Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore piyatida

piyatida

Published by Thipfy Thip, 2018-10-09 21:46:25

Description: piyatida

Search

Read the Text Version

แนวโนม้ นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา จดั ทาโดย นางสาวปิยธดิ า จิตต์มหา รหสั นักศึกษา 6115101001033 สาขาการศึกษาปฐมวัย กลมุ่ เรยี น 61002.152

1. VIRTUAL REALITYเทคโนโลยคี วามเป็นจริงเสมือน

ความเป็นมาของความเป็นจรงิ เสมือน เกิดจากการวิจยั ของรัฐบาลอเมริกนั เม่อื กวา่ 40 ปที ีแ่ ล้ว เพอ่ื การวิจัยและพฒั นาเทคโนโลยีสาหรบั ดา้ นการทหารและการจาลองในการบินต่อในระหว่าง พ.ศ. 2503 – 2512 (ทศวรรษ 1960s) อีแวน ซูเทอร์แลนด(lvan Sutherland) ซ่ึงนบั เปน็ บิดาของเทคโนโลยคี วามเป็นจริงเสมอื นไดป้ ระดิษฐ์จอภาพสวมศรี ษะ 3 มติ ิรนุ่ แรกออกมา และในระยะนน้ั ได้มีพฒั นาการดา้ นคอมพวิ เตอร์กราฟกิ เกิดขึน้ การใชจ้ อภาพสวมศีรษะรว่ มกับคอมพิวเตอรก์ ารฟกิ 3 มติ ิ จึงนับเป็นต้นกาเนิดของเทคโนโลยคี วามเป็นจรงิ เสมือนในปัจจบุ ัน ในระหว่าง พ.ศ. 2513 – 2532 (ทศวรรษ 1970s – 1980) การวิจยั ในหอ้ งปฏิบตั กิ ารวจิ ัยอวกาศอาร์มสตรอง ไดพ้ ัฒนาเทคโนโลยีการจาลองการบนิ โดยการปรบั ปรุงจอภาพสวมศรี ษะให้ดขี ้นึ โดยให้นักบนิ สวมใส่แล้วจะมคี วามรสู้ กึ กลมกลืนไปกลับสิ่งแวดลอ้ มเสมอื นจรงิ เมือ่ นกั บินมองออกไปในโลกความเป็นจริงเสมอื นซึ่งปรากฏอย่เู บ้ืองล่างแล้ว จะเห็นเสมือนวา่ มเี ครอื่ งบินอ่นื ปรากฏอยู่รวมถงึ อ่นื ภายใต้สง่ิ แวดลอ้ มนั้นในระยะเดียวกนันัน่ เอง ได้มีการวจิ ัยเกย่ี วกับความเปน็ จริงเสมือนในมหาวิทยาลัยต่างๆในสหรฐั อเมริกาเชน่ กนั ท่ีมหาวทิ ยาลัยนอรแ์ คโรไลนา ได้มกี ารใชเ้ ทคนิคความเปน็ จรงิ เสมือนในการสร้างจนิ ตนาการด้านสถาปตั ยกรรมและด้านการแพทย์และที่มหาวิทยาลัยแห่งวิสคอนซนิ และคอนเนกทิคตั ไดม้ กี ารวิจัยเกีย่ วกับ “ความเป็นจรงิ ประดษิ ฐ์” ที่ซ่ึงความมีปฏสิ มั พนั ธ์กับโลกเสมือนจรงิ สามารถใช้ไดท้ ้งั ทางด้านการศกึ ษาและบนั เทงิ ในช่วงประมาณ พ.ศ.2531-2532 โครงการนาซาไดช้ ่วยแพร่กระจายเทคโนโลยีความเป็นจรงิ เสมือนไปโดยไม่ตั้งใจ ถึงแมว้ ่านาซาจะมเี งนิ ทนุ จากัดในการทางานวทิ ยาศาสตรข์ องนาซาไดร้ ่วมกบั นกั เขียนโปรแกรมและผผู้ ลิตอุปกรณเ์ ก่ียวกบั คอมพิวเตอรไ์ ดน้ าเอาสว่ นประกอบตา่ งๆ ทมี่ อี ยแู่ ลว้ มาประดษิ ฐ์รวมกนั เพอื่ ใหไ้ ดจ้ อภาพสวมศีรษะในราคาเยาและใช้เปน็ ครง้ั แรกในกองทพั อากาศ การประชาสมั พันธ์โครงการนี้ได้ชว่ ยโหมกระพอื ความนา่ ตืน้ เต้นของเทคโนโลยีความเปน็ จรงิ เสมอื นใหม้ มี ากย่ิงข้นึ และตา่ งกห็ วงั ว่าการใชเ้ ทคโนโลยคี วามเป็นจรงิ เสมือนคงจะมีราคาถกูเพ่ือให้สามารถใชไ้ ดท้ วั่ ไปในชวี ิตประจาวนั ในป2ี 536 เทคโนโลยีความเป็นจรงิ เสมอื นได้ขยายวงกวา้ งทางดา้ นบันเทิง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในสถานบันเทงิ เชน่ ดิสนยี ์เวิลด์ท่ีมีการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งกวา้ งขวางในระยะต่อมาผ้ผู ลิตเกมคอมพวิ เตอรเ์ ชน่ ซีกา และนินเทนโดได้นาเทคโนโลยีความเป็นจรงิ เสมือนมาใช้ในเกมต่างๆแทนของเอมิ ในขณะทีบ่ รษิ ทั ตา่ งๆ ไดพ้ ฒั นาการโดยใช้ความเปน็ จรงิ เสมือนในดา้ นบนั เทิงอยนู่ ีส้ ถาบนั และกลมุ่ นกั วิจัยกม็ ีความพยายามในการนาความจรงิ เสมอื นมาใช้ในด้านตา่ งๆ เช่น ดา้ นวศิ วกรรม วิทยาศาสตร์ การแพทยแ์ ละการฝึกอบรม

อปุ กรณใ์ นการทางานของความเปน็ จรงิ เสมอื น การทางานของความเป็นจรงิ เสมือนจะประกอบด้วยอปุ กรณส์ าคัญ 2 อยา่ งคอื จอภาพสวมศีรษะและถุงมือรบั รโู้ ดยการทางานรว่ มกับซอฟแวร์โปรแกรมคอมพิวเตอรจ์ อภาพสวมศรี ษะ➢ จอภาพสวมศรี ษะ หรอื ท่รี ู้จักกันในชอ่ื หนึง่ วา่ ชุดแว่นตา ประกอบดว้ ยแวน่ ตาท่บี รรจจุ อมอนิเตอร์ ขนาดเล็กซ่งึ ทาด้วยกระจก 3 มติ ิ เรียกว่า stereoscopic glasses กระจกจะทามุมกว้างประมาณ 140 ซ่งึ ครอบคลมุ การเหน็ ในแนวนอนเกือบท้ังหมด ชุดแว่นตาจะใช้สัญญาณอนิ ฟาเรดพรอ้ มเลนส์ ปิด-เปดิ รูรับแสงทาด้วยการเสนอภาพทแี่ ยกกนั เล็กน้อยอยา่ งรวดเร็วในเลนส์ แว่นตาทงั้ 2 ขา้ ง สามารถเคลือ่ นทีไ่ ดโ้ ดยรอบในเนื้อที่ 3 มิติ ซง่ึ ข้ึนอย่วู า่ เสยี งเกิดข้ึนในทศิ ทางใดบา้ งในไซเบอร์สเปซ นน้ั➢ ถุงมอื รบั รู้ ถุงมอื รบั รู้ เปน็ ถุงมือขนาดเบาทมี่ ีเส้นใยนาแสงเรียงเป็นแนวอยตู่ ามนิ้วและเมอื่ เปน็ เคร่ืองรับรู้การเคล่ือนท่ีและส่งสัญญาณไปยงั คอมพวิ เตอรเ์ มื่อสวมถงุ มอื แล้วจะทาใหเ้ ขา้ ถึงสงิ่ แวดล้อม 3 มิติ ถงุ มือรับรู้จะทาให้ผใู้ ชจ้ บั ต้องและรูส้ ึกได้ถึงวตั ถสุ งิ่ ของซง่ึ ไมม่ ีอยนู่ นั่ จริงในของผวิ หนา้ ของถงุ มือ จะมีการกระตนุ้ การสมั ผสั เมือ่ คอมพวิ เตอร์ รบั ความรสู้ กึ วา่ มอื ของผู้ใชก้ าลงั จับวัตถุเสมือนซึ่งแม้จะ ไม่มอี ยูจ่ ริงกต็ าม แต่ผ้ใู ชจ้ ะมคี วามรูส้ กึ เสมือนวัตถนุ น้ั เป็นของจริง นนั่ คือเมื่อเราจบั วตั ถเุ สมือน เราจะ รู้สกึ เสมือนว่าเราไดจ้ บั วัตถจุ ริงดว้ ยนว้ิ ของเราเอง ถุงมือทีร่ ับรูน้ ิยมใชก้ นั จะเป็นถุงมอื ความดันลมทม่ี ี เครอ่ื งรับความรูส้ กึ และถุงลมเล็กๆ อยภู่ ายใน ได้แก่ ถงุ มอื ข้อมูล ซึง่ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ของบริษัท วพี ี แอล รเี สิซ อินคอร์พอเรชั่น

อปุ กรณ์ในการทางานของความเปน็ จรงิ เสมอื น (ตอ่ ) ซอฟแวรโ์ ปรแกรม การท่เี ราจะเห็นภาพ 3 มติ ิ จะต้องใชซ้ อฟแวร์โปรแกรมเพื่อสร้างภาพบนคอมพวิ เตอรเ์ พื่อให้ผู้ใช้สามารถทอ่ งสารวจไปในโลกเสมือนจริงได้ พัฒนาการของโปรแกรมต่างๆ เช่นvream’s the VREAM System,Sense8’s WorldToolkit,เป็นส่งิ ที่ชว่ ยในการนาหรือสร้างวตั ถุ 3 มิติและเพ่ิมคุณลกั ษณะๆเชน่ เสียงการเคล่อื นที่และการเช่ือมโยงหลายมติ ิ ระบบการทางานของโปรแกรมจะจดั การฐานข้อมูลของวัตถเุ สมือนและปรบั ใหเ้ ป็นไปตามการเคลอ่ื นท่ีของผใู้ ช้ Cave เปน็ ห้องแสดงผลสามมติ ทิ ปี่ ระกอบจากจอภาพจานวน 4 จอตอ่ กนั เปน็ รปู ลูกบาศก์สาหรบั จอด้านซา้ ย ด้านหน้า ด้านขวา และทพ่ี น้ื สามารถมองเหน็ วตั ถจุ าลองทีเ่ ตรียมขึ้นจากโปรแกรมคอมพวิ เตอรโ์ ดยอาศัยแว่นสามมติ ชิ นดิ LCD shutter glasses รวมท้ังสามารถตดิ ต่อกบั วัตถจุ าลองสามมติ ิชิน้ ตา่ งๆ ได้โดยอาศัยอุปกรณ์ติดตอ่ อยา่ ง ถุงมอื 3 มิติ (CyberGlove), เมาส์สามมติ ิ (3Dmouse), และ คทาสามมติ ิ (Wanda) เป็นตน้

VIRTUAL REALITYประโยชนข์ อง VR กายศาสตร์ สามารถนามาใชท้ างด้านการศึกษาได้เปน็ อย่างดี เช่น องคก์ ารนาซาต้องการออกแบบ อุปกรณท์ างดา้ นอวกาศและดวู า่ การทาแบบจาลองอปุ กรณ์นนั้ และทดสอบว่าร่างกายมนษุ ยจ์ ะสามารถ เข้ากนั ได้และใชอ้ ปุ กรณ์นั้นอยา่ งไรโบราณคดี ความเป็นจริงเสมอื นจะช่วยในการสารวจซาก โบราณสถานและโบราณวัตถุที่คน้ พบได้วา่ ของเดมิ เปน็ อย่างไรและอยู่ในชว่ งสมัยใด สถาปตั ยกรรม การออกแบบอาคารโดยใหส้ ถาปนิกและลกู คา้ สารวจภายในแบบจาลองและแก้ไข แบบการก่อนสร้างให้เปน็ ไปตามต้องการ การแพทย์ แพทย์และศัลยแพทยจ์ ะใช้ความเปน็ จรงิ เสมอื นในการดรู ะบบ 3 มิตใิ นรา่ งกายคนไข้ บนั เทงิ ในรปู แบบของโรงภาพยนตร์เดมิ แตจ่ ะมีอุปกรณอ์ านวยความสะดวกนานาชนิดสาหรบั การ แสดงประเภทต่างๆ

VIRTUAL REALITY ข้อดี1.สรา้ งโลกเสมอื นจริงบางครัง้ เสีย่ งต่ออนั ตรายใหส้ ามารถเรียนรไู้ ด้โดยปลอดภยั2.ขยายโอกาสให้ผู้เรียนสารวจสถานทท่ี ไ่ี มส่ ามารถท่องไปไดใ้ นความเป็นจรงิ เชน่ อวกาศหรอื ภาย ในภเู ขาไฟที่กาลงั ระเบิด3. เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นทาการทดลองในสิง่ แวดล้อมท่เี ป็นสถานการณจ์ าลอง ข้อจากดั 1. อุปกรณ์มีราคาสูงเกิดกว่าสถาบนั การศกึ ษาทวั่ ไปจะซือ้ ไวใ้ ช้ได้ 2. เทคโนโลยีซับซ้อนมากเกนิ กว่าจะใช้ไดใ้ นห้องเรียนธรรมดา 3. ซอฟตแ์ วรบ์ ทเรียนยังมจี ากัดในเร่อื งทจี่ ะใช้เรยี น

2. AUGMENTED REALIT เทคโนโลยกี ารผสมผสานโลกเสมือนความเปน็ มา เทคโนโลยนี ไี้ ด้ถูกพัฒนามาต้ังแต่ปี ค.ศ. 2004 จัดเปน็ แขนงหนง่ึ ของงานวิจยั ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ว่าด้วยการเพ่ิมภาพเสมือนของโมเดลสามมิตทิ สี่ รา้ งจากคอมพิวเตอรล์ งไปในภาพท่ีถา่ ยมาจากกลอ้ งวิดโี อกล้องเว็บแคม หรือกลอ้ งในโทรศัพทม์ ือถือ แบบเฟรมตอ่ เฟรมด้วยเทคนิคทางดา้ นคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ แต่ด้วยข้อจากัดทางเทคโนโลยีจึงมีการใช้ไม่แพร่หลายเทา่ ไหร่ แตป่ จั จุบนั เทคโนโลยีมือถอื และการสอ่ื สารขอ้ มูลไร้สาย รวมทั้งการประมวลต่าง ๆ มีความรวดเร็วขนึ้ และมรี าคาถูก จึงทาให้อุปกรณ์สมาร์ทโฟน และแทบเล็ต ทาใหเ้ ทคโนโลยีท่อี ยแู่ ต่ในห้องทดลองกลับกลายมาเปน็ แอพท่ีสามารถดาวน์โหลดมาใชง้ านกนั ง่าย ๆ ไปแลว้ โดยในช่วง 2-3 ปมี านี้ AR เปน็ เร่อื งที่ถูกกล่าวถงึ อยู่เป็นระยะแม้จะไม่ฮอตฮติ เหมือนแอพตัวอื่น ๆ ก็ตาม แต่อนาคตยังไปไดอ้ ีกไกล ทง้ั VRและ ARสามารถนามาประยุกต์ใช้งานได้กวา้ งขวางหลากหลาย ทง้ั ด้าน อตุ สาหกรรม การทหารการแพทย์ การตลาด การบนั เทิง การสือ่ สาร และ การศกึ ษาความหมาย คอื การนาวัตถุในโลกเสมือนไปวางในโลกแห่งความจริงให้มีความสมจริง ซ่ึงจะความเสมอื นจริงจะถกู คานวณขึ้นมาจากเซนเซอร์กล้อง,GPS และอื่น ๆ ข้อดีของ AR คอื อปุ กรณท์ ่ีใช้งานไม่จาเปน็ ต้องออกแบบมาเฉพาะ เพียงมีหนว่ ยประมวลผลท่ีแรงพอท่ีจะคานวณ AR กเ็ พียงพอแล้ว ดงั นน้ั AR จงึ สามารถใช้งานในโทรศัพท์มอื ถอื ทั่วไปไดอ้ ย่างสบายๆ และเหมาะกับการใช้งานได้ในชีวิตประจาวันมากกวา่ เนอ่ื งจากไม่จาเป็นต้องใส่อุปกรณ์แปลก ๆ เพียงแคห่ ยิบมือถอื ข้ึนมากใ็ ช้งานได้แล้ว

AR เปน็ เทคโนโลยใี หม่ ทผ่ี สานเอาโลกแหง่ ความเป็นจริง (Real)เข้ากบั โลกเสมือน (Virtual) โดยผา่ นอุปกรณท์ างด้านฮารด์ แวรร์ วมกบั การใชซ้ อฟตแ์ วรต์ ่าง ๆ ทาให้สามารถมองเหน็ ภาพที่มลี กั ษณะเปน็ วัตถุ(Object) แสดงผลในจอภาพกลายเป็นวตั ถุ 3 มิติ ลอยอยู่เหนือพืน้ ผิวจริงมกี ารแสดงผลทแ่ี สดงวตั ถุมกี ารเคลอ่ื นไหว ดมู มี ิติมคี วามต่นื เตน้ เร้าใจ โดยสามารถนารปู แบบใหม่ของการนาเสนอสินคา้ ลอยออกมานอกจอคอมพิวเตอร์ซึง่ เปน็ การนาเสนอรปู แบบใหม่ในโลกสงั คมออนไลนห์ รอื การตลาดออนไลน์อกี ทางหนึ่ง วา่ กันวา่ นี่จะเป็นการเปลยี่ นแปลงโฉมหน้าส่ือยคุ ใหม่ พอๆ กบัเมือ่ ครงั้ เกิดอนิ เทอรเ์ น็ตข้ึนในโลกกว็ า่ ได้ หากเปรยี บส่ือต่าง ๆ เสมอื น“กล่อง” แล้ว AR คือการเดง้ ออกมาสู่โลกใหมภ่ ายนอกกลอ่ งท่ีสร้างความต่นื เต้นเร้าใจ ในรูปแบบ Interactive Media โดยแท้จริง

เทคโนโลยีเสมอื นจริงน้ี มหี ลกั การทางานโดยสามารถแบ่งประเภทตามส่วนวิเคราะห์ภาพ (Image Analysis) เป็น 2 ประเภทไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์ภาพโดยอาศยั Marker เปน็ หลกั ในการทางาน(Marker based AR) และการวเิ คราะหภ์ าพโดยใช้ลักษณะตา่ ง ๆ ทีอ่ ย่ใู นภาพมาวิเคราะห์ (Marker-less based AR)หลกั การของเทคโนโลยเี สมอื นจริง ประกอบด้วย1. Marker (หรือท่เี รียกวา่ Markup)2. กล้องวดิ ีโอ เว็บแคม กล้องโทรศพั ท์มอื ถอื หรอื ตัวจบั Sensor3. ส่วนการแสดงผลภาพ เชน่ จอภาพจากอปุ กรณแ์ สดงผล4. ซอฟตแ์ วร์ส่วนประมวลผลเพื่อวตั ถแุ บบสามมติ ิ object 3D

ประโยชนข์ องเทคโนโลยีAR (Augmented Reality)❖ ด้านธรุ กจิ เร่มิ หันมาใช้ Augmented Reality เพอื่ นาเสนอสินค้าเพ่ือสรา้ งความน่าสนใจให้กับลูกคา้ โดยมกี ารประยุกต์เข้ากบั Smart phone เพ่ือให้ลูกค้าสามารถสแกนรปู ถ่ายของสินค้าและแสดงขอ้ มูลของสินค้าเพิม่ เตมิ ในรปู แบบวิดีโอ และส่ือ 3 มติ ิ❖ ดา้ นการแพทย์ มีการนาประยกุ ต์ใชใ้ นการผ่าตดั เพอื่ แสดงขอ้ มลู อวยั วะของคนไขแ้ บบ Real-time เช่นการจาลองภาพเอกซเรย์ทไี่ ด้จากการทา Ultrasound เพ่ือจาลองตาแหน่งของเนอ้ื งอกภายในร่างกายของคนไข้❖ ดา้ นการศกึ ษา ครผู สู้ อนมีการนามาประยุกต์ใชใ้ นห้องเรยี นเพอ่ื สร้างบรรยากาศ ในการเรยี นให้นา่ ต่นื เต้น และแปลกใหม่ ทาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การสนใจเรยี นรู้

3. ยูบคิ วติ ัส (Ubiquitous)ความเปน็ มาของยบู คิ วติ สั เป็นเทคโนโลยที เ่ี กดิ จากแนวความคิดทีต่ อ้ งการเชอื่ มโยงเครอื ข่ายกบัเทคโนโลยที ่ีมอี ยเู่ พอื่ ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลาดังคาทว่ี า่ “AnytimeAnywhere” หมายความว่าแนวความคิดนเ้ี ปน็ แนวความคิดทีจ่ ะใช้เทคโนโลยีเชอื่ มโยงกับผลิตภณั ฑเ์ พื่อใหเ้ ขา้ ถงึ กลมุ่ ของผบู้ ริโภคหรอื กลมุ่ เปา้ หมายเพอ่ื เปน็การตอบสนองความตอ้ งการในการใช้งานผลิตภณั ฑท์ ่ีมีเทคโนโลยผี สมผสานอยู่ความหมาย เป็นเทคโนโลยที เี่ กิดจากแนวความคิดที่ต้องการเชอ่ื มโยงเครือขา่ ยกบั เทคโนโลยที ีม่ อี ยเู่ พอ่ื ใหส้ ามารถเข้าถงึ ไดท้ กุ ทีท่ กุ เวลา เป็นวทิ ยาการประยกุ ต์แขนงใหม่ทีอ่ าศยั การผสมผสานดา้ นวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์การสือ่ สารเขา้ ด้วยกนั ทาให้เราสามารถรับสง่ ขอ้ มูล ขา่ วสารถึงกนั ไดท้ กุ หนทกุ แหง่ ทุกท่ที ุกเวลา ช่วยอานวยความสะดวกใหก้ บั มนษุ ยไ์ ดอ้ ยา่ งมากมายมหาศาล ไมว่ ่าจะรับส่งขอ้ มูลขา่ วสารในรูปแบบ มลั ตมิ ีเดีย หรอื อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทสี่ ามารถรบั ส่งข้อมลู ตา่ ง ๆ ได้ ยบู ิค วติ ัสเปน็ ภาษาลาตินมีความหมายว่า “อย่ใู นทกุ แหง่ หรอื มีอยทู่ กุ หนทกุ แหง่ ” เปน็ เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารทุกที่ทกุ เวลา ทาใหเ้ กิดสภาพแวดลอ้ มใหม่ของการ สอ่ื สาร และเป็นทิศทางของสงั คมสารสนเทศในอนาคต เรยี กว่า “สงั คมยูบิค วติ สั ”

จุดเดน่ ของยูบคิ วติ สั 1. การเชอื่ มต่อกบั เครือข่ายไม่วา่ ผ้ใู ชง้ านจะเคลือ่ นยา้ ยไปยงั สถานท่ตี ่างๆ 2. การสร้างสภาพการใช้งานโดยผใู้ ชไ้ ม่รู้สึกว่ากาลังใชค้ อมพิวเตอร์อยู่ 3. การใหบ้ ริการทส่ี ามารถเปลีย่ นไปตามสถานการณ์ทั้งสถานที่ อุปกรณ์ ปัจจัยทางกายภาพอน่ื ๆการนามาประยุกตใ์ ช้ นับตั้งแตก่ ารคิดค้นอินเตอรเ์ น็ตและเวบ็ ไซต์ กระบวนการเรียน (EducationProcess) พัฒนาการในวงการการศกึ ษาไดพ้ ฒั นาควบค่ไู ปกบั ววิ ัฒนาการทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเรยี นรแู้ บบไร้ขอบเขต(Ubiquitous Learning) ในลกั ษณะทุกที่ ทุกเวลา การเรยี นเกดิ ข้ึนรอบตัวผู้เรียน เพราะขอ้ มูลสารสนเทศไดร้ วมไวใ้ นอุปกรณต์ ่างๆ ขอเพียงผู้เรยี นพรอ้ มท่ีจะเรยี นโดยเรียกความสมั พันธ์ของมนษุ ย์กบั เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วา่ เป็นแบบMany to one relationship (Weiser, 1993) ซึง่ เป็นความสัมพนั ธ์แบบสามญั และเก่ยี วพนั ธก์ บั Ubiquitous Computing

4. Artificial Intelligence หรือ AIประวัตคิ วามเปน็ มา Artificial Intelligence หรอื AI มีมาตง้ั แต่สมยั กรกี โบราณเพียงแต่ยังไมม่ ีการจดั ต้งั เปน็ สาขาวชิ าในสถานศกึ ษาใดๆ อยา่ งเปน็ ทางการ จะมีกเ็ พียงในนวนิยายเกย่ี วกบั ศาสนาความเช่อื ในเร่ืองของเทพเจา้ กรกี เช่นหุน่ ยนตท์ องแดงช่อื “ทาลอสแห่งครตี ” ของเทพฮิฟีสตสั และในนยิ ายแนววทิ ยาศาสตร์ ต่อมานกั ปรชั ญาและนกั วิทยาศาสตร์ไดม้ กี ารศึกษาและพัฒนาแนวคิดนใ้ี ห้เปน็ รปู ธรรมมากขน้ึ โดยนามาใชใ้ นเรื่องการคิดค้นเครอ่ื งคานวณอิเลก็ ทรอนิกสด์ ิจทิ ัลทใ่ี ช้โปรแกรมและหลกั การทางคณิตศาสตรข์ อง แอลัน ทวัริง ซึ่งไดผ้ ลดีจนทาใหน้ ักวิทยาศาสตรเ์ ริ่มเห็นความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะสรา้ ง สมองอิเล็กทรอนิกส์ อยา่ งจริงจัง ในปี 1990 ไดม้ กี ารนา AI มาใช้ในด้านการขนส่ง การทาเหมอื ง การวนิ ิจฉยั ทางการแพทย์ และอกี หลายสาขาอุตสาหกรรม

จนกระทั่งในปี 1997 เคร่ือง DeepBlue ของบริษทั IBM ไดก้ ลายเปน็คอมพิวเตอรเ์ คร่อื งแรกของโลกท่ีสามารถเล่นหมากรกุ เอาชนะแชมปโ์ ลกอยา่ งแกรี คาส ปารอฟ ซ่ึงเป็นแชมปห์ มากรกุ ของโลกในเวลานัน้ ได้ และในปี2011 เคร่ือง Watson ของบริษทั IBM ไดเ้ ปน็ แชมปร์ ายการตอบคาถามจีโอพาร์ดีแบบชนะขาดลอย จะเห็นไดว้ ่าในชว่ งตน้ ๆ การวจิ ยั และพฒั นา AI จะใช้ในด้านคณิตศาสตร์, เกมส,์ วทิ ยาศาตร์คอมพิวเตอร์ เป็นหลกั แตก่ ็มกี ารทาวจิ ยั มาเรือ่ ยๆ ในความพยายามใหม้ ันฉลาดมากขึ้น, ประมวลผลได้แมน่ ยาขน้ึ และมีความสามารถเท่าเทยี มมนษุ ย์ โดยแบง่ ออกเปน็ 4 แนวคดิ1. ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์ (Systems that think like humans)2. ระบบทก่ี ระทาเหมือนมนษุ ย์ (Systems that act like humans)3. ระบบที่คิดอยา่ งมีเหตุผล (Systems that think rationally)4. ระบบทก่ี ระทาอยา่ งมีเหตผุ ล (System that act rationally)

ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์ หรอื ท่เี รารู้จักกนั ในช่อื AI คอื การทาให้คอมพวิ เตอร์มีความสามารถคล้ายกับมนุษย์ หรอื เลยี นแบบพฤตกิ รรมมนษุ ยเ์ ลยก็วา่ ได้ เปน็ ซอฟตแ์ วร์ที่ถูกใช้กับคอมพิวเตอร์ เพอื่ ให้มนัสามารถคิดเองได้ มสี ตปิ ญั ญา และจดั การทุกอย่างไดด้ ้วยตัวเอง ซงึ่แตกต่างจากคอมพิวเตอรป์ กตทิ ่ีมนุษย์ต้องเป็นคนควบคมุ และด้วยความอจั ฉรยิ ะซะจนนา่ ทง่ึ นแี่ หละครับ ท่ีทาใหม้ ันถูกเรียกวา่ ปญั ญาประดิษฐ์ AI นน้ั เปน็ เทคโนโลยใี หมๆ่ ทน่ี กั พฒั นาทง้ั โลกกาลังใหค้ วามสนใจ และจับตามอง เนือ่ งจากเปน็ การเข้ามาที่มสี ่วนทาให้โลกทงั้ ใบเปลีย่ นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ถงึ แม้ทกุ วนั น้ีปญั ญาประดิษฐจ์ ะยงั ไม่สามารถคิดอ่านและทาทุกอยา่ งได้ดว้ ยตัวเองทั้งหมด และยังคงต้องอาศัยมนษุ ย์ในการป้อนขอ้ มูลตา่ งๆ หรอื ใสส่ ตู ร เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ที่น่าทงึ่แตใ่ นอนาคตเราจะได้เหน็ วิวัฒนาการของเทคโนโลยีนท้ี ช่ี ว่ ยให้ชวี ิตเราสะดวกสบายได้มากกว่าเดิมแนน่ อน

สิง่ ทส่ี าคญั ทางปญั ญาประดิษฐ์ (AI) มสี องประการคอื1. ความสามารถทีจ่ ะเขา้ ใจภาษาธรรมชาติ2. ความสามารถท่ีจะให้เหตผุ ล ดงั นัน้ ความหมายของปญั ญาประดิษฐ์จงึ หมายถึงความสามารถของระบบการทางานคลา้ ยคลึงกับสติปญั ญาของมนษุ ยจ์ งึ ถูกเรียกว่าปัญญาประดิษฐ์ วิวัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์(Evolution of AI) ไดม้ กี ารนามาใช้เป็นครง้ั แรกในช่วงกลางศตวรรษที่1950โดยมลี ักษณะเป็นตัวประมวลผลโปรแกรมการใชง้ านซงึ่ ทางานภายใตส้ ัญลกั ษณแ์ ละเคร่อื งหมายมากกวา่ เรอื่ งของตัวเลขประโยชน์ Artificial Intelligence หรือ AI1. ดา้ นระบบประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing– NLP)ในด้านนจี้ ะเป็นการส่อื สารระหว่างมนุษยก์ บั ระบบ AI ในภาษาทม่ี นุษยใ์ ช้เชน่ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย เปน็ ต้น โดยระบบจะทาการวเิ คราะหผ์ ใู้ ชเ้ พ่อืเลอื กภาษาในการสอื่ สาร ซ่งึ จะชว่ ยให้การทางานระบบ AI และมนษุ ยม์ คี วามสอดคลอ้ งกัน นอกจากนีย้ งั สามารถแปลภาษาท่ียากๆ เชน่ ภาษาทางกฎหมายภาษาทางการแพทย์ ใหก้ ลายเปน็ ภาษาที่เขา้ ใจง่ายในแบบทม่ี นุษยใ์ ช้กนัโดยทั่วไป

ประโยชน์ Artificial Intelligence หรือ AI2. ดา้ นการรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู จากการสารวจของบริษัทรกั ษาความปลอดภยั ขอ้ มูลพบว่า ปัจจบุ นัมมี ัลแวร์เกิดขึน้ ใหม่ 3 แสนกว่าไฟล์ในทุกๆ วนั ซึง่ มลั แวร์แหลา่ นจี้ ะมีรปู แบบที่คล้ายคลึงการ โดยมคี วามแตกต่างกันไม่เกนิ 10% ซ่ึงนนั่ ทาใหร้ ะบบการตดิ ตามและตรวจสอบทาไดย้ ากมาก เพราะยงั ต้องใชค้ นในการวิเคราะหแ์ ละแยกแยะวา่ ไฟลไ์ หนไม่ใช่มัลแวร์ แตร่ ะบบ AI สามารถตรวจสอบและวิเคราะห์แยกแยะได้ทนั ทวี า่ ไฟลใ์ ดคือมัลแวร์ท่ีสามารถคกุ คามได้ ยิง่ ในปจั จบุ นั ทมี่ กี ารใชร้ ะบบคลาวด์ ระบบ AI จึงยิ่งมคี วามสาคญั ในการตรวจสอบขอ้ มลู3. ดา้ นการคน้ หาในระบบออนไลน์ การค้นหาใน Google จงึ ต้องมเี ทคนิคในการคน้ หา แตร่ ะบบ AIจะสามารถคน้ หาได้งา่ ยกว่าน้นั เพราะเพียงแคค่ ียเ์ วิรด์ คาเดยี วกส็ ามารถหาขอ้ มลูทต่ี รงใจได้ นั่นเปน้ เพราะระบบ AI จะวิเคราะห์พฤติกรรมการคน้ หา รวมไปถงึ วิเคราะห์คียเ์ วิรด์ ท่ีค้นหาเพอื่ ให้สามารถไดข้ ้อมลู ทต่ี อ้ งการค้นหา ซงึ่ แน่นอนวา่ ความผิดพลาดมีน้อยมาก

5. Internet Of Things (IoT)ความหมาย Internet of Things (IoT) คอื \"อินเตอรเ์ น็ตในทกุ สง่ิ \" หมายถึง การทอ่ี ปุ กรณ์ตา่ งๆ สง่ิ ตา่ งๆ ไดถ้ ูกเชอื่ มโยงทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งสู่โลกอินเตอรเ์ นต็ ทาให้มนุษย์สามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอปุ กรณต์ ่างๆ ผา่ นทางเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต เช่น การเปิด-ปดิ อปุ กรณ์เคร่อื งใช้ไฟฟ้า (การส่งั การเปดิ ไฟฟ้าภายในบ้านดว้ ยการเช่ือมตอ่ อุปกรณ์ควบคมุ เชน่ มือถือ ผา่ นทางอินเตอรเ์ น็ต)รถยนต์ โทรศัพทม์ ือถอื เครื่องมือส่ือสาร เครอ่ื งมือทางการเกษตร อาคารบา้ นเรือน เคร่อื งใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ต่างๆ ผา่ นเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ เปน็ ต้น

IoT มีชอื่ เรียกอกี อยา่ งวา่ M2M ยอ่ มาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยอี ินเตอรเ์ นต็ ทเี่ ชื่อมต่ออปุ กรณ์กบั เครื่องมอื ต่างๆ เขา้ ไวด้ ้วยกัน เทคโนโลยี IoT มีความจาเปน็ ต้องทางานรว่ มกบั อปุ กรณ์ประเภท RFIDและ Sensors ซง่ึ เปรียบเสมือนการเติมสมองใหก้ บั อุปกรณ์ตา่ งๆ ทข่ี าดไมค่ ือการเช่อื มตอ่ อินเตอรเ์ น็ต เพอ่ื ให้อปุ กรณ์สามารถรบั ส่งขอ้ มลู ถงึ กนั ได้เทคโนโลยี IoT มปี ระโยชน์ในหลายดา้ น แต่กม็ าพร้อมกับความเสีย่ ง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภยั ของอุปกรณ์ และเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตไม่ดพี อ ก็อาจทาใหม้ ีผูไ้ มป่ ระสงคด์ เี ขา้ มาขโมยขอ้ มูลหรอื ละเมดิ ความเป็นสว่ นตัวของเราได้ดงั นนั้ การพัฒนา IoT จงึ จาเปน็ ตอ้ งพัฒนามาตรการ และระบบรักษาความปลอดภยั ไอทคี วบคูก่ นั ไปดว้ ย

ประโยชน์ นาฬกิ าเดก็ อจั ฉรยิ ะ (Kidz Watch) เปน็ นาฬิกาสาหรบั เดก็ ทีส่ ามารถโทรได้ ถ่ายรูปได้ พรอ้ มระบตุ าแหนง่ ท่ตี ั้ง โดยเชอื่ มต่อกบั สมารท์ โฟนสง่ขอ้ มูลผ่านแอปพลิเคชัน ไมว่ า่ บตุ รหลานนของคณุ จะเลน่ อยทู่ ไี่ หน กส็ ามารถตดิ ตามไดต้ ลอดเวลา ปลอดภัย ไร้กังวล

ตเู้ ยน็ อจั ฉรยิ ะ เปน็ สิ่งท่ีน่าทง่ึ เม่อื ตูเ้ ยน็ สามารถตรวจจับจานวนส่งิ ของตา่ ง ๆ ได้ และเมอ่ื อาหารในตู้เยน็ ใกลจ้ ะหมดอายุ ระบบจะมขี ้อความแจง้ เตอื นไปยังสมารท์ โฟนใหเ้ ราวางแผนการซ้อื อาหารภายในตู้ไดต้ ลอดเวลา เครอื่ งซกั ผา้ และราวตากผา้ อจั ฉรยิ ะ สามารถส่ังให้เครอื่ งซกั ผา้ เริม่ ซกั และปน่ั ล่วงหนา้ ผา่ นสมารท์ โฟน เมื่อซักผ้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว ระบบกจ็ ะสง่ ขอ้ มูลรายงานเราอัตโนมตั ิ พรอ้ มกับส่งขอ้ มลู ไปยงั ราวตากผา้ ใหเ้ คลือ่ นตวั ออกมากลางแดด เมอื่ เรามาถึงบ้านกน็ าผา้ ไปตากไดเ้ ลย ทาใหล้ ดเวลาในการทางานบา้ นได้มากข้ึนและท่ีฉลาดยงิ่ กวา่ หากราวตากผา้ ไดร้ บั พยากรณ์อากาศวา่ จะมฝี นตกราวตากผา้ กจ็ ะเคล่ือนตวั กลับเข้าสู่ทรี่ ม่ อัตโนมัติ ไม่ตอ้ งกงั วลว่าผา้ ทซ่ี ักแลว้ จะเปยี กฝน

6. OER : Open Education Resourcesทม่ี า ในปีพ.ศ. 2545 ไดม้ ีแนวคิดในการแบง่ ปนั ความร้ทู มี่ ีคุณภาพสู่มวลมนุษยชาติขององคก์ ารการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติหรือยเู นสโก (UNESCO) โดยไดร้ ับการยอมรับในชื่อของแหลง่ ทรัพยากรดา้ นการศึกษาแบบเปดิ จากนั้นมาการใชแ้ หลง่ ทรพั ยากรดา้ นการศกึ ษาแบบเปิดกเ็ ริ่มแพรห่ ลายในแถบทวีปอเมริกาและยโุ รป โดยมีมหาวิทยาลยั และสถาบนั ท่มี ชี อ่ื เสยี งหลายแหง่ ไดพ้ ฒั นาแหลง่ ทรพั ยากรดา้ นการศกึ ษาแบบเปิดเพ่อื ให้นกั การศกึ ษาผ้สู อนผเู้ รยี นและผทู้ ส่ี นใจสามารถนาความรไู้ ปใชไ้ ดโ้ ดยเสรีโดยทแี่ หล่งทรพั ยากรดา้ นการศกึ ษาแบบเปดิ น้นั จะใชภ้ าษาองั กฤษเป็นภาษาหลกั ดังนัน้ นกั พัฒนาและผู้ใชท้ เี่ ขา้ ถึงแหลง่ ทรพั ยากรดา้ นการศกึ ษาแบบเปดิ จงึ อยู่ในกลมุ่ ประเทศทม่ี ีทกั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ อยา่ งดแี ละเม่อืการศึกษาทกุ วันนเ้ี ป็นการศกึ ษาในยคุ ไร้พรมแดน ซึง่ ทุกคนสามารถเขา้ ถึงแหล่งทรัพยากรการศึกษาไดโ้ ดยงา่ ย ทุกสถานที่ ทกุ เวลา จงึ ส่งผลใหก้ ารใช้แหลง่ ทรัพยากรดา้ นการศกึ ษาแบบเปดิ มีความเปน็ ไปไดม้ ากขน้ึ

ความหมาย ลักษณะของการเรยี นการสอนและการเรยี นรู้ ด้วยการเปิดโอกาสให้ผ้สู อนแต่ละคนสามารถปรบั แต่งและปรบั ปรงุ ลกั ษณะของการเรยี นการสอนและการเรียนรไู้ ดต้ ามความตอ้ งการของตนเองและใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ขนึ้ขณะเดยี วกัน OER กเ็ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนร่วมสรา้ งและมสี ่วนรว่ มในการเรียนการสอนและการเรียนร้มู ากยงิ่ ขน้ึ ทั้งหมดนส้ี ามารถทาใหก้ ารเรียนร้ไู ดผ้ ลดยี งิ่ ขน้ึ แต่ OER เพียงอยา่ งเดยี ว ไม่สามารถผลักดันการเปล่ยี นแปลงทีว่ า่ นีไ้ ด้ ผสู้ อนจานวนมากมขี ้อสงสยั เกย่ี วกับคณุ ภาพของ OER เชน่ อาจเป็นเร่อื งยากทจี่ ะค้นหาและดูแลOER อาจมเี นือ้ หาท่ี OER ไมค่ รอบคลมุ และอาจไม่สามารถใช้ประโยชน์OER ได้อยา่ งเตม็ ทีต่ ามลกั ษณะวธิ กี ารใชท้ ม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ

การนา Open Education Resources (OER) มาประยกุ ตใ์ ช้ การนา Open Education Resources (OER) มาประยุกต์กับการทางาน ทาให้การเขา้ ถงึ ของแหล่งทรัพยากร และการกระจายของความรูไ้ ด้แพรห่ ลายมาก โดยผู้ที่นาไปใชส้ ามารถนาไปทาซ้า เผยแพร่ แปล รวมถึงดดั แปลงสาหรบั การเผยแพรท่ ่ีไม่ใช่เพ่อื เชิงพาณิชย์ภายใต้เง่อื นไขวา่ ผู้ท่ีนาไปเผยแพร่ตอ่ ตอ้ งอ้างอิงถึงเจ้าของผลงานเดมิ และเผยแพรต่ ่อในลกั ษณะเดยี วกัน

7. MOOCs : Massive Open Online Courses ที่มา เทคโนโลยนี เี้ ริ่มตน้ เมื่อปี 2008 เมื่อห้องเรยี นในมหาวทิ ยาลัยแห่งหนึ่งเปิดใหผ้ ทู้ สี่ นใจสามารถเข้าเรยี นออนไลน์ ซงึ่ นอกเหนือจากนกั ศกึ ษาในหอ้ ง25 คนแล้ว คนอกี นับพันคนกไ็ ดม้ ีโอกาสไดเ้ รยี นรูว้ ชิ าน้นั ดว้ ย เครอ่ื งมือในการทา MOOCs เป็นเทคโนโลยธี รรมดาๆ ทเี่ ราค้ยุ เคยกนั อยู่ เชน่ เวบ็ ไซต์วดิ ีโอ บล็อก ฯลฯ เง่อื นไขในการใชง้ านข้อมูล เชน่ ให้ใช้งานไดอ้ ยา่ งเดยี ว ให้นาไปเผยแพร่ได้ หรอื ให้นาไปแกไ้ ขดดั แปลงได้ ขึ้นอย่กู บั ผพู้ ฒั นาแต่ละราย MOOCs ตา่ งจาก E-learning ตรงที่ E-learning จะเรยี นเม่ือไหร่ก็ได้ แต่ MOOCs มีลักษณะเหมือนหลักสูตร มรี ะยะเวลาเปิด-ปิดเหมือนหอ้ งเรยี นปกติ ถกู กาหนดหวั ข้อยอ่ ยในรายวิชาไว้แลว้ มกี ารวดั และประเมนิ ผล มีการบา้ น มกี ิจกรรมใหผ้ เู้ รยี นไดท้ างานกลุม่ รวมทงั้ ใหผ้ เู้ รียนชว่ ยกนั ตรวจงาน MOOCs หลายตัวสามารถใหผ้ เู้ รียนเทียบหลกั สตู รกบัสถาบนั อดุ มศึกษาชือ่ ดังหรอื ใช้อา้ งอิงในการสมคั รงานได้

ปจั จบุ ันมี MOOCs Provider เพิม่ มากขนึ้ เรื่อยๆ โดยแตล่ ะแห่งจะจับมือกบั มหาวทิ ยาลยั ทมี่ ชี อ่ื เสียงระดบั โลกในการผลติ สือ่ การเรียนการสอนทัง้ นี้ ช่องทางทีบ่ ริษทั และมหาวิทยาลัยจะสร้างรายได้ ได้แก่ กรณที ี่ผ้เู รียนตอ้ งการใบรับรองการจบหลักสตู ร ค่าดาเนินการสอบ การช่วยนาโปรไฟลใ์ นการเรยี นไปเผยแพร่กบั บรษิ ัทจัดหางาน ฯลฯความหมาย MOOCs (มู้กส)์ – Massive Open Online Courses หมายถึงระบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ระบบเปิดสาหรับมหาชน ซง่ึ มีลกั ษณะให้เข้าเรียนไดไ้ มจ่ ากดั จานวนคน เปน็ ระบบ “เปดิ ” ที่ทุกคนทอี่ ยากเรียนจะต้องไดเ้ รียน โดยไม่เสียคา่ ใช้จา่ ยในการเรยี น และใชเ้ ทคโนโลยีออนไลนเ์ ป็นเคร่ืองมอื

องคป์ ระกอบของรายวชิ า MOOC เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง โดยตอ้ งมี1. วดิ ีโอแบบสัน้ ๆหลายๆชุด เช่น การพดู ให้ขอ้ มูล การยกตวั อยา่ งงานการทดลอง2. เอกสารประกอบออนไลน์3. การสนทนา แลกเปลย่ี นความคิดเหน็4. กิจกรรมออนไลน์5. การประเมนิ ผลการเรยี น6. การทดสอบความเขาใจ เชน่ แบบเลือกตอบ แบบจบกลม แบบประเมนิตนเองคุณสมบตั สิ าคญั สาหรบั ของ MOOCs เปน็ ระบบเปิดหรอื เรียนได้แบบเสรี โดยท่ีผเู้ รียนไมจ่ าเปน็ ต้องมกี าร ลงทะเบยี นเปน็ นักเรียนหรือเสยี ค่าใช้จา่ ยใดๆ ทัง้ สิน้ รองรบั ผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งกวา้ งไกลและรับจานวนผู้เรียนมากได้ ซึ่งมีความ แตกต่างกบั การเรยี นแบบเดมิ ๆ ท่ีรองรับผเู้ รียนได้จานวนนอ้ ยเพราะต้อง ใช้ครสู อน ซงึ่ ทาให้มขี อ้ จากัดเร่อื งอัตราส่วนของครกู บั คนเรียน ซ่ึง MOOCs ไมม่ ีขอ้ จากดั น้ัน เพราะสามารถรองรบั ผู้เรียนไดแ้ บบมหาศาล หรือคุณสมบตั ิอืน่ ๆ เชน่ เน้อื หาทีน่ ามาใหเ้ รยี นเปน็ เน้ือหาแบบเปดิ (open licensing of content) เป็นต้น

MOOC มีขอ้ ดี หลายอย่าง เช่น1. รองรบั ผเู้ รยี นไดจ้ านวนมาก เชน่ สองพันคน ซ่ึงการเรยี นในหอ้ งเรยี นปกติทาได้ยากมาก2. เรยี นทางออนไลน์ โดยทเี่ นือ้ หาส่วนใหญเ่ ปน็ วดิ โี อ จึงดูผา่ นทางแอพหรือเว็บไซตไ์ ด้ ไม่ต้องเขา้ หอ้ งเรยี นตามปกติ3. รปู แบบคล้ายหอ้ งเรียนจริง เชน่ มผี ้ชู ่วยสอน มกี ารบ้านหรอื แบบฝกึ หดัผูเ้ รียนสามารถสอบถามผูส้ อนหรอื แลกเปล่ียนเรยี นรู้ระหว่างกันได้4. ถ้าเรยี นจบหลกั สูตร ผา่ นตามเกณฑ์ท่ีกาหนด กไ็ ด้ใบประกาศนยี บัตรรบั รองหลกั สตู ร : 28 วชิ า ด้านธุรกิจ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์การประเมนิ ผล : ใชซ้ อฟตแ์ วรใ์ นการตรวจการบา้ น ขอ้ สอบทง้ั หมดปฏิสมั พนั ธข์ องผเู้ รยี น : ผ่านทางกลุม่ ออนไลน์ และสามารถนดั พบกนั ไดต้ ามเมอื งตา่ งๆ ทว่ั โลกเวลาในการเรยี น : ผเู้ รียนสามารถเริ่มเรยี นเมอ่ื ไหรก่ ็ไดต้ ามอธั ยาศยัสิง่ ทผ่ี เู้ รยี นไดร้ บั : เกยี รติบตั รแบ่งระดบั ความสามารถ 4 ระดบั มบี ริการหางานดา้ นเทคโนโลยกี ับบริษทั ใหญๆ่ ให้ และโอนหนว่ ยกติ ไดใ้ นบางวชิ า

8. 3D Printer ความหมาย 3D Printer หรือ Rapid Prototype (RP) หรอื ท่ีคนไทย เรียกเครือ่ งพิมพ์ 3มติ ิ เครอ่ื งปรินท์ 3มติ ิ นัน้ มใี ชก้ ันมาเกอื บ 30 ปีแล้ว แต่ ใช้กันในวงจากัด ในบริษัทขนาดใหญ่ หรือ ใน Lab ใหญ่ๆเท่านนั้ เพิง่ จะ ได้รบั ความนิยมในผ้ใู ช้จานวนมาก 3D Printer นั้นสามารถสรา้ งชิน้ งานทเ่ี ป็นวัตถจุ บั ตอ้ งได้(3มติ )ิ มีความกว้าง-ลึก-สูง ไมเ่ หมือนเคร่ือง Printer แบบ 2D ท่เี ราใช้โดยทว่ั ไปที่พิมพห์ มกึ สลี งบนกระดาษ เชน่ หากเราพิมพ์ลกู บอลลงบนการกระดาษ(2D)เราจะไดก้ ระดาษทม่ี รี ปู ลกู บอลอยู่ แต่หากเราพิมพจ์ าก 3D Printer เราจะได้ลูกบอลทรงกลมมากลิง้ บนพนื้ ได้

ประเภทของ 3D Printer แบง่ ประเภทของเครอื่ งพิมพด์ ว้ ยกระบวนการพิมพแ์ ละวสั ดุที่ใชด้ ังน้ี1. ระบบฉดี เสน้ พลาสตกิ (FDM หรอื FFF) FDM หรอื Fused Deposition Modeling หรอื บางสานกั เรยี กเคร่อื งระบบนวี้ า่ FFF เปน็ เครื่องพิมพ์ 3มติ ิ ท่นี ิยมใช้กันมากทส่ี ดุ ในปจั จุบนั มีหลกั การทางานคอื การหลอมเสน้ พลาสตกิ ใหก้ ลายเปน็ ของเหลวแลว้ ฉดี ออกมาเปน็ เส้นผา่ นหัวฉดี (Nozzle) หากเปรยี บเทียบคงเปรยี บเทียบได้กนั ปืนกาวที่ใชก้ ันท่ัวไป เครือ่ ง FDM 3D Printer จะวาดเสน้ พลาสติกทถ่ี ูกฉดี ออกมาเป็นรปู ร่างในแนบแกนระนาบ เมอ่ื เสร็จชน้ั หนง่ึ ๆกจ็ ะพมิ พ์ในช้นั ตอ่ ๆไป เม่อืครบหลายร้อย หรือ หลายพนั เลเยอร์ กจ็ ะไดอ้ อกมาเปน็ วัตถุทีเ่ ราสัง่ พิมพ์เปน็ ระบบทน่ี ยิ มท่ีสุด และถูกที่สุด ใชไ้ ด้กับงานทกุ ประเภท ชิน้ งานทพี่ ิมพ์สามารถขัด/แตง่ /เจาะ ได้ สามารถใช้เป็นชิน้ ส่วนในเครอื่ งจกั รได้ นามาใช้ได้จริง อีกทั้งเครือ่ งยงั สามารถใชว้ สั ดไุ ดห้ ลากหลาย และหาไดง้ า่ ยตามท้องตลาดเช่น เสน้ PLA, Wood(พลาสติกผสมไม้), Bronze(พลาสติกผสมทองเหลือง) เปน็ ต้น ข้อเสยี คือ ผิวงานท่พี ิมพอ์ อกมาเป็นรองระบบอน่ื ๆ

2. ระบบถาดเรซิน่ (SLA หรอื DLP) SLA หรือระบบ DLP นัน้ มีหลักการทางานเหมอื นกนั กลา่ วคอืเคร่ืองระบบนจี้ ะฉายแสงไปตัวถาดท่ีใสเ่ รซิน่ ความไวแสงไว(้ Photo Resin/Photopolymer) เมือ่ เรซ่นิ ถกู แสงจะแขง็ ตวั เฉพาะจุดท่ีโดนแสง จงึ ใช้หลักการแข็งตวั ของเรซ่นิ น้ีในการทาชิน้ งานให้เกิดรปู ร่างข้ึนมา เมื่อทาให้เกิดรูปรา่ งขน้ึ ในชน้ั หนงึ่ ๆแล้วเครอื่ งกจ็ ะเริ่มทาใหแ้ ขง็ เปน็ รปู ร่างในชั้นต่อๆไป จนเกินเป็นชิน้ งานวตั ถทุ จี่ บั ตอ้ งได้ ระบบ SLA(Stereolithography)และ DLP(Digital LightProcessing) ตา่ งกันท่ตี ้นกาเนิดของแสง ระบบ SLA มแี หลง่ กาเนิดเส้นเป็นเลเซอร์ ดงั นัน้ จะยิงแสงเลเซอรท์ วี่ ่านไ้ี ปทเ่ี รซน่ิ โดยวาดเสน้ เลเซอร์ไปเรื่อยๆ ถ้าต้องการพิมพช์ ิน้ งานใหญ่หน่อยกจ็ ะใชเ้ วลาวาดนานกวา่ ชิน้ งานเลก็สว่ น DLP นัน้ ใช้โปรเจกเตอร์ DLP Project ฉายภาพ ภาพท่ฉี ายนั้นจะครอบคลุมทัง้ เลเยอร์เลย จดุ นีเ้ องทางานใหแ้ ตกตา่ ง DLP ใชเ้ วลาในการพิมพ์น้อยกวา่ แลว้ ไม่ข้ึนกบั จานวนชิน้ งานบนฐานพมิ พ์ เนอื่ งจากไมต่ ้องลากทล่ี ะเส้น

การพิมพ์ระบบถาดเรซ่นิ น้ี เหมาะกบั งานชิน้ เล็กๆทต่ี ้องการความ ละเอียดสูง เคร่อื งโดยท่วั ไปจะพมิ พ์ชิ้นงานไดช้ ิน้ ไมใ่ หญม่ าก จึงเหมาะกบั ธรุ ะกิจ เครอื่ งประดับ Jewelry, งานหล่อ, ชิน้ ส่วนเล็กในงานอุตสาหกรรม, ออกแบบผลิตภณั ฑ์, งานโมเดลฟีกเกอร์ หรือแม้กระท่งั งานพระเครอ่ื ง3. ระบบผงยปิ ซ่ัม+สี Ink Jet (Powder 3D Printer หรอื ColorJetPrinting) บางคนติดปากวา่ เครือ่ งพิมพ์ระบบแปง้ เปน็ ระบบใช้ผงยิปซม่ั /ผงพลาสตกิเปน็ ตวั กลางในการข้นึ ชิ้นงาน โดยเคร่ืองจะทางานคลา้ ยระบบ Inkjet แต่แทนที่จะพิมพไ์ ปบนกระดาษ เครื่องจะพิมพ์ลงไปบนผงยปิ ซม่ั โดยจะพิมพส์ ีลงไปเหมอื นกัน ต่างกันทร่ี ะบบจะฉีด Blinder หรอื กาว ลงไปด้วยในการผสานผงเขา้ ดว้ ยกนั เปน็ รปู รา่ ง เมื่อสรา้ งเสรจ็ ในชั้นหนง่ึ เครื่องจะเกลีย่ ผงยปิ ซั่มมาทับเป็นชั้นบางๆในชนั้ ตอ่ ไป เพ่อื เตรยี มพรอ้ มใหเ้ ครื่องพิมพส์ แี ละ Blinder อีกคร้งั

เคร่อื งระบบนม้ี จี ดุ เดน่ มากคอื สามารถพิมพส์ ีได้สมจริงเครอ่ื งพิมพ์ Inkjetโดยท่วั ไป จงึ เหมาะในกับงานศิลปะ โมเดลคนเหมอื นจริง ห่นุ จาลอง หรือชิ้นงานทต่ี ้องการเหน็ สีสมจริง ข้อเสยี คอื งานที่ได้มีความเปราะเหมาะปนู พลาสเตอร์ คือหล่นแล้วแตกข้อเสยี อกี ข้อนงึ่ คือ คนข้างสกปรกเนือ่ งจากเปน็ ผง ทาให้ฝุน่ ผงเยอะ ยากในการทาความสะอาด4. ระบบหลอมผงพลาสตกิ , ผงโลหะ, เซรามกิ (SLS) ระบบ SLS หรอื Selective laser sintering เปน็ ระบบทีม่ หี ลักการทางานคล้ายระบบ SLA ตา่ งกันตรงท่ีแทนท่วี า่ จะทาใหเ้ รซน่ิ แขง็ ตวั โดยการฉายเลเซอร์ SLS จะยิงเลเซอร์ไปโดยตรงบนผงวัสดุ ความร้อนจากเลเซอร์น้ันเองทาให้ผงวัสดุหลอมละลายเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั กระบวนการเริม่ จากถาดทใ่ี สผ่ งวัสดุ เช่นผงทองเหลอื ง เคร่ืองจะเริ่มยิงเลเซอรค์ วามเข้มขน้ สูงไปยังผงทองเหลืองในถาด เมื่อยิงไปยังตาแหนง่ ใดผงทองเหลืองจะหลวมรวมเปน็ รูปรา่ งทต่ี าแหนง่ นนั้ ๆ พอพิมพ์เสร็จในเลเยอร์หนง่ึ ๆแลว้ เครื่องจะเกลี่ยผงทองเหลืองบางๆมาทบั ในช้ันตอ่ ไป เพื่อเริ่มกระบวนการยิงเลเซอร์เพ่ือหลอมละลายใหม่ ทาไปซา้ ไปเร่อื ยๆหลายรอ้ ย หลายพันชั้นจนเกิดมาเปน็ วัตถุท่ีตอ้ งการ

ระบบน้มี ีข้อดีอยา่ งมากคอื ไดง้ านออกมาเปน็ โลหะ หรอื พลาสติกพิเศษโดยใช้ผงของวัสดนุ ัน้ ไปเลย ขอ้ เสยี สาคัญคอื เครื่องมรี าคาสงู หากเทียบกบั ระบบอน่ื5. ระบบอน่ื ๆ นอกจากระบบต่างๆท่กี ลา่ วไวข้ ้างต้นแลว้ ยังมีระบบอกีหลากหลายและเพิม่ ขนึ้ เรอ่ื ย ข้างลา่ งจะเป็นระบบทน่ี า่ สนใจอกี เชน่ กนั1. ระบบ Poly Jet ระบบ PolyJet นั้นใชห้ ลักการเดยี วกบัเครอ่ื งพิมพ์แบบ Inkjet แทนทจ่ี ะพน่ แม่สีออกมาบนกระดาษ เครือ่ งแบบPolyJet จะมีหัวฉีด Jet พ่นเรซ่นิ ออกมาแลว้ ฉายให้แขง็ โดยแสง UVอกี รอบ ทาไปทีล่ ะช้ันเรอื่ ยจนออกมารูปรา่ งชิ้นงาน 3 มติ ิ เครอื่ งระบบนี้จะมคี วามแมน่ ยาสงู แต่มีราคาคอ่ นขา้ งแพง2. ระบบกระดาษ ระบบนี้จะพิมพส์ ีลงบนกระดาษ และมไี ดคัทตดักระดาษไปในตัว ระบบนีน้ ีค้ ลา้ ยระบบ Powder 3D Printer ต่างกันตรงที่แทนที่วัสดจุ ะเปน็ ผงยิปซัม วสั ดุจะเปน็ กระดาษแทน

ผลกระทบด้านเศรฐกจิ จาก 3D Printingผลกระทบทางลบ ผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกจิ ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ มาจากจานวนตาแหน่งงานกบั งานทเ่ี ทคโนโลยี 3D Printer จะทาให้ล้าสมยั และเขา้ มาทดแทน สง่ิ ท่จี ะกลายเป็นปัญหาระหวา่ งประเทศ คอื การนาเขา้ ส่งออกทจี่ ะลดลง เพราะต่อไปเราไม่จาเปน็ ตอ้ งนาเขา้ ของจริงจากประเทศผผู้ ลิต เราเพยี งแต่ Download สนิ ค้าท่ีเราต้องการเทา่ นนั้ หมายความว่าเราไมจ่ าเป็นทีจ่ ะต้องมีระบบการผลิตและห่วงโซ่การกระจายสินค้าแบบเดิมๆ อกี ตอ่ ไป การผลติ แบบ Mass Production จะไม่เป็นท่ีตอ้ งการ ในขณะท่ีเราจะผลติ เฉพาะสิง่ ท่ีเราต้องการ ในสิง่ ทเ่ี ราจาเปน็ ต้องใชม้ นั เทา่ น้ัน โกดงั เต็มรูปแบบ การเก็บสตอ็ กสนิ ค้าและอะไหลต่ า่ งๆ จานวนมากจะไมจ่ าเปน็ การทาPackaging การขนส่งสินค้าด้วยวธิ ตี า่ งๆ ผจู้ ดั จาหน่ายสินค้าและผคู้ า้ ปลีก จะถกู ลดบทบาทไป

ผลกระทบทางบวก ประโยชน์ของ 3D Printing ท่ีเห็นไดช้ ัดเจนมากสุดกค็ อื เปดิ โอกาสใหน้ กั ออกแบบสามารถเห็นโมเดลสามมิติทีต่ นออกแบบได้ ในทันที ทาใหส้ ามารถแก้ไขข้อผดิ พลาดไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยไมต่ อ้ งเสยี เวลาว่าจ้าง ผู้ผลติ รายอื่น ถอื วา่ เปน็ การประหยดั ตน้ ทนุ อกี ทางหนง่ึ สาหรบั เจ้าของโรงงานเองกส็ ามารถผลติ สินคา้ เท่าท่มี กี ารสง่ั ซ้อื ทาให้ตัด ประเดน็ เรอื่ ง “การประหยดั ทางขนาด” (economy of scale) เพอื่ ลด ตน้ ทุนการผลติ ลงไปได้ ชว่ ยประหยดั พนื้ ที่จดั เกบ็ สนิ ค้า และประหยัดต้นทนุ ไดม้ ากกวา่ เมอื่ เทยี บกบั กระบวนการ SM ท่เี ราตอ้ งเสยี วัตถุดิบระหวา่ งการผลิตมาก ดา้ นผู้บริโภคกไ็ ดร้ บั ประโยชน์ในแง่ที่วา่ คนทอี่ ยหู่ า่ งไกลจะสามารถผลติ วัตถุขึน้ ใชเ้ องไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเสียเวลาเดนิ ทางเขา้ มายงั ตวั เมอื ง เพียงแค่ดาวน์ โหลดพิมพเ์ ขยี วจากอินเทอร์เนต็ ก็สามารถสร้างวตั ถุข้ึนใช้ได้เอง ปจั จบุ นั เรากไ็ ดเ้ ริม่ เหน็ การใช้งานเพอ่ื สรา้ งวัตถุเพื่อใช้งานจริงกนั มากขน้ึ แล้ว ไม่ว่าจะเปน็ การผลติ โมเดลของเลน่ เคร่อื งประดบั เฟอร์นิเจอร์แบบ ง่ายๆ ไปจนถงึ ชิน้ สว่ นรถยนต์และเครอื่ งบนิ ท้งั การสรา้ งรูปปัน้ สาหรับ บรรดาศิลปิน การสร้างโมเดลของวตั ถุโบราณท่ีบบุ สลาย ด้านประโยชน์ ด้านการแพทยก์ ม็ ี เช่นการทาขาเทียม ฟนั ปลอม กระดูก หรือในอนาคต เรากอ็ าจสามารถสรา้ งเซลล์ของอวยั วะได้จากระบบการพิมพส์ ามมติ นิ ี้