมุฒิ.กะ ได้มาเป็นพระภิกษุ^ดจะลึกรูปนี โคจุ'ฬโสหิด ได้มาเป็นพระอานนท์ โดมหาโดหิด ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากซาตก ๑. ไมว่ากาลไ'พนๆ ภิกษุไม่ควรไกลึชิดกับสตรื พระอานนท์ เคยทูลถามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า ภิกษุควรประพฤติตนอย่างไร ตอสตร

๒ นิทานชาดกเล่มสาม พระพุทธองค์ทรงตอบว่า \"อย่าได้พบปะกับสตรีใด ๆ เลย\" พระอานนท์ทูลถามต่อว่า \"ถ้าจำเป็นด้องพบจะทำ อย่างไร\" พระพุทธองค์ทรงตอบว่า \"กัอย่าพูดคุยด้วย\" พระอานนท์ทูลถามอีกว่า \"ถ้าด้องพูดคุยด้วยจะทำ อย่างไร\" พระพุทธองค์ทรงตอบว่า \"ก่อนจะพูด ตํ้งสติให้มั่นคง แล้วรีบพูดให้เสร็จธุระโดย ไว\" ๒. ผู้ที่จะเป็นผู้นำได้ ต้องหมั่นสังเกต หมั่นอบรมตนเอง และบริวารให้มีความมักน้อย สันโดษ พอใจในปัจจัยตามมีตามได้ ไม่โลภ มีความหนักแนํน ไม่อิจฉาริษยา อธิบๆยสัฬท์ มุณิกะชาดก (อ่านว่า มุ-นิ-กะ-ชา-ดก) วัว สุกร หมู

นิทานชาดกเลมสาน ๑๐๓ พระคาดา•ประจำชาดก มา มุณิกลฺส ปี อาตุรนนานิ ภุณฺซติ อปฺโปสฺลุโก ภุลงฺฃาท เอตํ ทีฆายุลกฺขณํ เจ้าอย่าริษยาหมูมุณิกะเลย มันกินอาหารอันเป็นเหตุให้เดือดร้อน เจ้าจงเป็นผู้มีความขวนขวายน้อย กินแต่แกลบเถิด นี่เป็นลักษณะแห่งความเป็นผู้มีอายุยืน

๑๐<r ''นิทานชาดกคือคำสอนแบบเล่านิทานคติธรรม คำ ว่า ชาตกหรือชาดกแปลว่า ผูเ้กิด คือเล่าถึงการคืพระพุทธเจ้า ทรงเวียนว่ายตายเกิด ถือเอากำเนิดในชาติต่าง ๆ ได้พบปะ ผจญกิปเหตุการณ์คืบ้างชวบาง แต่ก็ได้พายามทาความดี ติดต่อกิ!'นมากบ้างนิอยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้า ในชาติสุดบ้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง จะถือว่านิทานชาดก เป็นวิวัฒนาการ แห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของ พระพุทธเจ้า ตั้งแต่ยัง เป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ สาระล่าด้ญจึงอยู่ที่คุณงามความดี และอย่ที่คติธรรมในนิทาน\" จาก พระไตรปีฎกฉบบสำหรับประชาชน

วิธีแกสมาธิเบื้องด้น ฝิมๆริ คือความสงบ สบาย แสะ ข้าย มีอขวาทับมือซ้าย นิ้วขี้ขวาจรด ความรู้สิกเป็นสุชอย่างยิ่งที่มนุนย์ ทัวแม่มือซ้าย นั่งให้อยู่ในจังหวะพอดี สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นยิ่ง ไม่แนร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับ ที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อ เกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ หลับตาพอ ควรปฏิบัติเพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่าง สบายคล้ายกับกำลังพักผ่อนไม่บีบกล้าม เป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติส์ม- เนิ้อตุาหรีอว่าขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น ปซัญญะ และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่ วางอารมเน์สบาย สร้างความรู้สึกให้ เหลีอวิส์'ย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ พร้อมทั้งกายและใจ ว่ากำลังจะเข้าไป ดังวิธีปฏิบัติที่ พระเดชพระคุณพระ ส่ภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง มงคสเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงพ่อ ๔. นีกกำหนดนีมิต เป็น\"ตวงแก้ว วัดปากนํ้าภาษีเจริญได้เมตดายิ่'งสอน กลมใส\" ขนาดเห่าแก้วตาดำ ใสสนิท ไวดังน ปราศจากราคี หรีอรอยตำหนิใดๆ ขาว ๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็น ใสเย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว การเตรียมดัวเตรียมใจให้นุ่มนวลไว้เป็น ดวงแก้วกลมใสนิ้เรียกว่า บริกรรมนิมิต เบื้องด้น แล้วสมาทานคืลห้าหรีอคืล นึกสบายๆ นึกเหมือนดวงแก้วนั้นมา แปดเพื่อยํ้าความมั่นคงในคุณธรรมของ นิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่เจ็ด ตนเอง นึกไปภาวนาไปอย่างนุ่มนวลเป็นพุทธา ๒.คุกเช่าหรือนั่งพับเพียบสบายๆ นุสติว่า \"สัมมาอะระทัง\" หรีอค่อยๆ ระสึกถึงความดี ที่ได้กระทำแล้วใน น้อมนึกดวงแก้ว กลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อน วันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไป เข้าฟูศูนย์กสางกายดามแนวฐาน โดย ในอนาคตจนราวกับว่าร่างกายทั้งหมด เรื่มด้นตั้งแต่ฐานที่หนิ่งเป็นด้นไป น้อม ประกอบขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณงามความ ด้วยการนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไป พร้อมๆ กับดำภาวนา ฅ. นั่งขัคสมาริ เท้าขวาทับเท้า อนิ่ง เมื่อนิมิตดวงใส แสะกลมสนิท

ปรากฏแล้ว ณ กลางกายให้วางอารมณ์ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้ฟิมํ๋าเสมอ สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่า เป็นประจำ ทำ เรื่อยๆ ทำ อย่างสบายๆ ดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์หาก ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำ ไต้แค่ไหนให้พอใจ ตวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้อง แค่นั้นอันจะเป็นเครื่องสกัดกั้นมิให้เกิด นึกเสืยดาย ให้วางอารมณ์สบายแล้ว ความอยากจนเกินไปจนถึงกับทำให้ใจ นึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือ ต้องสูญเลึยความเป็นกลาง และเมื่อ เมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มิใช่สูนย์ การปฏิบัติบังเกิดผลแล้ว ให้หมั่นตรืก กสางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามา ระลึกนึกถึงอยู่เสมอ จนกระทั่งตวงปฐม อย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มืการบังคับ มรรคกสายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับสม แสะเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณศูนย์กลาง หายใจ หรือนึกเมื่อใดเป็นเห็นไต้ทุกที กาย ให้วางสติสงไปยังจุดศูนย์กลาง อย่างนี้แล้ว ผสแห่งสมาธิจะทำ ของดวงนิมิต ต้วยความรืสีกคล้ายมื ให้ชีวิตดำรงอยู่บนเล้นทางแห่งความสุข ดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่งซ้อนอยู่ ความส่าเรืจ แสะความไม่ประมาทไต้ ตรงกลางดวงนิมิตดวงเติม แล้วสนใจ ตลอดไป ทั้งยังจะทำให้สมาธิละเอียด เอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกสางนั้นไป อ่อนก้าวหน้าไปเรื่อยๆ ไต้อีกต้วย เรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดไต้ถูกส่วน แล้วจากนั้นทุกอย่างจะค่อยๆ ปรากฏ ข้อควรระวัง ให้เห็นไต้ต้วยตนเอง เป็นภาวะของ 0. อย่าใซ้กำอัง คือ ไม่ใซ้กำลัง ตวงกสม ที่ทั้งใสทั้งสว่างผุดซ้อนขึ้นมา ใดๆ ทั้งเน เช่นไม่บีบกล้ามเนื้อตา เพื่อ จากนึ่งกลางดวงนิมิต ตรงที่เราเอาใจ จะให้เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่ ใส่อย่างสมื่าเสมอ เกร็งกล้ามเบื้อหน้าห้องไม่เกร็งตัว ฯลฯ ดวงนื้เรืยกว่า \"ควงธรรม\" หรือ เพราะการใซ้กำลังตรงส่วนไหนของ \"ควงปฐมมรรค\"อันเป็นประตูเบื้องต้น ร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนจาก ที่จะเป็ดไปส่หนทางแห่งมรรคผสนิพ- ศูนย์กลางกายไปส่จุดนั้น พาน การระลึกนึกถึงนิมิต หรือดวงปฐม to.อย่าอยากเห็น คือทำใจให้เป็น มรรคสามารถทำไต้ในทุกแห่งทุกที่ ทุก กลาง ประคองสติมิให้เผลอจากบริกรรม อิริยาบถ เพราะควงธรรมนื้คือที่พึ๋งอัน ภาวนาและบริกรรมนิมิต ส่วนจะเห็น เป็นที่สุดแล้วของมนุษย์ นิมิตเมื่อใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลา

ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ฐาน ฐานที่ ๑ ปากซ่องจมูก {หญิงข้างซ้าย ฐานที่ ๒ เพลาตา ชายข้างขวา {หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา ฐานท ๓ จอมประสาท ฐานที่ ๔ ซ่องเพดาน ฐานที่ ๕ซ่องปากลำคอ ฐานที่ ๖ ศนย์กลางกายระดับสะดือ ฐานที ๗ ดูนยกลางกายทีดังจิตถาวร ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ฐาน ฐานที่ ๑ ปากซ่องจมูก {หญิงข้างข้าย ฐานที่ ๒ เพลาตา ชายข้างขวา {หญิงข้างข้าย ชายข้างขวา ฐานที่ ๓ จอมประสาท ฐานที่ ๔ ซ่องเพดาน ฐานที่ ๕ ซ่องปากลำคอ !ฐานที ๖ ไ!ศูนยกลางกายระดับสะดือ ฐานที่ ๗ สูนย์กลางกายที่ตั้งจิตถาวร

แล้วย่อมเห็นเอง การบังเกิดของดวง จะได้เป็นการพักผ่อนหลังจากการ นิมิตนั้น อุปมาเสมือนการขึ้นและตก ปฏิบัติหน้าที่ภารกิจประจำวัน โตยไม่ ของตวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ ปรารถนาจะทำให้ถึงที่สุตแห่งกองทุกข์ เท. อย่ากังวลถึงการกำทนตรม ยังคืตอยู่ว่าการอยู่กับบุตรภรรยาการ หายใจเข้าออก เพราะการสิกสมาร มืหน้ามืตาทางโลก การท่องเที่ยวอยู่ใน เจริญภาวนาวิซขาธรรมกาย อาสัย วัฏฏสงสาร เป็นสุขกว่าการเข้านิพพาน การเพ่ง \"อาโลกกสิณ\" คือกสิณความ เสมิอนทหารเกณฑ์ที่ไม่ติตจะเอาติใน สว่าง เป็นบาทเบื้องด้น เมื่อเกิตนิมืต ราชการอีกต่อไปแล้ว เป็นตวงสว่างแล้วค่อยเจริญวิปัสสนา การแกสมาธิเบื้องด้นเท่าที่กล่าว ในภายหลัง จึงไม่มืความจำเป็นด้อง มาตั้งหมตนี้ก็พอเป็นปัจจัยให้เกิตความ กำ หนตลมหายใจเข้าออกแต่ประการใต สุขได้พอสมควร เมื่อซักซ้อมปฏิบัติอยู่ ๔. เมื่อเลิกจากนั่งลมๆริแล้ว ให้ เสมอๆ ไม่ทอตทิ้ง จนได้ตวงปฐมมรรค ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายที่เดียวไม่ว่าจะ แล้ว ก็ให้หมั่นประคองรักษาตวงปฐม อยู่ในอิริยาบถใตก็ตาม เซ่นยีนก็ดี เดิน มรรคนั้นไว้ตลอตชีวิต และอย่ากระทำ ก็ดิ นอนก็ดี หรือนั่งก็ดี อย่าย้ายฐานที่ ความชั่วอีก เป็นอันมั่นใจได้ว่าถึงอย่างไร ตั้งจิตไปไว้ที่อึ่นเป็นอันขาต ให้ตั้งใจ ชาตินี้ ก็พอมืที่พื่งที่เกาะที่ติพอสมควร บริกรรมภาวนา พร้อมกับนึกถึงบริกรรม คือเป็นหลักประกันได้ว่าจะไม่ต้องตก นิมิตเป็นตวงแก้วใสควบคู่กันตลอตไป นรกแล้วตั้งชาตินี้ และชาติต่อๆ ไป ๔. นิมิตต่างๆ ที่เกิตขึ้นจะต้อง น้อมไปตั้ร่ไว้ที่ศูนย์กลางกายตั้งหมต ถ้า ประโยชน์ของการแกสมาธิ นิมิตที่เกิตขึ้นแล้วหายไป ก็ไม่ด้องตาม 0. ผลต่อตนเอง หาให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ 0.0 ต้านลุชภาพจิต ในที่สฺตเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฦ - ล่งเสริมให้คุณภาพชองใจติขึ้น คือ ทำ ให้จิตใจผ่องใส สะอาต บริสุทธึ๊ สงบ ขน๒ม่อิก เยีอกเย็น ปลอตโปร่ง โล่ง เบา สบาย ลัาหรับผู้ที่นับถือพระพุทธคาสนา เพียงเพื่ออาภรณ์ประดับกาย หรือเพื่อ มิความจำ และสติปัญญาติขึ้น เป็นพีธีการซนิตหนึ๋ง หรือผู้ที่ด้องการ - ล่งเสริมสมรรถภาพทางใจ ทำ ให้ ลกสมาธิเพียงเพื่อให้เกิตความสบายใจ คืตอะไรได้รวตเร็วถกด้อง และเลือก

คิดแต่ในสิงที่ดีเท่านั้น เห็นประโยขน้ล่วนรวมมากกว่าประ ©.๒ ด้านพัฒนาบุคลิกภาพ โยชน์ส่วนตัว ย่อมเป็นผู้มีส์'มมาคารวะ - จะเป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉับ และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน กระเฉง กระปรี้กระเปร่า มีความองอาจ สง่าผ่าเผย มีผิวพรรณผ่องใส ๒. ผลต่อครอบครัว - มีความมั่นคงทางอารมณ์ หนัก ๒.© ทำ ให้ครอบครัวมีความสงบสุข แน่น เยือกเย็นและเชื่อมั่นในตนเอง เพราะสมาซิกในครอบครัวเห็นประ - มีมนุษยส์'มพันรดี วางตัวได้ โยชน์ของการประพฤติธรรม ทุกคนตั้ง เหมาะสมกับกาลเทศะเป็นผู้มีเสน่ห์ เพราะไม่มักโกรธ มีความเมตตากรุณา มั่นอยู่ในคิล ปกครองกันด้วยธรรม เด็กเคารพผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เมตตาเด็กทุก ต่อบุคคลทั่วไป คนมีความรักใคร่ลามัคดีเป็นนั้าหนื่งใจ ©.๓ ด้านชีวิตประ^วัน เดียวกัน - ช่วยให้คลายเครียด เป็นเครื่อง la.la ทำ ให้ครอบครัวมีความเจริญ เสริมประสิทธิภาพในการทำงาน และ ก้าวหน้า เพราะสมาซิกต่างก็ทำหน้าที่ การคิกษาเล่าเรียน ของตนโตยไม่บกพร่อง เป็นผู้มีใจคอ หนักแน่น เมื่อมีปัญหาครอบครัวหริอมี - ช่วยเสริมให้มีสุขภาพร่างกาย อุปสรรคอันใด ย่อมร่วมใจกันแก้ไข ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ แข็งแรง เพราะร่างกายกับจิตใจย่อม มีอิทธิพลต่อกันถ้าจิตใจเข้มแข็งย่อม เป็นภูมีด้านทานโรคไปในตัว ©.๔ ด้านคิลธรรมจรรยา ฅ. ผลต่อสังคมและประเทศชาติ - ย่อมเป็นผู้มีส์'มมาทิฏฐิ เชื่อกฎแท่ง ๓.© ทำ ให้สังคมสงบสุข ปราศจาก กรรม สามารถคุ้มครองตนให้พ้นจาก ปัญหาอาชญากรรม และปัญหาสังคม ความชั่วทั้งหลายได้ เป็นผู้มีความ อื่นๆ เพราะปัญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นใน ประพฤติดี เนื่องจากจิตใจดี ทำ ให้ความ สังคม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการข่า การ ประพฤติทางกายและวาจาดีตามไปด้วย ช่มฃืน โจรผู้ร้าย การทุจริตคอรัปชั่น - ย่อมเป็นผู้มีความมักน้อย สินโดษ ล้วนเกิดขึ้นมาจากคนที่ขาดคุณธรรม เป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอหวั่นไหวต่ออำนาจ รักสงบและมีขันติเป็นเลิศ สิงยั่วยวนหริอกิเลสได้ง่าย ผู้ที่ผิกสมาธิ - ย่อมเป็นผู้มีความเอื้อเทั้อเผื่อแผ่

ย่อมมีจิตใจเข้มแข็ง มีคุณธรรมในใจสูง หนักแน่น มีเหตุผลและเป็นผู้รักสงบ ถ้าแต่ละคนในส์'งคมต่าง!!!กฝนอบรมใจ ของตนให้หนักแน่น มั่นคงปัญหาเหล่า ๔. ผลต่อศาสนา นี้ก็จะไม่เกิดขึ้นล่งผลให้ล่งคมสงบสุขได้ ๔.© ทำ ให้เข้าใจพระพุทธศาสนาได้ ๓.๒ ทำ ให้เกิดความมีระเบียบวินัย อย่างถูกด้อง และรู้ขึ้งถึงคุณค่าของ พระพุทธศาสนารวมทั้งรู้เห็นด้วยดัวเอง และเกิดความประหยัด ผู้ที่^กใจให้ ดีงามด้วยการทำสมาธิอยู่เสมอ ย่อม ว่าการผึเกสมาธิไม่ใช่เรื่องเหลวไหล หาก เป็นผู้รักความมีระเบียบวินัย รักความ แต่เป็นวิธีเดียวที่จะทำให้ฟ้นทุกข์เข้าล่ สะอาด มีความเคารพกฎหมายของบ้าน นิพพานได้ เมีอง ดังนั้นบ้านเมีองเราก็จะสะอาด ๔.๒ ทำ ให้เกิดศรัทธาดั้งมั่นในพระ น่าอยู่ไม่มีคนมักง่ายทิ้งขยะลงบนพื้น รัตนตรัย พร้อมที่จะเป็นทนายแก้ต่าง ถนน จะข้ามถนน ก็เฉพาะตรงทางข้าม ให้กับพระศาสนาอันจะเป็นกำลังสำคัญ เป็นด้น เป็นเหตุให้ประเทศชาติไม่ต้อง ในการเผยแผ่การปฏิบัติธรรม ที่ถูก เนเปลีองงบประมาณ เวลา และ ต้องให้แพร่หลายไปอย่างกว้างขวาง กำ ลังเจ้าหน้าที่ ที่จะไปใข้ล่าหรับแก้ ๔.๓ เป็นการสับอายุพระพุทธ- ปัญหาที่เกิดขึ้นจากความไม่มีระเบียบ ศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป เพราะ วินัยของประขาซน ตราบใดที่พุทธศาสนิกขนยังสนใจปฏิบ้ต ๓.๓ ทำ ให้สังคมเจริญก้าวหน้า เมื่อ ธรรมเจริญภาวนาอยู่พระพุทธศาสนา สมาซิกในลังคมมีสุขภาพจิดดี รักความ ก็จะเจริญรุ่งเรืองอยู่ตราบนั้น เจริญก้าวหน้า มีประสิทธิภาพในการ ๔.๔ จะเป็นกำลังส่งเสริมทะนุบำรุง ทำ งานสูง ย่อมล่งผลให้ลังคมเจริญก้าว ศาสนา โดยเมื่อเข้าใจขาบขึ้งถึงประ หน้าดามไปด้วย และเมื่อมีกิจกรรมของ โยชน์ของการปฏิบัติธรรมด้วยตนเอง ส่วนรวม สมาซิกในลังคมก็ย่อมพร้อม แล้วย่อมจะซักซวนผู้อื่นให้ทำทาน ที่จะสละความสุขส่วนตน ให้ความ รักษาดีล เจริญภาวนาตามไปด้วย และ ร่วมมีอกับส่วนรวมอย่างเต็มที่ และถ้า เมื่อใตที่ทุกคนในลังคมดั้งใจปฏิบ้ตธรรม มีผู้ไม่ประสงค์ดีต่อลังคม จะมายุแหย่ให้ ทำทานรักษาดีล และเจริญภาวนา เมื่อ เกิดความแตกแยกก็จะไม่เป็นผลสำเร็จ นั้นย่อมเป็นที่หวังได้ว่าลันติสุขที่แห้จริง เพราะสมาซิกในลังคมเป็นผ้มีจิดใจ ก็จะบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน

บรรณานุกรม • พระไตรป็ฎกภาษาไทย ฉบับหลวง (กรุงเทพฯ, กรมการศาสนา, ๒๕๒๕) เป็นพระไตรปีฎกฉบับแปลจากภาษาบาลีที่สมบูรณ์ฉบับ แรกในประเทศไทย มีศวามสำคัญอย่างยิ่งในการสืกษๆค้นคว้าทาง พุทธศาสนาในส่วนที่เป็นชาดกจะมีเฉพาะพุทธพจน์หรือคำสุภาษิต สํนๆ เป็นเนื้อหาธรรมะล้วนๆ ผู้อ่านจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน ทางศาสนา และภาษาบาลี ใ'รเป็นหลักในการค้นคว้าของนักสืกษา วิชาการศาสนา • พระคัมภีร์ชาดกแปล ฉบับ ส.อ.ส. (พระนคร, โรงพิมพ์ยิ้มศรื, ๒๔๙๓)เป็นฉบับแปลจากภาษาบาลี ซึ๋งแต่งโดยพระพุทธโฆษาจารย์ พระเถระ ชาวอินเดีย เมื่อประมาณ พ.ศ. ๙00โดยนำพุทธพจน์ใน พระไตรปีฎกมาขยายความเป็นอรรถกถาให้อ่านเ'ช้าใจง่ายขึ้น • พระสูตรและอรรถกถาแปล ของมหามกุฎราชวิทยาลัย(กรุงเทพฯ เฉลิมชาญการพิมพ์, ๒๕๒๖) เป็นฉบับแปลจากภาษาบาลีของพระ พุทธโฆษาจารย์เซ่นเดียวกับคัมภีร์ชาดกฉบับ ส.อ.ส. แต่เป็นอีก สำ นวนหนื้ง • พระเจ้า ๕00 ชาติ โดยซุย แสงฉาย (กรุงเทพฯ, สำ นักพิมพ์ ส.ธรรมภักดี, ๒๕0๔) แปลจากพระไดรปีฎก และอรรถกถาต่างๆ เรืยบเรียงเป็นคำเทศน์แบบสรุปเอาความโดยย่อใช้ภาษาอ่านเช้าใจ ง่าย แต่รายละเอียดถูกคัดทอนไปมาก • ชีวประวัติพุทธสาวก (ประวัติอัจฉริยะเถระ)โดย จำ เนียร ทรงฤกษ์ (กรุงเทพฯ, มูลนีธิอภิธรรมมหาธาตุวิทยาลัย, ๒๕๒๕) เป็นหนังสือ รวบรวมประวิตโดยสะเอียดของพระอรหันตสาวกที่เป็นกำลังสำคัญ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยปฐมโพธิกาล

การเดินทางไปวัด รถประจำทาง รถประจำทางหลายสายสุดทางที่รังสิต (สาย ๒๙, ฅ๕, ๓๙, ปอ.00, ปอ.๑๓) จากรังสิตมีรถเมล์สาย 000๘ ไปถึงคลองสาม รถส่วนตัว ใช้เวลาประมาณ ๔๕ นาที จากอนุสาวรีย์ซัยสมรภูมี วันอาทิตย์ธรรมดา วันอาทิตย์ต้นเดือน และวันสำคัญทางศาสนา มีรถออกจาก - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถจอดหน้าป้ม ปตท. ใกล้ ททบ.๕ ถนนพหลโยธิน รถออก เวลา ๖.00-๘.00 น. - สนามหลวง รถจอดหน้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้านตรงข้ามสนามหลวง วันอาทิตย์ธรรมดา รถออก ๗.๓0 น. วันอาทิตย์แรกของเดือน รถออกเวลา ๗.00-๘.00 น. - มหาวิทยาลัยรามคำแหง รถจอดหน้าตึกอธิการบดืรถออกเวลา ๗.๓0 น. - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน รถจอดระหว่างหอประชุมและสระนํ้าใน มหาวิทยาลัย ด้านถนนพหลโยธิน รถออกเวลา ๗.๓0 น. ^■วัดพระธร?มกาย wJf' *ะะ^^ หากท่านต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ แผนกจราจร สำ นักบริการกลาง วัดพระธรรมกาย โทร. £๒๔-๐๒๕๗-๖๓ ต่อ ๒๐๒๔,๒๐๒๕

--Xs 1 นิทานซาดก เป็นสมบัติลํ้าค่าฃองซาวพุทธ นิทานซาดก ผิใช่เรื่องที่แต่งขึ้นเพื่อสอนคุณธรรม แต่นิทานซาดก คือเรื่องในอดีตซาติของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรงแสดงแก่พระภิกษุในโอกาสต่าง เพื่อเป็นแบบแผนในการทำความดี ผู้อ่านหรือฟ้งนิทานซาดก จึงควรอ่านหรือ ฟ้งด้วยความพิจารณา และในที่สุด นำ หสักธรรมที่ได้ ไปใช้เป็นคุณประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น ISBN 974-89321-2-5 9 789748 932125


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook