Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาขงจื้อ

ปรัชญาขงจื้อ

Published by ศศิวรรณ อาสาสนา, 2021-09-09 15:40:54

Description: ปรัชญาขงจื้อ

Search

Read the Text Version

ปรชั ญาขงจือ้ (confucianism) ภายหลังจากยุคสมัยแหง ความเชื่อดั้งเดมิ อันยาวนาน และการสะสมสติปญญาท่ีเพิม่ ขึ้นท่ีละเล็กละนอยจนี ก็ได กาวเขา สูย ุค “ปรชั ญาเมธี” (philosophical Period) ประมาณศตวรรษที่ 6 กอ นครสิ ตศักราช ปรัชญาจนี ไดเปดฉากขน้ึ แลว และตลอดประวัติศาสตรท างความคดิ อันยาวนานของจีน จีนไดคดิ คนและเสนิระบบจริยะศาสตรแ ละระบบการ ปกครองสาํ หรับการใชใ นสาํ คมมนุษยคร้งั แลวครง้ั เลาอยางนบั ไมถ วน ควบไปกบั จริยะและการเมือง จีนก็ไดค นหา ความหมายของการดาํ รงอยูของชีวติ มนุษย และความกลมกลนื ระหวางมนุษยกบั จักรวาลที่เขาอาศัยอยู แนวความคดิ เหลา น้ไี ดหลอ หลอมจยิ ะธรรมจีนใหม ีลกั ษณะเดนดา นสรางสรรคช ีวติ ความเปนอยูท ง้ั ของสังคมและปจเจกบุคคล และ ดํารงความตอ เน่ืองมาโดยไมขาดสาย นกั ปรชั ญาจนี สว นใหญใ หคามสนใจเรื่องจริยธรรมและการปกครอง เรื่องทั้งสองน้ีกลายเปนลักษณะเดน ของ ปรชั ญาจนี ปรชั ญาขงจ้ือ (confucianism) ในฐานะท่ีเปนสวนหนึ่งของปรชั ญาจีนไดใหความสาํ คัญในเร่อื งจรยิ ธรรม และการเมืองเปนอยางมาก นกั ปราชญที่สําคญั ในปรัชญาขงจื้อมสี ามทานคอื ขงจ้ือ เมงจอ้ื และซนุ จ้อื ขงจื้อเปนผูกอ ตั้ง สํานักโดยมเี มงจ้อื และซนุ จ้ือเปนสานุศิษยร ุนหลงั ทีม่ าอธบิ ายขยายความสืบตอ คําสอนของขงจือ้ ใหกวางขวางออกไป ชีวิตของขงจ้อื (Confucius) ขงจอ้ื (511 -479 กอน ค.ศ.) หรืออาจารยขง (k’ung Tzu or master K’ung) เปน ทีร่ ูจักกันในหมู นักศึกษาชาวตะวนั ตกวา Confucius ซง่ึ นเปนคําภาลาตนิ ทชี าวตะวันตกในยุคหลังไดตั้งใหแกทาน ขงจื้อมีชือ่ สกลุ วา ขง (k,ung) และมชี ือ่ ตวั วา ชิว (Ch,iu) ชีวิตของขงจื้อพอจะแบง ไดเ ปน5 ชวงดงั นี้ 1. วัยเยาวทสี่ นั โดษ (อายุ 1-21 ป) ขงจ้อื เกดิ และตายในรัฐหลู (LU) ซึง่ อยูทางใตข องจังหวัดชางตงุ (Shangtung) ในปจจุบันชางตุงไดก ลายเปน ดินแดนอันศกั ดส์ิ ิทธข์ิ องชาวจนั นบั ต้ังแตนั้น ขงจอื้ เปน ลูกคนสดุ ทอ งและเปน บุตรชายคนเดียวท่สี มประกอบเพียงคนเดียว ในจํานวนพี่นองท้ังหมด 11 คน บิดาไดถ งึ แกกรรมเมือ่ ทานมอี ายุไดเพียง 3 ป นบั แตน ้นั ทานตอ งทํางานหลักเพอื่ ชว ยเหลือ จนุ เจอื ครอบครัว ทานแตง านเม่อื อายุ 29 ป ในคัมภีรขงจื้อไมม ีหลักฐานยนื ยันถึงภรรยาของทานแตอยา งใด นอกจากตอนที่ ขงจอ้ื กลาวติเตยี นบุตรชายของตอนเองในเรื่องการไวทุกขในการตายของมารดา ขงจอื้ เขมงวดกวดขันตอ บตุ รชายคนเดยี ว ของตนเปนอยา งมาก ทา นเปนแบบอยา งที่ดใี นการทาํ งานในตําแหนง แรกของทา น 2. ครผู ปู ระสบความสาํ เร็จ (อายุ 21- 51 ป) โรงเรียนสว นตัวท่ีทา นตัง้ ขึ้นไดเ ตบิ โตจนกระทั่งทานมลี กู ศิษย 3,00 คน ทา นเปน คนท่ีมีเมตตาสงู ไมเ คยปฏเิ สธ นักศึกษาท่ยี ากจนแตมีความตั้งใจจรงิ สง่ิ ทที่ านตองการเพียงอยางเดียวคือความเอาใจใสตอ การศกึ ษา ทานมคี วามสนใจ อยา งกวางขวาง และวิชาท่ีทา นสอนกม็ มี าก เชน ประวตั ิศาสตร กวนี ิพนธ วรรณคดี นิตธิ รรมเนยี ม การปกครอง ธรรมชาติศึกษา ดนตรี เปนตน สิ่งท่ีทานหลีกเยงคอื การใชกําลงั ความไรระเบยี บ เวทมนตค าถาและไสยศาสตร ทา นจะ ชนื่ ชอบเปนพิเศษตอ ลกู ศิษยทีแ่ สดงความสามารถในดา นคุณธรรมวาทศลิ ป การบริหาร และอกั ษรศาสตร 3. ความสาํ เร็จในชวี ิตราชการ (อายุ 51 – 55 ป) ขงจือ้ ในฐานะนักปราชญท ่ีมชี ื่อเสยี งแหง ทอ งถิ่นไดรับการแตง ตัง้ ใหเปนหวั หนา ผพู ิพากษาของเมอื ง ทา นได กาวหนาขนึ้ ตามลาํ ดับจนกระท้งั เปน ผชู วยผอู าํ นวยการดา นการทาํ งานและหวั หนา ฝา ยความยุตธิ รรมของรัฐ ทง้ั ในการ

บรหิ ารภายในและในกจิ การระหวา งรฐั ขงจือ้ ประสบความสาํ เร็จโดยไดร ับความเคารพเช่อื ฟงเปน อันดี และเกดิ ความสงบ สุข ความเปนระเบียบเรยี บรอ ย และแมกระทัง้ การเร่มิ ตนลดกําลังอาวุธ ทานประกาศวาสง่ิ จาํ เปน ขอ แรกสดุ สาํ หรับรฐั บาล นนั้ ไมใชร ายได แตค ือการกระทําตามหนา ทอ่ี ันเหมาะสมของบุคคลอยางไรกต็ ามดวยความฉอ แลภายในบางประการ ประจวบกบั ความอิจฉารษิ ยาจากรัฐขางเคยี ง ทําใหขงจื้อตองลาออกตําแหนง 4. ผสู ่ังสอนท่จี ารกิ แรรอน (อายุ 55- 68 ป) ดว ยความเชือ่ มันอยา งไมท อ ถอยในความสามารถของตนในบานะนกั ปฏิรปู สังคมและการบริหาร ขงจ้ือได เสาะหาตาํ แหนงราชการในรฐั อนื่ แตไ มประสบความสาํ เร็จ อยา งไรก็ตาม ความเช่อื มนั่ ของทา นยังมอี ยตู อ ไปในขอทว่ี า รัฐบาลทดี่ ียอ มจะยังผลใหเกิดการปฏริ ูปทุกอยา งทจ่ี าํ เปน แมแตการปฏิรปู ธรรมชาติของมนุษยด วย ทานไดใหก ําลงั ใจแก สานศุ ิษยท ่ีผิดหวงั ของทา นเอง ดวยการแดงความกระตอื รอื รนอยางเชื่อมั่นในอันท่ีจะปฏิรูปสงั คมในรัฐตาง ๆ ของจีน ในการสนทนาครัง้ หน่ึงกับขาราชการช้ันผนู อ ยคนหนงึ่ ขงจื้อไดก ลา วถงึ หนาทีอ่ นั สวรรคส ง มาสาํ หรับทา นใน ฐานะนักปฏริ ูปผูทรงคุณธรรมแมเ ม่ือตอ งเผชิญกบั ภยั อนั ตรายของชีวติ ทา นยงั คงเชอื่ ม่นั ในคณุ ธรรมแหงสวรรคของทาน แมถ ูกรมุ ทํารา ยและเกอื บจะถูกฆาตายในเมอื งกวา ง (The town of Kwang) ทา นก็ยงั เสดงถึงความเช่อื มั่นถึงการ ปกปองของสวรรคในการปฏิบัติหนา ทีแ่ หง สัจจะของทา น และเม่ือทานตองตกตาํ่ แทบสน้ิ เนือ้ ประดาตวั ทานกย็ ังคงรา เรงิ อยใู นคณุ ธรรมโดยไมปรปิ ากบนแมแตคําเดยี ว แมแตตองทนทุกขรว มกับสานศุ ิษยผูผิดหวังของทา น ทานกย็ งั คงไมเสื่อม ถอยในคุณธรรม แทนทีจ่ ะปลีกตัวไปอยูอ สิ ระเพียงผเู ดียว ทา นกลับต้งั ใจแนว แนในอนั ทจ่ี ะชวยโลกทย่ี ุงยากน้ี แมบ างครั้ง จะผิดหวงั และถูกยว่ั เยา มากเพียงใดก็ตาม ทา นกไ็ มเคยขาดสานุศิษยผ สู ือ่ สัตยแมแ ตคร้งั เดยี ว 5. งานดานอักษรศาสตรในบ้ันปลาย (อายุ 68-72 ป) ชวงชีวติ ระหวางน้ที า นไดร วบรวมงานเขียนซ่งึ เปนทร่ี ูจักกนั วา “วรรณกรรมของขงจ้ือ” (Confucian Classics) จนเสรจ็ สมบูรณทัง้ หมดนี้มีเพียงเลม เดียวเทา นั้นท่ีเปนงานเขียนโดยตรงของทา นคือ บนั ทกึ ฤดูใบไมผ ลแิ ละฤดู ใบไมรวง (Spring and Autumn Annals) อนั เปนบันทึกเหตุการณของรฐั หลู (The State of Lu) ซึง่ มผี ลตอ การปฏริ ปู เปลย่ี นแปลงอยางสาํ คัญในเวลาตอ มา และกอ นท่ีทา นจะจากไป ขงจ้ือไดพดู กบั ตวั เองวา “ขนุ ผาอันย่ิงใหญ จะตองแตกทะลาย ขื่อคาที่แข็งแรงจะตองแตกรา ว และผูมปี ญ ญาจะรว งโรยไปเหมอื นตนไมเล็ก ๆ ไมมีผใู ดในอาณาจกั รนี้ แมแตค นเดียวท่ีจะเปน ครูของฉันได เวลาแหง ความตายของฉนั ไดมาถงึ แลว” พัฒนาการทางสตปิ ญ ญาของขงจื้อ ขงจอ้ื ไดก ลาถึงพัฒนาการทางสตปิ ญญาของตนเองไวด ังนี้ เม่ืออายุ 15 ป ขา พเจา ต้ังจิตใจไวกบั การศึกษา เมื่ออายุ 30 ป ขาพเจา สามารถยืนได เมื่ออายุ 40 ป ขา พเจาไมมีความสงสัย เมื่ออายุ 50 ป ขาพเจา รูถึง “บัญญัตแิ หงสวรรค” เมือ่ อายุ 60 ป ขาพเจาเชอื่ ฟง (ตอ “บัญญตั แิ หง สวรรค” ) เมอ่ื อายุ 70 ป ขา พเจาสามารถทําตามความตองการของจิตใจตนเอง โดยไมกา วลํ้าออกนอกขอบเต (ของสิง่ ที่ถูกตอง) (ขงจือ้ 2.4)

แมว าวถิ ีชวี ติ ของขงจ้อื จะเปน เชนใดกต็ าม แตส ตปิ ญ ญาของทา นไดก า วหนาข้นึ เปน ลําดับอยางไมหยดุ ย้งั เม่ือ อายไุ ด 15 ป ขงจ้อื ไดก ลายเปนคนทใี่ ฝใจตอ การศึกษาอยา งแทจริง ขงจ้อื กลา ววา “ทานอาจจะผมเห็นบคุ คลทม่ี ีคุณธรรม แบบขาพเจา แตเปนการยากยง่ิ นักที่จะพบเห็นบุคคลท่ีใฝใจตอ กรศกึ ษาเชนเดียวกับขาพเจา ” ขงจ้ือเปนผทู ใี่ ฝใจตอ การศกึ ษาตง้ั แตอ ายยุ งั นอ ย เมือ่ อายุ 30 ปขงจือ้ สามารถยนื อยูไดบนพน้ื ฐานของคณุ ธรรมและความถกู ตองตามประเพณที ่ีดี งาม ทา นกลา ววา “เม่อื ไมรูจักประเพณีทด่ี งี ามแลว ก็เทา กับวาไมมจี ุดยนื ” (ขงจอื้ 20.3) เม่ืออายไุ ด 40 ปขงจอื้ ไมม ีความสงสัยในเรอื่ งความดีความชั่ว ความถูกความผดิ ทานกลาววา “ผมู ีปญ ญาเปน อิสระจากความสงสยั ผูมีคณุ ธรรมเปน อิสระจากความวติ กกังวล ผทู ก่ี ลาหาญเปน อสิ ระจากความกลวั ” (ขงจ้ือ 9.28) เมอ่ื อายุได 50 ปทา นไดรูถ งึ “บญั ญัตแิ หง สวรรค” ซ่งึ เปน เร่ืองทพี่ นไปจากอาํ นาตของมนุษยจ ะเขาไปจดั การได ก่ีทรี่ ูวา นอกจากผลงานการกระทําของตนเองแลว ยังมี “บัญญัติแหง สวรรค” เขามาเกี่ยวของกับวชี ีวิตของมนุษยอยู เปนเร่อื งของ ปญญาที่ไดตระหนักถึงสงิ่ ทยี่ ิ่งใหญกวา ตน ขงจอื้ กลา ววา “ผูทีไ่ มรจู ัก บญั ญตั แิ หงสวรรค ไมส ามารถจะเปนบุคคลที่ สูงสงได” (ขงจื้อ 20.3) เม่อื อายไุ ด 60 ป ขงจื้อเช่ือฟงตอ “บญั ญัตแิ หง สวรรค” น้ีโดยสมบูรณ ทานยอมรับถงึ ความจาํ กดั ของตนเอง และยอมรับถึงอาํ นาจทอ่ี ยูเ หนือกวา ทา กลาววา “ทาหากหลักการของฉันจะยงั คงอยใู นโลกน้ี ก็เพราะบัญญัติแหงสวรรค ทาหากลกั การของฉันจะสฯู สน้ิ ไป กเ็ ปน เพราะบญั ญตั แิ หงสวรรค อีกเชนกนั ” (ขงจอ้ื 14.38) และเม่อื ทานอายไุ ด 70 ป ทา นสามารถกระทาํ สงิ่ ตางๆไดอยางอิสระ โดยไมม สี งิ่ ใดที่ผิดทํานองคลองธรรมเลย เปนการเอาชนะจติ ใจของตนเองได อยา งสมบรู ณ นับเปนพัฒนาการข้นั สุดทา ยของนักปราชญ ขงจือ้ กับวรรณกรรมทัง้ หก (Confucius and the Six Classics) งานเขียนที่ขงจอื้ รวบรวมและชาํ ระสะสางมอี ยดู ว ยกนั 6 เลม เรียกวา “วรรณกรรมทงั้ หก” (The Six Classics หรอื Liu Ching) ใน “วรรณกรรมทัง้ หก” นี้สว นใหญเ ปน งานรวมรวบและชาํ ระสะสาง มเี พียงเลม เดียว เทานั้นทขี่ งจ้ือเขยี นข้นึ เองคือ บันทึกฤดูใบไมผ ลแิ ละฤดูใบไมรวง และ “วรรณกรรมทง้ั หก” น้ไี ดต กทอดมาถึงปจ จบุ ัน ยกเวน เพียงเลมเดียวเทา นั้นคอื ดนตรี “วรรณกรรมทั้งหก”ของขงจอื้ มีดังน้ี 1. หนังสอื แหงความเปลี่ยนแปลง (book of Changes หรือ I Ching) 2. หนงั สือแหงกวีนิพนธ (Book of Poetry หรอื Shih Ching) 3. หนงั สือแหง ประวตั ิศาสตร (Book of History หรือ Shu Ching) 4. หนงั สือแหง ประเพณีพิธี (Book of Rituals หรือ Li Ching) 5. ดนตรี (Music หรอื Yueh) 6. บันทึกฤดใู บไมผ ลแิ ละฤดูใบไมรว ง (Spring and Autumn Annals หรอื Ch’un Ch’iu) ขงจ้ือเปนนักศึกษาทสี่ ําคญั ยิ่งของจนี ทา นเปน ผทู ีต่ ีความคําสอนท่ีมมี าแตโบราณใหชดั แจนและมีความหมาย ในทางจริยะธรรมย่งิ ขน้ึ “วรรณกรรมทง้ั หก” นที้ า นเปนผนู ํามาชําระสะสางเสียใหมใ หเปน ระเบียบเรียบรอ ย พรอมทงั้ เขียนคําอธิบายและเพม่ิ เติมความเห็นเขา ไวดว ย ดังนัน้ ขงจอ้ื ไดช ่อื วา ไมเพียงแตเ ปนผูสืบทอดวฒั นธรรมทมี่ ีมาแตโ บราณให คงอยเู ทาน้ัน หากยังไดเพิ่มเติมคําสอนใหมๆ และขยายความวัฒนธรรมเดมิ นั้น จนเปน ระบบคาํ สอนท่ีชดั เจนขน้ึ มา

ตวั อยางเชน ตามวฒั นธรรมเดมิ ทไี่ ดปฏิบตั กิ นั มาน้ัน เมอ่ื บิดามารดาถึงแกก รรม บตุ รธิดาจะตอ งไวทุกขใ หแก บิดามารดาเปนเวลา 3 ป ขงจื้อก็ไดมาใหค วามหมายของการปฏิบัติเชน นว้ี า “เดก็ ไมสามารถที่จะจากออมแขนของพอ แม ไปได จนกวาจะมีอายุ 3 ป น้ีเปนเหตุผลที่วา ทําไมการไวทกุ ขเ ปน เวลา 3 ป จงึ เปน สงิ่ ทป่ี ฏบิ ัติกันอยางแพรห ลายจนเปน สากล” (ขงจือ้ 17 :21) และเมอ่ื พดู ถึง หนังสอื แหงกวนี พิ นธ ขงจื้อกไ็ ดใหค ุณคา ทางจริยธรรมแกหนังสือเลม น้ี โดยกลาววา “ใน หนังสอื แหงกวนี พิ นธนม้ี โี คลงกลอนทั้งหมด 300 บท แตเนอ้ื แทท้ังหมดของโคลงกลอนทั้งหมดเหลา น้ี สามารถสรุปลง ไดเ หลอื เพียงประโยคเดียววา อยาไดม ีความคิดท่ีคดโกง” (ขงจ้อื 2 :2) คมั ภรี ท้งั ส่ีในปรชั ญาขงจอ้ื (The Four Books in Confuciaism) คัมภรี ท่ีสําคญั ทเี่ ปนหลักในปรัชญาขงจ้อื มอี ยูดวยกัน 4 เลม เปน คมั ภีรทส่ี านศุ ิษยร นุ หลังของขงจื้อชวยกัน รวบรวมแตง ขนึ้ เรียกวา “คมั ภีรทัง้ สี่” (The four Books) ซ้ึงมีดังน้ี 1. ขงจ้อื (The Analects of Confucius หรือ Lun Yu) 2. หลกั แหง ทางสายกลาง (The Doctrine of the mean หรือ Chung Yung) 3. การศกึ ษาทีย่ ่ิงใหญ (the Great Learning หรอื Ta Hsueh) 4. เมง จอื้ (The Mencius หรือ Meng Tzu) เลน แรกนั้นเปนหนังสอื รวบรวมคาํ สอนของขงจ้อื ท่สี านศุ ิษยในสมัยหลังไดร วบรวมเขียนขึ้น เราไดท ราบถึง แนวความคดิ ของขงจ้ือในหนังสือเลมน้ีเปนสว นใหญ เลมทส่ี องเปนบทหนงึ่ ในหนังสอื แหง พธิ ีกรรม (Book of Rites หรอื Li Chi) ซึ่งเช่ือกนั วา จอ้ื ซู หลานชายของขงจื้อเปนผูเขยี นขึ้น เลมที่สามเปนอกี บทหนึง่ ใน หนังสือแหงพิธีกรรม เชน กัน สานุศษิ ยข องขงจ้อื ในศตวรรษที่ 3 และที่ 2กอ น ค.ศ. เปนรวบรวมข้นึ เลมทส่ี องและเลม ทีส่ ามน้ีเปนหนงั สือ รวบรวมคําสอนของเมงจอ้ื นักปราชญท สี่ ําคญั ในปรชั ญาขงจื้อรองลงมาจากขงจื้อ จรยิ ธรรมของปรัชญาขงจอื้ จรยิ ธรรมของปจ เจกบุคคล 1. ความชอบธรรม (อ)ี้ (Righteousness, Yi) ความดีสูงสดตามทรรศนะของขงจื้อไดแกส ่ิงท่เี รียกวา “ความชอบธรรม” (อ)้ี ความชอบธรรมของขงจ้อื หมายถึง “สิ่งท่คี วรจะเปน” (The “Oughtness” of a Situation) หรอื ความเหมาะสมถูกตอ งของเหตุการณ ทกุ ๆ คนใน สงั คมตา งกม็ ีหนา ทที่ ่ีเหมาะสมแกต นในการปฏบิ ตั ิ การรูตนเองควรจะทําสง่ิ ใด และการทาํ ในส่ิงทีต่ นเองควรกระทาํ คอื ความชอบธรรม อยางไรก็ตาม ถาบุคคลกระทาํ สิ่งใดสง่ิ หนึง่ โดยคํานงึ ถงึ ผลประโยชนเ ปนหลกั แมว าการกระทําของเขา จะบังเอิญออกมาถกู ตอ งกต็ าม แตการกระทาํ ของเขาน้ันไมจ ดั เปน “ความชอบธรรม” บคุ คลผูมปี ญญาหรอื “สภุ าพบรุ ุษ” (Superior Man) จะปฏิบัติภาระหนาท่ีของตนความหลักแหงความชอบธรรมนี้ ในขณะที่บุคคลผดู อยสตปิ ญญา (Inferior Man) จะกระทาํ ทุกสิ่งทกุ อยางเพยี งเพื่อกาํ ไร ขงจอ้ื กลา ววา ในการตดิ ตอ กับโลกภายนอก ผูทเี่ ปนสภาพบรุ ุษจะไมคาํ นึงถึงความเปนมติ รหรอื ศัตรู แตจ ะคาํ นงึ ถึงสง่ิ ทเ่ี ปนวา “ถกู ตอง” เทานั้น (ขงจอ้ื 4.10) ผูเปนสภุ าพบรุ ษุ จะใชค วามพยายามเพ่อื คน หาความถกู ตอ งในขณะที่ผูที่ตํ่ากวา จะใชค วามพยายามเพื่อคนหาผล กาํ ไร (ขงจ้ือ 4.16)

เม่ืออยูหนา คนดีจงคิดตลอดเวลาวา ทําอยางไรจึงจะสามารถปฏบิ ัติตวั ใหท ัดเทียมเขาไดเ มื่อพบคนชัว่ จงหลีกเลย่ี ง เสยี (ขงจื้อ 4.17) 2.มนุษยธรรม (เหยิน) (Humen – Heartedaness, Jen) “มนุษยธรรม” (เหยิน) ตามความหมายของขงจอ้ื หมายถึง “การมคี วามรกั ในบุคคลอื่น (Loveing others) ทุกๆ คนมีหนาที่ที่จะตอ งกระทําตามฐานะทางสังคมและตาํ แหนงในความรบั ผดิ ชอบของตน แตหนาที่อนั สําคัญทท่ี กุ คน จะกระทาํ รว มกันคือ การมคี วามรักในบุคคลอ่ืน ผูทีม่ ีความรกั ในบุคคลอืน่ อยา งแทจริงเทาน้ัน จงึ จะสามารถปฏิบัติ ภาระหนา ที่ของตนในสงั คมไดอยา งสมบูรณ ขงจ้ือกลา ววา “มนุษยธรรม ประกอบไปดวยความรักในบุคคลอื่น (ขงจื้อ 12.22) ตามหลกั ของปรชั ญาขงจอ้ื “ความชอบธรรม” (อ)้ี จะเกิดขึน้ ไดก็ตอ เมือ่ บุคลมี (มนุษยธรรม” (เหยนิ ) หรอื “ความรักในบคุ คลอื่น” ในความหมายทว่ี า “ขยายขอบเขตของการปฏิบตั ใิ หค รอบคลมุ ไปถึงบุคคลอน่ื ” เมงจื้อกลาววา จงปฏิบตั ิตอผูใหญในครอบครวั ของทา นใหเหมาะสมและขยายการปฏบิ ัตินีไ้ ปยังผใู หญใ นครอบครวั ของบุคคล อนื่ จงปฏิบัติตอ ผูนอ ยในครอบครวั ของทา นใหเ หมาะสม แขยายการปฏบิ ตั ิน้ไี ปยงั ผนู อยในครอบครวั ของบุคคลอื่น (เม งจื้อ 1 ก.7) บคุ คลที่ดีเม่ือเก่ยี วของกับวตั ถุส่ิงของจะรกั มัน แตไมใ ชดวยมนษุ ยธรรม เมอ่ื เกี่ยวของกับบุคคลอ่ืนจะมี มนุษยธรรม แตไ มใชด ว ยความรักใครเ สนหา บุคคลพึงมคี วามรักใครเ สนห าตอ สมาชิกในครอบครัว มมี นษุ ยธรรม ตอ บุคคลอื่น และมคี วามรักตอ วตั ถุสิ่งของ (เมงจ้ือ 7 ก.45) 3. ความรสุ ึกผิดชอบ (จง) (Conscientiousness’ Chung) “ความรูสกึ ผดิ ชอบ” (จง) เปนการปฏิบตั ิในแงบวกทม่ี งุ สู “มนุษยธรรม” (เหยิน) และ “ความชอบธรรม” (อ)ี้ หลักสาํ คญั มีอยูว า “จงปฏิบัติตอบุคคลอืน่ ใหเหมอื นกับทานตองการใหอื่นปฏิบตั ิตอ ทา น” ขงจอื้ กลาววา มนษุ ยแหง เหยิน คอื บุคคลทเ่ี ม่ือตองการเจือจุนตนเองก็เจอจุบุคคลอนื่ ดวยเมื่อตองการพฒั นาตอนเองก็พัฒนา บคุ คลอน่ื ดวยการมีความสามารถคํานึงถึงเพอื่ จะปฏิบัติตอคนอื่นใหเ หมอื นกับตวั เอง นนั่ และสง่ิ ที่เรียกวา การปฏิบัติเหยนิ (ขงจื้อ 6.28) ในหนังสอื หลงั แหง ทางสายกลาง (doctrine of the mean) กลา วไววา “จงปฏิบัตติ อ บดิ าของทานให เหมือนกับที่ทา นตองการใหบตุ รของทานปฏิบัตติ อทาน.. จงปฏบิ ัติตอผปู กครองของทา น ใหเหมอื นกบั ท่ีทา นตอ งการใหผู อยูใตปกครองของทานปฏิบตั ิตอ ทา น.. จงปฏิบตั ติ อพชี่ ายของทานใหเหมือนกับท่ีทา นตอ งใหใ หน องชายของทา นปฏิบัติ ตอทาน.. จงปฏบิ ตั ิเปนตัวอยา งตอเพ่ือนใหเหมือนที่ทา นตอ งการใหเพื่อนของทา นปฏิบัตติ อ ทาน” 4. ความเหน็ แกผ อู ื่น (สู) (Altruism, Shu) “ความเห็นแกผ ูอื่น” (สู) เปน การปฏบิ ัตใิ นแงลบท่ีมุง ไปสู “มนษุ ยธรรม” (เหยิน) และ “ความชอบธรรม (อ)้ี หลักสาํ คัญมีอยูวา “อยาไดป ฏิบัตติ อบุคคลอืน่ ในสงิ่ ท่ีทา นไมอ ยากใหบุคคลอ่ืนปฏิบัตติ อทา น” หนงั สอื การศึกษาที่ยงิ่ ใหญ (The Great Learning) กลา วไวว า “อยาไดน ําสิง่ ท่ีทานไมช อบในบุคคลทส่ี ุ งกวาทา นไปใชก บั บุคคลท่ีตํา่ กวา ทาน อยาไดน าํ ส่งิ ทไี่ มชอบในบุคคลที่ตกวา ทานไปใชก บั บุคคลที่สูงกวา ทาน อยา ไดนาํ ส่งิ ที่ทานไมช อบในบุคคลขา งหนาไปใชก ับบุคคลทีอ่ ยขู า งหลัง อยา ไดน ําสิง่ ทที่ านไมช อบในบุคคลท่ีอยขู างหลงั ไปใชก ับ

บคุ คลท่ีอยูขา งหนา อยาไดนําส่ิงทท่ี านไมช อบในทางขวาไปใชก ับทางซา ย อยา ไดน าํ ส่ิงท่ีทานไมชอบในทางซายไปใชก บั ทางขวา” สมัยหนง่ึ จอื คุง ถามขงจอ้ื วา “จะมีคาํ ใดบา งไหมท่ีจะใชเปนกฎปฏิบัติสาํ หรับทกุ สิง่ ในชวี ติ ของคนเรา” ขงจอ้ื ตอบวา “คาํ นนั้ ไมใ ช สู ดอก หรือ ส่ิงท่ีทา นไมชอบใหปฏิบตั ิตอตัวเอง อยาไดป ฏบิ ัติตอบุคคลอืน่ ” (ขงจอ้ื 15.23) อกี สมยั หนึง่ ขงจ้ือกลาววา “เชน (ชอื่ จรงิ ของ เซียงจอ้ื สานุศิษยคนหน่ึงของขงจอ้ื ) คาํ สอนของฉันท้งั หมดเกี่ยว โยงกนั ดวยหลักอนั เดียว” “เปนเชน นัน้ ” เซียงจ้อื ตอบ เมื่อขงจ้อื ออกจากหอ งไปแลว พวกสานศุ ิษยท้งั หลายพากันถามขนึ้ วา “ทา นหมายถงึ อะไร” เซยี งจือ้ ตอบวา “คาํ สอนของอาจารยของเราประกอบดว ยหลกั ของ จง และ สู และก็มเี พียงเทาน้ีเอง” (ขงจอ้ื 4.15) ดงั นั้น จง และสู จงึ เปนหนทางปฏิบัตทิ ่ีจะนาํ ไปสู เหยิน (ความรักในบคุ คลอ่นื ) อนั จะกอ ใหเกิด อี้ (ความชอบ ธรรม) ขนึ้ มา 5. บญั ญัติแหงสวรรค (หมงิ ) (Decree of Heavan, Ming) ปรัชญาขงจื้อมีหลักท่ีเกย่ี วกบั “การทาํ หนาทเ่ี พื่อหนาท”ี่ ขงจอ้ื สอนใหบคุ คลทงั้ หลายกระทําในสง่ิ ทตี่ นเองควร กระทาํ อยา งเตม็ ความสามารถ โดยไมตองวิตกกงั วลกับผลท่ีจะไดรบั จากงานน้ัน ทาํ งานเพราะเหน็ วาเปน ส่งิ ทถี่ กู ตอ งดี งามท่คี วรจะทาํ ทาํ เพราะเหน็ วา เปนหนาท่อี ันแทจริงของตน และทาํ เพราะเห็นวางานเปน เปน สง่ิ ที่มคี ุณคา ในตวั ของมันเอง และไมว าผลของงานจะออกมาในรูปใดกไ็ มค วรจะยึดติดกับผลของงานนั้น ขงจอ้ื ไดเสนอแนวความคิดเรอื่ ง “บญั ญตั สิ วรรค” (หมิง) เพือ่ ท่ีจะมาอธบิ ายถึงผลของงานท่ีจะปรากฏออกมา “บัญญัตแิ หง สวรรค” อยูนอกอยเู หนอื อาํ นาจการควบคมุ ของมนษุ ย และเปน สิ่งที่คอยบงการวิถีชีวิตของมนุษยอ ยู เพราะ “บัญญัตสิ วรรค” น้เี องท่ีทําใหบุคคลแตล ะคนไดร ับผลของงานและฐานะตางๆ ไมเ ทาเทียมกัน แตทกุ ๆ คน ควรจะทํางาน ในความรบั ผดิ ชอบใหเ ต็มท่ีจนสุดความสามารถ และผลของงานจะเปน อยางไรก็สดุ แลวแต “บัญญตั ิสวรรค” ชวี ิตของขงจ้อื เองเปนตัวอยา งท่ีดีในคําสอนเรื่องน้ี ทา มีชวี ติ อยูใ นยุคสมัยแหงความปนปว นทางสังคมและ ทางการเมืองครงั้ ใหญ ทา นไดพ ยายามอยา งเตม็ กําลงั ความสามารถในอนั ท่ีจะเปล่ยี นแปลงสังคมจีนในขณะนั้นใหด ีขน้ึ ทานไดเดนิ ทางไปทกุ หนทุกแหงและไดพดู คุยกบั คนทุกคน แมวา คามพยายามของทานจะปราศจากผลแตทานกไ็ มเคย ผิดหวัง แมท า นจะรูดวี า ทานไมประสบความสําเร็จแตทา นกไ็ มเคยละความพยาม ขงจอ้ื พูดถึงตวั เองวา “ถาหากหลกั การของฉนั นั้นจะคงอยใู นโลกน้ีก็เพราะ บัญญัตแิ หงสวรรค ถาหากหลักการ ของฉนั จะสูญสิน้ ไป กเ็ ปนเพราะ บญั ญตั ิแหง สวรรค อกี เชน กัน” (ขงจอื้ 14.38) ทา นไดพยายามอยา งเต็มความสามารถ สว นผลลพั ธทานปลอยใหเปนเร่ืองของ “บัญญัตแิ หง สวรรค” สําหรับขงจื้อแลว “บญั ญตั ิแหงสวรรค” (หมิง) คอื พลังที่ มีจุกมุงหมาย การรูจัก “บญั ญัติแหง สวรรค” เปนคณุ สมบตั สิ ําคัญในการเปนสภุ าพบรุ ุษ (Superior Man) ตาม ความหมายของขงจื้อ ดงั น้ันขงจ้ือกลาววา “ผไู มรูจ ักหมงิ ไมส ามารถท่ีจะเปน สภุ าพบรุ ษุ ได” (ขงจอ้ื 20.0) และ “ผูที่เปน สภุ าพบรุ ษุ จะมแี ตความสุขอยเู สมอ สวนผูทด่ี อยปญ ญาจะมีแตความโศกเศรา ” (ขงจ้ือ 7.36) เหตุผลทผี่ ูม ีคุณธรรมพยายามตอ สูในทางการเมอื ง ก็เพราะเขาเห็นวา เปนสง่ิ ท่ีถูกตองท่ีจะทําเชน น้ัน แมเ ขาจะรูดี วา ความพยายามของเขาจะไมบรรลุผลกต็ าม (ขงจอ้ื 18.7)

ชวี ติ และความตายขึ้นอยกู ับ “บัญญตั ิแหง สวรรค” ความมนั่ คงและฐานนั ดรก็ขึ้นอยูกับ “บญั ญตั แิ หง สวรรค” (ขงจือ้ 12.5) การเปน สภุ าพบุรษุ หรือผสู งู สงหรอื ผมู ปี ญ ญา (Superior Man) ตามทัศนะของขงจอื้ จึงจะตอ งประกอบดวย คณุ สมบตั ขิ อง อี้ (ความชอบธรรม) เหยิน (ความรักในบุคคลอ่ืน) จง (ปฏิบตั ติ อคนอน่ื ใหเหมือนกบั ตนเอง) สู (ไม ปฏบิ ัตติ อคนอนื่ ในสิง่ ทีต่ นเองไมตองการ) และจะตองรูจ กั หมงิ (บัญญตั แิ หงสวรรค) อีกดวย บุคคลท่ีขาดคณุ สมบัติขอ ใดขอหน่งึ ขางตนไมสามารถเปนสุภาพบรุ ษุ ทีแ่ ทจรงิ ได จะเปนไดเพยี งคนธรรมดาสามัญหรือผูดวยปญญา (Inferior Man) เทานั้นเอง จริยธรรมทางสังคม 6. ความสมั พันธท ง้ั หา (The Five Relationships) ตามทศั นะของขงจ้ือ สงั คมท่ีดีท่ีสุดสาํ หรับมนุษยคอื สงั คมท่ีมี อี้ (ความชอบธรรม) ท่นี ้ีทาํ อยางไรสงั คมจงึ จะ เกดิ ความชอบธรรมข้ึนมา ขงจื้อใหทัศนะวาสังคมประกอบขึ้นจากครอบครัวหลาย ๆ ครอบครวั มารวมกัน ดังน้ัน ครอบครัวจึงเปนพืน้ ฐานของสงั คม ถาหากวา สามารถจัดระเบยี บครอบครวั ใหม่ันคง มีความสุข และความชอบธรรมได แลว สังคมโดยสว นรวมกจ็ ะเปน ปก แผน มน่ั คง มคี วามสงบสขุ และความชอบธรรมไปดว ยขงจ้อื จึงเนนความสําคัญของ สถาบนั ครอบครวั เปนอยางมาก ทีน้ที าํ อยางไรระบบครอบครวั จงึ จะมั่นคง มีความสขุ และความชอบธรรม (อ)ี้ เกิดขึ้น ขงจอ้ื เสนอใหใ ชหลกั เหยิน (ความรักในบุคคลอ่ืน) มาใชในครอบครวั ในทางปฏบิ ัติคือปฏบิ ัตติ ามหลกั จง และสู นั่นเอง ขงจ้อื วิเคราะหค วามสมั พนั ธในครอบครัวออกเปน 5 ลักษณะดว ยกัน เรียกวา “ความสัมพนั ธท ง้ั หา” (The Five Relationships) ซ่ึงมดี งั น้ี 1 พอ แมก ับลกู 2 พก่ี บั นอ ง 3 สามีกบั ภรรยา 4 เพอื่ นกบั เพือ่ น 5 นายกบั บาว ทาบุคลเหลา นีใ้ นครอบครวั เคารพซ่ึงกนั และกันตามหนา ที่ทต่ี นมีอยู ตามหลักของจงและสู กจ็ ะเกิดเหยนิ (ความ รกั ) และอี้ (ความชอบธรรม) ขึ้น และคณุ ธรรมขออนื่ ๆ กจ็ ะเกิดตามข้ึนมา เชน 1. พอ แมจ ะมีความรักความเมตตา ลูกจะมคี วามกตัญูกตเวที 2. พีจ่ ะมีความสภุ าพออ นโยน นอ งจะมีความออ นนอมและเคารพนับถือ 3. สามมจี ะความประพฤตทิ ถ่ี ูกตอง ภรรยาจะมีความซอื่ ตรงและภคั ดี 4. เพ่อื นจะมีความซื่อสัตยและจริงใจตอกัน 5. นายจะมีความเมตตากรุรา บา วจะมคี วามเคารพเช่ือฟง

ขงจ้อื กลา ววา “จงประพฤติตนในลักษณะที่วาพอ แมของทานไมมคี วามวติ กหว งใยในตวั ทานอกี ตอไป นอกจาก ในสว นทีเ่ กยี่ วกบั สุขภาพของทาน” (ขงจอื้ 2.6) เปน การดีเสมอท่บี ุคคลจะรอู ายุพอแมของตน ในทางหนงึ่ ความรูเชน นจี้ ะทาํ ใหเขาสบายใจ ในอีกทางหนึ่งจะทาํ ใหเ ขารสู ึกวาตอ งรบี ทดแทนบญุ คุณดว ยความกตัญกู ตเวที (ขงจ้ือ 4.21) ในขณะที่พอ และแมมีชีวติ อยูลกู ทดี่ ไี มควรจะเดินทางไปอยูหางไกล หรือถาจะตองไปก็ไปเฉพาะที่ท่ีบอกไว เทาน้นั (ขงจื้อ 2.5) ในดา นความสมั พนั ธอ่นื ๆ ขงจื้อกลา วไววา แนน อนที่สุด การประพฤติปฏิบตั ติ อพอ แมแ ละพอี่ ยา งเหมาะสม เปน ทางมาแหงความดงี าม (ขงจื้อ 1.2) ในกาติดตอกบั ผูใหญจ งทําใหท านเหลา นั้นสบายใจในการติดตอ กับเพ่ือนจงมีความเชือ่ ม่นั ท่ีอีตอ กัน ในการตดิ จอ กับผนู อยจงใหค วามเอน็ ดตู อเขา (ขงจื้อ 5.25) โดยวัฒนธรรมแลว สุภพบุรุษจะเลอื กคบเพ่อื นทเ่ี ทาเทียมเขา และจากเพอ่ื นเหลานเี้ ขาจะสง เสริมความดีซงึ่ กันและ กนั (ขงจอ้ื 12.24) ความสมั พันธระหวาง นายกบั บาว ขงจอื้ ไดข ยายออกเปน ความสมั พนั ธระหวา ง “ผปู กครอง” กบั ผูถ ูกปรก ครอง” หรืออกี นัยหน่ึง รัฐบา” กับ “ประชาชน” ซงึ่ ยังคงตอ งยึดถือหลักปฏิบัติทาํ นองเดียวกันและขงจ้อื เองไดใหความ สนใจในเรื่องการปกครองเปนอยางมาก ผปู กครองทีด่ ีจะดาํ เนินกิจการตา งๆ อยา งจรงิ จัง จะรกั ษาคําม่นั สัญญาอยางแทจ ริง จะประหยดั ในการใชจาย จะมี ความเห็นอกเห็นใจตอ ผูอ ยูใตปกครองโดยทว่ั ไป และใชแรงงานของชาวชนบทเฉพาะเวลาท่เี หมาะสมในแตละปเทานั้น (ขงจอื้ 1.5) 7. การแกไ ขชื่อตําแหนง (Rectification of names) “การแกไขช่ือตําแหนง” ในปรชั ญาขงจ้ือนนั้ คอื หลกั แหงความรับผิดชอบของบุคคลตามหนาทต่ี างๆ เพือ่ ทจ่ี ะใหสงั คมมรี ะเบยี บแบบแผนท่ีดีงาม สง่ิ แรกท่ีควรจะกระทําคอื การแกไขชอ่ื ของตาํ แหนงและหนาทตี่ า งๆ ให ถูกตอ งชัดเจน เพ่ือวา บคุ คลทง้ั หลายจะไดร ูจ ักขอบเขตของงานในหนา ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบของตัวเอง และปฏบิ ัติตนให สอดคลองกับหนาท่ีความรบั ผิดชอบนนั้ ไดถูกตอ ง ไมเ กดิ ความสับสนวนุ วายในบทบาทและภารกจิ ของตนเอง คร้ังหนึ่ง สานุศิษยคนหนง่ึ ชือ่ จือหลู ไดถาม ขงจอื้ วา ถาขงจ้ือไดเ ปนผปู กครองรับทา นจะทาํ สิ่งใดกอน ขงจือ้ ตอบวา “สิ่งแรกท่จี ําเปนอยา งย่งิ กค็ ือการแกไขชอ่ื ตําแหนงใหถูกตอ ง” (ขงจือ้ 13.3) เมือ่ จือหลูถ ามดว ยความงุนงงสงสัยวา ทํามยั จึงเปน เชน นั้น ขงจ้ือไดอธบิ ายวา เมื่อชอ่ื ไมถ กู ตอ งแลว ความหมายของชอื่ กไ็ มถูกตอ งดวย และเมือ่ ความหมายของ ชอ่ื ไมถกู ตอ งแลว ขอบเขตของหนา ท่ีและความรบั ผิดชอบก็จะไมถูกตอ งไปดว ย และเมอื่ คนไมรจู ักขอบเขตของหนา ท่ี และความรบั ผดิ ชอบที่แทจริงของตนแลว สงั คมจะมีระเบยี บ ความสงบสขุ และความชอบธรรมไดอยางไร อีกสมยั หนงึ่ ขนุ นางผูหน่ึงถามขงจื้อถงึ หลักของการปกครองท่ีดี ขงจื้อกลาววา “ใหผ ูปกครองทาํ หนาท่ีของ ผปู กครอง รัฐมนตรีกาํ หนา ท่ีขอรฐั มนตรี พอ ทําหนา ที่ของพอ และลกู ทําหนา ท่ีของลกู ” (ขงจอ้ื 12.11)

ชื่อตําแหนง (Name) ยอมจะมีคําจาํ กดั ความ (Definition) อันบง บอกถึงขอบเขตของหนา ทอี่ ันชอบธรรมไว ดวย เม่ือบคุ คลรูช่ือตําแหนง รวมทั้งขอบเขตของหนา ท่อี นั ชอบธรรมอยางชดั เจนแลว ยอมจะปฏิบัตหิ นาท่ีอยา งถูกตอง จะ เกิดความเปนระเบียบของสังคม (Social Order) ข้ึนมา ดงั น้ันช่อื และความเปนจรงิ จะตองถูกตองกนั ความชอบธรรม (อ)ี้ ในสงั คมจงึ จะเกิดขึ้นได ขงจอ้ื สอนใหคนปฏิบัตติ นใหถกู ตองกบั ฐานะและตําแหนง ของตนทีม่ ีอยู แตถาบคุ คลนน้ั ไมส ามารถปฏิบัตติ นให ถกู ตองไดแลว ขงจอ้ื ก็เสนอใหแ กไขชอ่ื ของบุคคลนัน้ ลงมาใหเหมาะสมกบั ความเปนจรงิ ในทางตรงกันขา มบุคคลใดปฏบิ ัติ ตนไดครบถวนกบั ฐานะและตาํ แหนงและยงั มคี วามสามารถมากไปกวานน้ั อกี ขงจอ้ื ก็เสนอแกไ ขชอ่ื และตาํ แหนงสูงขึ้นไป อกี ใหเหมาะสมกับความสามารถของบุคคลนัน้ สุภาพบรุ ุษที่แทจรงิ แมในความคิดก็ไมเคยออกไปจากขอบเขตส่ิงที่เหมาะสมกบั ตน (ขงจอ้ื 14.28) ซนุ จ้ือ นักปราชญคนสําคญั ในลัทธิขงจ้อื คนหนึ่ง กลา ววา “ชือ่ ถูกกาํ หนดขน้ึ มาเพียงบง บอกถงึ ความเปน จริง” (ซุนจอื 22) เมอื่ พระราชาไดบัญญตั ิช่ือตางๆ ช่ือเหลา น้ันก็ถกู กําหนดแนน อนลงไปและความเปน จรงิ กแ็ ยกแยะออกมา หลักการตาง ๆ กส็ ามารถไดร บั การปฏบิ ัติอยางไดผล และเจตจํานงก็จะปรากฏใหไดรู ดงั นนั้ เขาจะนาํ ประชาชนใหเปน ปกแผนอยา งระมัดระวงั เพราะฉะนน้ั การใหความหมาของคําอยา งผดิ ๆ การต้งั คําใหม การทําใหวธิ ีการใหช ่ือสบั สน จะ ทําใหประชาชนเกดิ ความลงั เลสงสัยและนําไปสกู ารฟอ งรอ งเปน ความกัน น่คี ือภยั อนั ชั่วราย มนั เปรยี บเหมือนการใช หนังสือแนะนาํ ตัวทผ่ี ิดหรอื การใชเ คร่อื งวัดทผ่ี ิด (ซุนจอ้ื 22) ศาสนาขงจอ้ื (Religious Confucianism) นักวิชาการบางคนอา งวา ปรัชญาขงจ้ือยากท่ีจะจดั เปน ศาสนาหนึ่งได จะเปน ไดเพยี งจรยิ ศาสตรร ะบบหน่ึง เทานน้ั เพราะวา ผกู อตัง้ ไมสงเสรมิ ความเชอ่ื ในเรอ่ื งพระเจาท่มี ีตัวตน การสวดออนวอน และการบชู าตอสิ่งสงู สดุ ในหมู ประชาชน อยางไรกต็ ามปรชั ญาขงจ้ือไดส อนเสมอไมเ พยี งแตการมอี ยขู องสิ่งสงู สดุ แตย ังไดส อนถงึ อาํ นาจแหง สวรรคที่ เปนทางการติดตอกันมาขาดสาย จนประทั่งประเพรีโบราณนย้ี กเลิกไปในป ค.ศ. 1915 เม่อื จนี สถาปนาการปกครองเปน สาธารณรฐั ท่ีจรงิ แลวศาสนาขงจื้อไดหามประชาชนธรรมดาไมใ หบวงสรวงติดตอ กบั อํานาจสูงสดุ ของโลก ทาํ นองเดยี วกบั ท่ี ประชาชนสามัญไมไดร ับอนุญาตใหเ ขาใกลพ ระจักรพรรดิของจีน แตศาสนาขงจอื้ ไดส อนใหประชาชนบูชาบวงสรวงอยา อืน่ ทดแทน แมวา อาจจะไมครบถว นทุกแงทกุ มมุ แบบศาสนาอื่น ๆ ก็ตาม มีการใชคมั ภีรข งจอ้ื เปนหลกั ในการสอบบรรจุเขารับราชการในแผนดนิ จีนมาโดยตลอด เพง่ิ จะมายกเลกิ ในป ค.ศ. 1905 นี่เอว แมว า ระบบการสอบและการศกึ ษาสว นใหญจะใชก ารทอ งจาํ และการศกึ ษาอยางกวา งขวางในหมูสามัญ ชนพึง่ จะมีขึ้นในสมัยหลังกต็ าม ศาสนาขงจื้อประสบความสําเร็จอยางสูงสดุ ในประวตั ิศาสตรข องมนุษยชาติ ท่ีสามารถทาํ ใหช าวจนี ท้ังประเทศประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในหลักของความกตญั กู ตเวทีตอบิดามารดาอยา งแนนแฟน และศาสนาขงจื้อก็ได เนน หลกั ทวี่ า ใหท ุกคนทําตามหนาท่ที เ่ี หมาะสมทง้ั ตอ ตนเองและตอบุคคลอ่นื ในสงั คมอยางจริงจังย่ิงกวาศาสนาใด ๆ

ในชวงเวลาที่เกดิ ความวนุ วายปน ปวนขน้ึ ในสังคม ไดม ีครูทีย่ ่ิงใหญคนหน่งึ เกิดข้ึนและครูทา นน้ไี ดรับเกยี รติให เปนศาสดา และชอื่ ของครูทานี้ก็ไดรบั เกียติใหต งั้ เปนชอื่ ของศาสนาที่ไดป ฏบิ ตั ิสืบทอดกันมาเปนเวลาชานาน “ขงจ้อื ” คอื ช่ือของครูทานนั้น แนวความคดิ เรื่องเทพเจา (The Conception of Deity) 1. ธรรมชาตขิ องมนษุ ยไดม าจากสรวงสวรรค แมว าความสนใจหลกั ของปรัชญาขงจ้อื จะอยูท่ีจรยิ ศาสตรม ากกวา ศาสนา แตใ นระบบจรยิ ศาสตรของปรชั ญา ขงจ้อื ก็มสี าระของสาสนาท่แี ทจริงอยดู วย ลักทธิขงจ้ือเชื่อวา ธรรมชาตขิ งอมนุษยนนั้ มีคณุ ความดีติดตัวมาแตก าํ เนดิ และ คณุ ความดีทต่ี ิดตวั แตกําเนิดนเี้ ปนสง่ิ ทไี่ ดร บั จากสวรรค พระเจา ที่ย่ิงใหญ ไดใ หสํานึกในทางศีลธรรมแมแกบุคคลทตี่ ํ่าตอ ยกวา ใหไดร ับรถู งึ ธรรมชาติอันถูกตรงท่ไี ม เปล่ียนแปลง ในตัวเอง (คมั ภรี ศ ักดสิ์ ิทธิ์แหง ตะวนั ออก 3.89 – 90) 6:1.2.2) มนษุ ยเกดิ ขน้ึ มาเพอื่ ความดี (6.17) สง่ิ ท่สี วรรคใหมาเรียกวาธรรมชาติ (หลักแหงทางสายกลาง 1.1) แนวโนมของธรรมชาตขิ องมนุษยคอื ความดี ไมม สี ง่ิ อืน่ ใดนอกไปจากแนวโนมสคู วามดนี ี้ (เมงจ้ือ 2. อาํ นาจทสี่ ูงสุดแหงสรวงสวรรค คมั ภีรขงจอ้ื ทุกเลมไดกลา วพาดพิงถงึ อาํ นาจสงู สุดของโลกมกี ารระบอุ าํ นาจทส่ี งู สุดนเ้ี ปน 3 ลักษณะดวยกนั คือ 1. ฉางตี้ (Shang Ti) แปลตามตัวอกั ษรวา “ผูปกครองที่สงู สุด” เปน ชอ่ื เรียกท่มี ลี ักษณะเปนตัวตน ใน หนงั สอื คัมภรี ศ กั ดิ์สิทธิแ์ หงตะวันออก มกั จะแปลกันวา “พระเจา” 2. เทยี น (T’ien) แปลตามตัวอกั ษรวา “สรวงสวรรค” หมายถึงกฎระเบยี บทางศีลธรรมที่สงู สุดของโลกใน ลกั ษณะทไี่ มเปนตวั ตนคาํ ทง้ั สองนี้มักใชด ว ยกนั และสามารถใชแ ทนกนั ได 3. หมิง (Ming) แปลตามตัวอักษรวา “บัญญัต”ิ หรอื “ชะตา” หมายถงึ จดุ มงุ หมายของสวรรคในบททา ย ของคัมภีร ขงจอื้ มีการเช่ือมโยงระหวา งจรยิ ศาสตร กับอาํ นาจแหง สวรรคอยางใกลชดิ แสดงใหเ ห็นถงึ ความเชือ่ ในอาํ นาจ ของสรวงสวรรค ขงจือ้ กลา ววา “เมือ่ ไมไดร ูถึง บัญญตั แิ หงสวรรค ก็เปน ไปไมไ ดทจี่ ะเปนบุคคลผสู ูงสง เม่ือมรี ูจักกฎของการ ประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ันถูกตอง กเ็ ปนไปไมไ ดท ี่จะใหเกิดบคุ ลิกภาพที่ดขี ้ึนมา” (ขงจ้ือ 20:3.1-2) 3. เทพเจา อื่น ๆ ในศาสนาขงจื้อ มกี ารบชู าเซน ไหวเทพเจา อ่ืน ๆ เปน อันมาก ทง้ั จากบนั ทกึ โบราณตา ง ๆ และการเซน ไหวน ้ันก็ ไดส บื ทอดมาถงึ ปจ จบุ ันเทพเจา บางอยา งเชน ฟา เปน สง่ิ ท่เี ดนชดั บางอยา งก็เปน พลังในธรรมชาติ เชน แผนดนิ พระ อาทติ ย พระจนั ทร หรอื ภเู ขาและแมนา้ํ ท่สี ําคัญในประเทศจีน เทพจา บงอยา งก็เปน เทพเจา ประจาํ ธรรมชาติเลก็ ๆ เทพเจา บางองคเปนบุคคลในเทพนยิ ายหรือบคุ คลในประวตั ิศาสตร เชน ขงจ้อื และกวางตี่ (Kwang Ti) จักรพรรดิจีนโบราณ

ซ่ึงนบั ถือกันในฐานะเปนเทพเจา แหงสงคราม เปน ตน การบชู าบวงสรวงเทพเจาตา ง ๆ เหลานี้ บางกพ็ ระจักรพรรดิทรง เปน ผปู ระกอบพธิ ีบวงสรวงดว ยพระองคเ องบา งกใ็ หข าราชการในระดับตา ง ๆ เปนผูประกอบพิธีบูชา และบางกป็ ระชาชน สามญั เปนผูบูชาเซนไหว พระโอรสแหง สวรรค (หมายถึงพระจักรพรรดิ) ไดบชู าบวงสรวงตอฟา และดนิ ตอ ถูเขาทม่ี ชี อ่ื และสายน้าํ ที่ ยงิ่ ใหญภ ายใตแ ผนฟา ท้ังหมด ตอภเู ขาทัง้ หาและแมนํ้าท้ังสี่ เจาชายแหงรัฐตาง ๆ ไดบ ูชาบวงสรวงตอ เทพเจา แหงแผนดิน และพชื พนั ธุธ ัญญาหาร ตอ ภเู ขาท่ีมชี อและสายนํ้าทย่ี ิ่งใหญซ่ึงอยูภายในอาณาเขตของตน (คัมภรี ศกั ดส์ิ ิทธ์ิแหงตะวันออก 27.225) ศาสนาขงจ้ือในฐานะศาสนาประจาํ รัฐ ในศาสนาขงจอ้ื ไมปรากฏวา มีสถาบันพระทแ่ี ยกออกเปน อกี สถาบันหนง่ึ ตางหาก หนาที่ของพระนั้นตามปกติ แลว ขา ราชการของรัฐบาลจะเปนผูก ระทาํ ขุนนางระดับทอ งถ่ินจะทาํ หนาทบ่ี ชู าบวงสรวงขงจื้อเปนประจําป ในขณะที่ ขา ราชการชนั้ สงู จะทําหนา ท่บี ูชาบวงสรวงธรรมชาติ พระจกั รพรรดิซ่ึงเปนผูปกครองทมี่ ีอํานาจสูงสดุ ในประเทศจีนจะทรงประกอบพธิ ีอยา งเปนทางการในบานะ ตัวแทนของประชาชาตจิ ีนในการบวงสรวงบูชาสวรรค (The Worship of Heaven) ซง่ึ เปนอํานาจที่สูงสดุ แหงโลก ประเพณีน้ีเปน ประเพณกี ารบวงสรวงทางศาสนาที่ยนื ยาวทส่ี ดุ กวา ท่ีใด ๆ ในโลก การบูชาบวงสรวงสวรรค กระทํากันทกุ ปเ ปนประจําในคืนฤดหู นาวทพี่ ระอาทติ ยอ ยหู างไกลจาดลกมาทส่ี ดุ คอื วันที่ 22 เดอื นธนั วาคม ในพิธีบวงสรวงบชู าจะมี การเซนไหวด ว ยการเผาวัวตอน อาหาร ผาไหม และสุรา นอกจากนี้ยงั มกี ารขับดนตรี การประดับไฟตาง ๆ ขบวนแห และผเู ขา รว มพธิ ที ่มี เี กียรติอีกหลายหมูเหลาสถานประกอบพิธีเปน แทนบูชากนิ ออ นสีขาว ขนาดใหญแ ละกลม มสี ามแทน ตัง้ อยทู างทิศใตของกรุงปก ก่งิ และนับวา เปนแทนบชู าทใ่ี หญท ีส่ ุดในประวัติศาสตรของโลก คาํ สวดของพระจกั รพรรดิจีน ซงึ่ ไดใ ชส วดในการประกอบพีในป ค.ศ. 1539 มีดังตอไปน้ี พระผูยงิ่ ใหญและสงู สง พระองคไดทรงนาํ ความพึงพอใจและความคํานงึ มาสูพระองค ทรง เปรียบเทียบประดุจชางปนหมอ ที่ไดส รา งสรรคส ่งิ ที่มีชีวิตทง้ั มวล จะมีของเขตหรือขอ จํากัดอนั ใดเหลอื อยอู กี เลาในขณะที่ เราไดกลา วฉลองพระนามอนั ยิ่งใหญของพระองค พระองคทรงสรา งแผน ฟาอันสงู สงา และผนื ดนิ โลกทง้ั หมดเคารพยํา เกรงพระองค มนุษยท ้ังมวล สรรพส่ิงบนพืน้ โลก แสดงความชน่ื ชมพรอมกนั ในพระนามอนย่ิงใหญ (Legge, 1880,47,51) ภายหลงั จากการดคนลมราชวงศแมนจู กไ็ มมีจกั รพรรดิบนราชบัลลังกโบราณของจีนท่ีประกอบพระราชพิธี ประจําปอีกตอไปแตประธานาธิบดคี นแรกของสาธารณรฐั จนี ทเ่ี พ่ิงสถาปนาข้ึนใหมคือ ยวน ซี ไข (Yuan Shi Kai) ก็ ยงั คงประกอบพธิ บี วงสรวงน้อี ีกตอ ไปทัง้ ๆ ท่ีรูปแบบของรัฐบาลและการปกครองไดเปลีย่ นแปลงไปจากเดมิ อยา งสิน้ เชงิ อยางไรก็ตามพธิ ที างศาสนาทเี่ ทาแกนานนบั หลายสิบศตวรรษของการบชุ าสวรรคไ ดค อย ๆ เส่อื มโทรมไปพรอม ๆ กบั วดั ขงจ้ือ จาํ นวนมากที่ไดเสอื่ มโทรมลงดวย การบชู าแผนดิน (The Worship of Earth) เปน การบูชาธรรมชาติอีกอยา งหนึง่ ซึ่งเก่ียวของกัน เพยี งแตว า มีความสาํ คัญนอยกวา ขาราชการของรฐั บาลเปน ผูป ระกอบพิธีเปนประจาํ ทุกป ในฤดรู อ งท่ีดวงอาทิตยหางไกลจากโลกท่สี ุด คือวันที่ 21 เดอื นมิถุนายน สถานท่ปี ระกอบพิธีคอื แทน บูชาแผนดิน รปู ส่ีเหลย่ี มจตั รุ สั ลอ มรอบดว ยน้ํา ต้ังอยทู างทิศ เหนือของกรงุ ปกกิ่ง

การบชู าพระอาทิตย (Worship of the Sun) กระทาํ ท้งั เปน ประจาํ ทกุ ปเชนเดยี วกนั ในฤดใู บไมพ ลิที่ กลางวนั ยาวเทากบั กลางคืน คือประมาณวันท่ี 21 เดือนมนี าคม สถานท่ปี ระกอบพิธีอยูทป่ี ระตตู ะวันออกของเมืองหลวง และการไหวพระจนั ทร (Worship of the Sun) ก็กระทํากันทกุ ปเปน ประจํา ในฤดใู บไมรว งทก่ี ลางวนั ยาวเทา กับ กลางคนื คือประมาณวันท่ี 22 เดอื นกันยายน สถานทีป่ ระกอบพธิ ีคือ ประตูตะวนั ตกของเมืองหลวง ดงั นนั้ ในฤดกู ารทั้ง 4 ของปแ ละทศิ ที่สาํ คญั ทัง้ ส่ีของเมืองหลวง จะมกี ารประกอบพิธีทางศาสนาอยา งเปน ทางการ เปนประจาํ โดยเจาหนาทช่ี น้ั สงู ของรัฐบาลเปนผูประกอบพธิ แี ละถอื กันวา เปนสวนหนึ่งของหนาท่ีราชการประจาํ ทตี่ อ ง ปฏิบัติ แตศาสนาขงจื้อในฐานะท่เี ปนศาสนาของทางราชการไดล ม เลกิ ไปเมอ่ื ไมกป่ี มานี้เอง ศาสนาขงจ้อื ในฐานะศาสนาของสามญั ชน ศาสนาขงจอ้ื ไดกาํ หนดการบวงสรวงบชู าทางศาสนาสําหรับประชาชนสามญั ของตนี ไวอยางแนน อน เชนเดยี วกับท่กี ําหนดไวแ นนอนสําหรบั รัฐ การบูชาบรรพบรุ ษุ (Ancestor Worship) เปนประเพณีอันยาวนานทเ่ี ปน ทีน่ ิยมแพรห ลายในหมูประชาชน ใหม คี วามตงั้ ใจระมดั ระวงั ในการประกอบพิธีฝง ศพใหแ กแ มเมื่อตาย และใหมพี ธิ เี ซนไหวต ิดตอกันไปอยาได ขาดแมกาลเวลาจะผานไปยาวนาน เมอ่ื ทาํ ไดเ ชน นผี้ คู นกม็ ีคณุ ธรรมอนั เหมาะสมเปน เลิศ (1.9) ความกตญั กู ตเวทีตอพอแมใ นขณะทีย่ ังมชี วี ิตอยู เปนสิ่งท่ศี าสนาขงจือ้ ตอ งการใหทกุ คนปฏิบัติ และเมอื่ พอแม ถึงแกกรรมกใ็ หแ สดงความกตัญกู ตเวทีตอ เนื่องไปมใิ หขาด ดว ยการประกอบพธิ ีบชู าบรรพบุรุษ ความกตญั ูกตเวทเี ปนรากฐานของคณุ ธรรมทง้ั ปวง และคาํ สอนทางจรยิ ธรรมทง้ั หมดทแ่ี ตกกิ่งกานมากจาก คณุ ธรรมขอน้ีรางกายของเรานับตัง้ แตเสนผมทุกเสน จนถึงกระดูกทุกชิน้ ลว นไดรับมาจากพอ แมข องเราท้งั ส้นิ เราจงึ ไมมี สิทธ์ทิ จี่ ะทาํ อันตรายตอ ทา นโดยประการทงั้ ปวง (คัมภรี ศักด์ิสิทธ์แิ หงตะวนั ออก 3.446) การเสดงออกซ่งึ ความรักความเคารพบชู าตอ พอแมใ นขณะทีท่ า นยังมชี ีวิตอยู และการแสดงออกถึงความเศรา โศก เสียใจเมอ่ื ทานถงึ แกก รรมลงน้ีเปนหนา ทพี่ ้ืนฐานของมนษุ ยท่ยี งั มีชวี ติ อยจู ะพึงกระทาํ ใหสําเรจ็ ลลุ ว งไปโดยสมบรู ณ (คมั ภีรศักด์ิสิทธิแ์ หง ตะวนั ออก 3.488) การบุชาบรรพบุรุษทีต่ ายไปน้ันมิไดก ระทําไปดวยความกลวั หรือการวิงวอนรอ งขอสงิ่ ใดส่งิ หน่งึ แตอยา งใด แต เชือ่ กนั วาบรรพบรุ ษุ ที่ตายไปนน้ั ยังคงอยูใกล ๆ กับทอ่ี าศัยเดิมในบานของครอบครัวและใกลๆ กบั บริเวณหลุมฝงศพ อาหารท่นี าํ มาเซนไหวใ นพิธบี ชู าบรรพบรุ ุษนน้ั มใิ ชเ ปนการสงั เวยเพือ่ ลา งบาป แตเปนมือ้ อาหารอันศักดส์ิ ทิ ธ์ิรว มกันใน ครอบครัว นอกจากการบวงสรวงวญิ ญาณของบรรพบุรุษแลว ประชาชนโดยท่วั ไปของจีนยังมีความคิดและการปฏิบตั ิตอ วญิ ญาณอนื่ ๆ นบั จํานวนไมถ ว น ซง่ึ เชือ่ กนั วามีอยูทั่วไปทั้งแผนดินและในอากาศ นอกจากนก้ี ารดูทศิ ทางของ “ลมและ นํ้า” (Feng – Shui) จากความเกรงกลวั ที่วา จะไปรบกวนถกู วญิ ญาณ “ลมและน้ํา” ยงั เปน ปจจยั ท่สี ําคัญอันหนึ่งใน ชีวติ การปฏิบัติศาสนกิจของศาสนาขงจื้อ ฐานะของขงจื้อยางเปนทางการในประวตั ิศาสตร

195 กอน ค.ศ. พระจักรพรรดิของจีนไดท รงประกอบพิธีเซนบวงสรวงดวงดาววญิ ญาณของขงจ้อื ที่หลมุ ฝง ศพ ค.ศ. 1 ขงจ้อื ไดรับการขนานนามจากจกั รพรรดิวา “ขุนนางนิ (Duke Ni) ผเู พียบพรอมและเรยี งนาม” ค.ศ. 57 มกี ารประกาศอยางเปนทางการใหป ระกอบพธิ บี วงสรวงขงจื้อเปนประจาํ ท้งั ในสาํ นักพระราชวงั และท่ี ทาํ การรฐั ทุกจงั หวัด ค.ศ. 267 มปี ระกาศอยางเปนทางการใหม ีพิธีประกอบประณตี และใหญโตขึน้ เพือ่ บวงสรวงขงจอ และให บวงสรวงปล ะ 4 ครงั้ ค.ศ. 492 ขงจอ้ื ไดรับการขนานนามใหเ ปน นักบญุ วา “นกั บญุ ผูสาํ เร็จท่ีนาเคารพ” ค.ศ. 545 มคี าํ สัง่ ใหส รา งวดั เพ่ือบชู าขงจื้อขึน้ โดยเฉพาะในหัวเมอื งทุกเมืองในประเทศจีน ค.ศ. 740 มีการเคล่อื นยา ยรปู ปน ของขงจ้อื จากดา นขางมาอยูตรงกลางของสํานักพระราชวัง เพื่อตั้งในระดับ เดยี วกับกษตั ริยในประวัติศาสตรของจีน ค.ศ. 1068-1086 ขงจือ้ ถกู ยกขึ้นสตู ําแหนงพระจกั รพรรดิเตม็ ขัน้ ค.ศ. 1906 30 ธันวาคม มีพระราชกาํ หนดจากพระจักรพรรดิยกขงจ้อื ขึ้นสตู าํ แหนงเทยี บเทากบั เทพเจา แหงฟา และ ดนิ ค.ศ. 1914 ยวน ซี ไข ประธานาธบิ ดีคนแรกของสาธารณรฐั จนี ไดประกอบพธิ บี ชู าขงจอ้ื แนวคดิ ที่ตอตา นขงจือ้ : ปรชั ญาโมจอ้ื (Mohism) โมจ้อื (Mo Tzu) โมจ อ้ื (479-381 กอน ค.ศ.) มีช่ือสกลุ วา “โม” (MO) และมีช่ือตัววา “ต่ี” (Ti) แหลงสําคัญท่ใี ชเปนหลักใน การศกึ ษาความคิดของโมจ้ือคือหนงั สือ โมจ ือ้ (The Mo – Tzu) ซึ่งมี 53 บท เปนหนังสอื รวบรวมงานทางความคดิ ของโมจื้อซงึ่ เขียนโดยสานุศิษยของโมจ ้อื และตัวของโมจ้ือเอง โมจื้อเปน ผกู อต้ังสาํ นกั ทางความคิดซ่ึงเปน ท่รี จู กั กันวา ปรัชญาโมจื้อ (Mohiam) โมจือ้ เปน นกั ปราชญจ ีนคนแรกที่ตอตานแนวความคิดของขงจอื้ การรจู ักพืน้ ฐานชวี ิตของโมจื้อจะชว ยใหเ ขา ใจ ความคิดของโมจ้ือดีขึ้น ในขณะทขี่ งจอ้ื เปนปญ ญาชนในหมูข ุนนาง (Ju, Literati) น้นั โมจ ้ือกลบั เปนปญ ญาชนในหมู นักรบ (Hsieh, Knights-Errant) ขงจอื้ มีความเขา อกเขา ใจในสถาบนั ตาง ๆ ที่สืบทอดมาตามประเพณี เชน พธิ ีกรรม ดนตรี และวรรณคดีในสมยั ราชวงศโจวตอนตน และพยายามทําใหส ถาบันเหลานี้เหตุผลและถกู ตองในทาง จรยิ ธรรมขน้ึ มา ตรงกันขา ม โมจือ้ กลับต้งั คาํ ถามในความถูกตองเหมาะสมและประโยชนข องสง่ิ เหลานนั้ และพยายามหา บางสิง่ ทง่ี ายกวา และมีประโยชนกวา ตามทัสนะของเขามาแทนทีโ่ ดยสรปุ แลวขงจื้อเปน ผูทีใ่ หเหตุผลและความถกู ตอ งแก อารยธรรมโบราณ ในขณะท่ีโมจื้อเปน ผทู ่ีวิพากษว ิจารณอารยธรรมโบราณเหลา นั้น ในสมัยนั้นพธิ กี รรมตา ง ๆ และดนตรถี ูกจาํ กดั อยูเฉพาะในหมูขุนนางเทาน้ันเพราะฉะนัน้ ตามทัศนะของสามญั ชนแลวส่ิงเหลา นน้ั เปนของฟุมเฟอยและไมม ีประโยชนอะไรตอการดาํ รงชวี ิต จากจดุ ยืนนี่เองทโ่ี มจื้อและสานุศิษยไดว ิ พากษ์ิวิจารณส ถาบนั ทสี่ บื ทอดตามประเพณีเหลา นี้รวมไปถึงขงจ้ือและนกั ปราชญในปรชั ญาขงจ้อื ที่ไดพยายามความและ ใหเ หตุผลแกหลักจริยธรรมในชนชัน้ ของตนซ่งึ เปนชนชัน้ ทหาร ไดก ลายมาเปนแกนกลางของปรัชญาของโมจ อื้

พื้นฐานทางสงั คมของสาํ นกั โมจ ื้อ ยคุ สมัยของโมจอื้ แผน ดินจีนยงั แตกเปนกกเปนเหลา แตกแยกเปนนครรฐั เลก็ ๆ มากมาย แตละนครรัฐเปน อิสระไมข ึน้ ตอกนั ตางกม็ ีเจานครรัฐทําหนาท่ีปกครอง มีการทาํ สงครามแยง ชงิ ความเปน ใหญก ันอยูเ สมอในบรรยากาศ ของการรบพุงเชน นี้ทาํ ใหเ กิดชนช้ันหน่ึงข้นึ เรยี กวา “พวกนักรบเรรอ น” (Hsieh หรอื Yu hsieh, Knights-Errant) มอี าชพี รบั จา งทําการรบใหกับนครรฐั ตา ง ๆ พวกนกั รบเรรอ นในสมยั นั้นเปนพวกท่ีมี “คณุ ธรรมของความเปนนกั รบ” อยู อยา งเตม็ ตัว ตามบนั ทกึ ทางประวตั ศิ าสตรก ลาววา คําพูดของบุคคลเหลา น้จี รงิ ใจและเช่ือถอื ไดเสมอ การกระทําของเขาเหลานฉ้ี ับไวเตม็ ไปดว ยการ ตัดสนิ ใจ เมื่อไดใหคํามน่ั สัญญาอะไรแลว จะรกั ษาคํามน่ั สญั ญานั้นดวยชีวติ และพรอ มทจี่ ะเผชญิ หนากบั ความตายอยา ง ไมห วาดหวัน่ (Historical Records, Ch.124) ในบรรดานักรบเรรอนเหลานี้ โมจ ้อื เปนหวั หนาของนักรบเรรอ นกลมุ หนึ่ง มีอาํ นาจเดด็ ขาดสูงสดุ ปกครองกลมุ อยางไรก็ตามโมจ อ้ื และสานศุ ษิ ยแตกตางจากนกั รบเรรอนกลมุ อื่น ๆ อยู 2 ประการ คอื 1. นักรบเรรอ นโดยท่ัวไปน้ันจะรับจางทําการรบทุกแหง ถาหากไดรับคาตอบแทนเปน ท่ีพอใจจากเจานครรฐั นั้น ๆ แตโ มจ ือ้ และสานุศิษยนั้นปฏิเสธการทําสงครามรกุ ราน และรับจา งรบกแ็ ตในกรณที ่ีเปนการรบเพอื่ ปองกนั ตนเอง เทา นัน้ 2. ในขณะที่นกั รบแรรอนคนอน่ื ๆ น้ันปฏบิ ัติตาม “คณุ ธรรมของความเปน นกั รบ” ท่ยี ดึ ถือกันมาเพียงอยาง เดยี ว โมจ ือ้ ไดขยาย “คณุ ธรรมของความเปนนกั รบ” นี่ใหกลายเปน “คณุ ธรรมสากล” และไดอ ธบิ ายใหเ หตุผลไวอยาง ชดั เจน มีเรอื่ งหนึ่งท่ีสะทอ นใหเห็นถงึ สติปญ ญาอนั เฉลียวฉลาดของโมจ้ือและหลกั ปรัชญาการรบเพ่ือปกปองกันตัวเอง จากการรุกรานเทา นนั้ เร่อื งมีอยวู า นครรัฐจู (Stste of Cg’u) ไดวา จา งนักประดิษฐ ทม่ี ชี ือ่ เสียงคนหน่งึ ช่อื คง-ซู ปน (Kung-Shu Pan) ให ประดิษฐอ าวุทแบบใหมส าํ หรับใชโ จมตกี าํ แพงเมืองในขณะน้ันนครรฐั จกู าํ ลังเตรยี มท่ีจะโจมตี นครรัฐซุง (Stste of Sung) ดวยอาวธุ แบบใหมน้ี นครรัฐซุงไดวาจางใหโ มจ อื้ ชวยปองกันบานเมอื งให โมจื้อเมื่อไดทราบขาวการประดิษฐ อาวุธอยางใหมนี้จึงไดเดินทางไปท่ีนครรัฐจู ของรองใหก ษตั ริยรัฐจู อยาเพงิ่ ยกกองทัพไปและเรียกตัว คง-ซู ปน ใหม า ประลองยุทธวธิ กี าร รุกและการรับดวยอาวุธใหมก นั ตอหนา กษตั ย คง-ซู ปน ไดใชอาวธุ แบบใหมถึง 9 ชนิด ในการโจมตี แตโ มจอื้ กส็ ามารถแสดงยุทธวิธตี อบโตใหถอยกลับไปไดทุกคร้ังจนในทส่ี ุด คง-ซู ปน ก็หมดหนทางที่จะเขาโจมตไี ด แคแลว คง-ชู ปน กพ็ ูดข้ึนมาวา “ขาพเจารวู ิธที จี่ ะทาํ ใหทานแพแตขาพเจา จะไมบอก” โมจ ือ้ จงึ ตอบวา “ขา พเจา กร็ ูวาทา นหมายถึงอะไรแตข าพเจาก็ไมบอกเชนเดยี วกัน” กษัตริ ัฐจูไมเ ขาใจวา บุคคลท้งั สองกําลงั พูดถงึ อะไรกนั อยู จงึ เอย ถามข้นึ โมจ ้ือจงึ ตอบวา “คง-ซู ปน กาํ ลังคดิ ท่ีจะฆา ขา เจาเสีย แตเ ขากล็ ืมไปวา สานศุ ษิ ยของขาพเจาคอื ชนิ คลู - ลิ (Ch’in Ku-Li) และคนอื่น ๆ อีกถงึ 300 คน เปนผูท ี่เชีย่ วชาญ กลยุทธในแบบฉบับบของขา พเจาเปน อยา งดี พวก เขากําลังยืนอยูบนกาํ แพงรัฐซงุ เพือ่ เตรียมตอบดตก ารรกุ ของทาน แมขาพเจา จะถกู ฆาตาย ทา นก็มีทางท่ีจะเอาชนะพวกเขา ได” กษัตรยิ รฐั จเู มื่อไดยินเชน นั้นจงึ ไดล มเลกิ ความตง้ั ใจท่ีจะโจมตีรฐั ซงุ (The Mo-Tzu Ch.50) ขอ วพิ ากษปรัชญาขงจือ้

โมจื้อวิจารณปรัชญาขงจ้อื วา การที่ปรัชญาขงจ้ือเนนความสาํ คญั ของสถาบันครอบครัว โดยสอนใหคนเรารัก บุคคลในครอบครัวของตวั เองกอ นแลว ขอ ย ๆ ขยายความรักนไี้ ปยังบุคคลอื่น หลักน้ีถามองโดยผวิ เผินแลว อาจจะเปนวา ใชได แตถ า มองในมุมกลับแลวจะเห็นไดวา หลกั นจี้ ะนาํ ผลรา ยมาสูสงั คม เชน ถา หากวา คนในครอบครัวของตัวเอง เดอื ดรอ นกนั คนในครอบครวั ของบุคคลอน่ื เดอื ดรอน ถาปฏบิ ัติตามหลักของขงจอื้ แลว เรากต็ องชวยคนในครอบครวั ของ ตัวเองกอนแลว จึงจะคดิ ชวยคนในครอบครวั อื่น และระหวางคนท่ีรจู กั คนท่ไี มรูจกั เราจะชว ยคนท่ีรจู ักกอ นเสมอ อันน้แี ละ ทเ่ี ปนสาเหตกุ อ ใหเกดิ ความเหล่ือมล้าํ การแงแยก และการเลน พรรคเลน พวกข้ึนในสงั คม เพราะถา ทกุ คนถอื หลกั ดังกลา ว แลว ในทสี่ ดุ ทกุ คนก็คิดถงึ แตต วั เอง คดิ ถงึ แตค รอบครวั และสมัครพรรคพวกของตวั เอง แลวความไมย ตุ ธรรมตา ง ๆ ก็จะ เกิดข้ึนมาในสังคมไดโ ดยงา ย ฉะน้ั หลกั ของขงจ้อื ดงั กลาวจึงอาจเรียกไดวาเปนหลกั ของ “การแบงแยก” (Discrimination) เมื่อไดว พิ าก วิจารณท ฤษฎี “การแบงแยก” ของขงจ้ือแลว โมจ้อื จึงไดเสนอแนวความคดิ ของตนเองขน้ึ เรียกวาทฤษฎี “ความรักสากล” (All-Embracing Love) หลกั ความรักสากล (All-Embracing Love) ความคิดหลกั ในเร่ือง “ความรักสากล” (Ch’ien-Ai, All-Embracing Love หรอื Universal) กค็ ือ “คนทกุ คนในโลกควรจะรักบุคคลอืน่ อยา งเสมอหนากนั ทัง้ หมด โดยไมมีขอยกเวนและโดยไมม ีการแบงแยก” โมจ ้อื เปรยี บเทียบหลัก “การแบงแยก” (Discrimination) กับหลกั “ความรักสากล” (All-Embracing Love) ดังน้ี คนทถ่ี ือหลัก “กาแบง แยก” จะพดู วา “มันมเี หตุผลแตอ ยา งใดท่ีฉนั จะตอ งไปสนใจดแู ลเพอื่ นใหเหมอื นกับท่ีฉนั ดแู ลตนเองและกไ็ มต องมีเหตผุ ลท่ีจะไปสนใจดแู ลพอแมของคนอื่นมากเทาทส่ี นใจดูแลพอ แมของฉนั เอง” เมอื่ เปน เชน นี้ แลว ในม่ีสุด คนๆ น้ีก็จะไมไ ดทําอะไรมากนกั ใหแ กคนอื่น สําหรบั คนทถี่ ือหลัก “ความรกั สากล” จะพดู วา “ฉนั จะตอ งเอาใจใสเ พื่อนของฉันใหมากเทา กบั ที่ฉันเอาใจใส ตนเอง และจะสนใจดแู ลพอ แมข องเพ่ือนใหเหมอื นกับท่ีฉันสนใจดูแลพอแมต นเอง” เมื่อเปนเชนนบ้ี คุ คลนี้จะทําทุกอยา ง ทีส่ ามารถจะทาํ ไดตอบุคคลอ่นื แลว โมจ ้อื กถ็ ามวา หลักอันไหนกันแนทีถ่ กู ตอ งกวากัน โมจื้อไดแ สดงเหตุผลตอไปอีกวา ในบรรดาความทกุ ขยากท้ังหลายทเ่ี กดิ ข้นึ ในโลกนั้นอะไรคอื ความทุกขย ากท่ี ใหญหลวงทีส่ ดุ โมจื้อเห็นวา 1. การทีร่ ฐั ใหญเบียดเบียนรัฐเลก็ 2. บา นใหญขม เหงรังแกบา นเล็ก 3. คนแขง็ แรงกวา ขม เหงคนท่อี อ นแอกวา 4. คนหมมู ากรังแกคนหมูนอ ย 5. คนโกงหลอกลวงคนซือ่ 6. คนช้ันสงู ดูถูกเหยียดหยามคนที่ตํา่ กวา เหลานี้คือความทกุ ขของโลก ถาจะถามวา ความทกุ ขเหลานี้เกิดข้ึนไดอยา งไร ก็จะตอบวา เกดิ จากความเกลยี ดชังและจิตใจท่ีมงุ ประทษุ รายนเ้ี กดิ จากหลกั ของ “การแบงแยก” ดังนัน้ โมจอ้ื จึงสรปุ วาหลกั ของ “การแบง แยก” เปนสาเหตุท่ีกอใหเ กดิ ความทกุ ขท ่ีเกิดขึ้น ในโลก จึงเปนหลักทผ่ี ิด ดมจื้อไดเสนอใหทกุ คนหันมาใชห ลัก “ความรกั สากล” แทนโดยอธบิ ายวา เมือ่ ปฏิบตั ิตามกลกั “ความรกั สากล” แลว 1. รฐั ใหญจ ะไมเ บยี ดเบยี นรัฐเล็ก 2. บานใหญจะไมขม เหงบา นเลก็ 3. คนท่แี ขง แรงกวา กจะไมขม เหงรังแก คนออ นแอกวา 4. คนหมมู ากจะไมร ังแกคนหมูนอ ย 5. คนก็จะไมคดโกงหลอกลวงกัน 6. คนช้นั สงู กไ็ มด ูถกู เหยียดหยาม คนท่ีตาํ่ กวาเพราะทกุ คนจะมีความรักเสมอหนา เทา เทยี มกนั หมดโยมกี่ ารแบงแยก

เมอ่ื เปนเชนน้ีแลว โลกกจ็ ะเกิดความสงบและความสุขข้ึน ถา จะถามวาความสุขท่เี กิดขึน้ นเ้ี กิดจากอะไร กจ็ ะ ตอบวา ไดว า เกดิ จากความรกั และจติ ใจทมี่ ุง จะบําเพ็ญประโยชนตอ บุคลน้ีเกดิ จากหลกั “การแบง แยก” หรือ หลกั “ความ รกั กล” ก็จะตอบไดวา เกดิ จากหลกั “ความรกั สากล” ดงั น้ันโมจ้ือจึงสรุปวาหลัก “ความรกั สากล” เปนสาเหตุที่ กอ ใหเ กดิ ความสุขขน้ึ ในโลก จงึ เปนหลักทถี่ กู ตอ ง เมื่อทุกคนปฏิบัตติ ามหลกั “ความรักสากล” แลว ก็จะเกิดสวัดิการขนึ้ เองในสงั คมเพราะทกุ คนจะคอยชวยเหลอื ดูแลซึ่งกนั และกันคนแกจ ะไดร ับการเลย้ี งดจู นกวา จะสิน้ อายุขยั เด็ก คนออนแอ และคนพกิ าร จะไดร บั การเลยี้ งดู สนบั สนุน ใหเติบโตอยางเทา เทียมกัน หลัก “ความรกั สากล” จงึ อาํ นวยประโยชนส ุขใหแกส งั คมอยางไพศาล แนวคิดเร่อื งเทพเจา ปญ หาพ้นื ฐานขอ หนึ่งกค็ ือ ทาํ อยางไรจงึ จะชกั ชวนใหคนหันมาใชห ลัก “ความรักสากล” น้ี เราอาจจะให เหตุผลวา 1. การปฏิบตั ิตามหลัก “ความรกั สากล” เปน หนทางเดียวท่ีจะเกิดประโยชนส ุขแกโ ลก 2. มนุษยผูมีคุณธรรมทุกคนจะปฏิบัตติ ามหลกั “ความรกั สากล” ท้ังส้ิน แตคนกอ็ าจจะถามวา ฉันจะทาํ ประโยชนส ขุ แกโลกไปทําไมกัน และ ฉันจะเปนมนุษยม คี ุณธรรมไปทําไมกัน เราอาจจะใหเหตุผลตอไปวา 3. ถา โลกโดยสว นรวมไดร บั ประโยชนส ุขแลว ตวั เราก็จะพลอยจะไดรับประโยชนสุขดวย ดงั ท่ีโมจ อื้ กลา ววา ผทู ี่รกั บุคคลอ่ืนกจ็ ะไดรบั ความรกั จากบคุ คลอน่ื ดว ย ผูท่ีทาํ ประโยชนสขุ ใหแ กผูอื่นก็จะไดรบั ประโยชนสุขจาก ผอู นื่ ดวย ผูท ่ีเกลยี ดชงั ผูอื่นกจ็ ะไดรบั ความเกลียดชงั จากผูอ่ืนดว ย (โมจอ้ื บท 17) แตถาคนสวนใหญมองไมเห็นความจรงิ ขอน้ีละ จะทําอยา งไร โมจือ้ ไดน ําเรื่องราวของเทพเจามาเปน เครอื่ งชกั จูงใหคนปฏิบตั ิตาม โดยใหเหตุผลวา 4. พระเจาและวญิ ญาณตา ง ๆ มอี ยู คอยลงโทษแกคนทชี่ อบแบงแยกปละใหร างวลั แกคนที่ปฏิบัติตามหลกั “ความรักสากล” ในหนังสือ โมจ ้ือ (The Mo-Tzu) บทวา ดวย “ความปรารถนาแหง สวรรค” และ “ขอพสิ จู นถึงการมีอยู ของวิญญาณ” มีความตอนหนงึ่ วา พระเจา มอี ยู พระองคท รงรกั มวลมนษุ ย ความปรารถนาของพระองคคือใหมนุษยทกุ คนมีความรกั ซึง่ กนั และกัน พระองคทรงคอยตรวจสอบการกระทาํ ของมนษุ ยอ ยูเสมอ โดยเฉพาะอยางย่ิงพวก ผูปกครองบานเมอื ง พระองคทรง ลงโทษตอ บุคคลท่ีไมเ ชือ่ ฟง พระองคด ว ยการใหเกดิ ภยั พบิ ัตติ า ง ๆ และทรงใหร างวลั แกบุคคลที่เชอ่ื งฟงโดยการประทาน โชคลาภให นอกไปจากพระเจาแลว ยังมวี ิญญาณอ่ืน ๆ อีก เปน จาํ นวนมากท่คี อยใหร างวัลแกบุคคลทีป่ ฏิบัติตามหลัก ความรกั สากล และคอยลงโทษตอบุคคลที่ชอบแบงแยก มีเรื่องที่นาสนใจในขอนเ้ี กีย่ วกับตวั โมจ ้ือดังน้ี ครั้งหนึง่ เมื่อโมจ อื้ ปวย ไทป (Tieh Pi) ไดม าเยย่ี มและถามวา “ทานครับ ทา นถอื วญิ ญาณตา ง ไ นน้ั เฉลียว ลาดและสามารถควบคมุ ภัยพิบตั ิกบั โชคลาภได พวกน้ันจะใหร างวลั แกคนดีแลลงโทษคนชว่ั เวลานีท้ านเปน นกั ปราชญ

คนหนึง่ แลว ทานสามารถปว ยไดอยา งไร จะเปนเพราะวาคําสอนของทานไมถูกตอ งครบถวน หรอื วา วญิ ญาณเหลา น้นั แทจริงแลวไมเฉลียวฉลาดกนั แน” โมจ ้ือตอบวา “แมวาขา พเจา ปว ย แลว ทาํ ไมจะตองบอกวาพวกวิญญาณไมเ ฉลยี วฉลาดดวยเลา คนเราสามารถ เจ็บปว ยจากสาเหตุดวยกนั บางคนปว ยเพราะความหนาวหรือความรอน บางคนปวยจากความเหน็ดเหนอื่ ยตรากตราํ ถามี ประตูท้ังหมด 100 บาน และเราปดเพยี งบานเดียว จะไมมชี อ งทางใหขโมยเขามาหรอื ”(โมจอ้ื , บท 88) เรอื่ งน้โี มจอ้ื ตอ งการบอกวา การลงโทษของพวกวญิ ญาณเปน สาเหตุหนงึ่ ของความปว ยไข แตไ มใ ชส าเหตุ ท้ังหมด ขอ สงั เกตบางประการ ถาตะถามวา ความคดิ ของปรัชญาขงจื้อและความคิดของปรชั ญาโมจ้อื ในเร่อื งท่ีเกย่ี วกบั เทพเจา และและการ ประกอบพิธกี รรมตาง ๆ จะขดั แยงกันเองอยูในตัวหรือไม กลาวคอื ขงจอื้ ไมไดมีความเช่ือในเร่อื งพระเจา และวิญญาณ ทั้งหลายแตยงั สอนใหคนประกอบพิธีบวงสรวงตาง ๆ อยู สว นโมจือ้ พดู ถึงเรอื่ งพระเจา และวิญาณตา ง ๆ แตก ลบั ตอตา น การประกอบพธิ ีบวงสรวงบูชา ขัดแยง เหลาน้ีเปน ทีไ่ มม อี ยจู ริง โดยสว นตัวแลว ขงจอ้ื ไมไ ดเชอื่ เรอ่ื งพระเจาและวญิ ญาณศกั ด์สิ ิทธิ์ แตย ังคงสอน ใหผ ูคนประกอบพธิ ีกรรมตอ ไปนัน้ ขงจื้อตอ งการใชพิธีกรรมเหลาน้นั เปนเครื่องมอื ท่ีทาํ ใหสงั คมมรี ะเบียบแบบแผน ประการหนึ่ง ตัวอยางเชนการประกอบพิธบี ูชาบรรพบุรุษ ไมใ ชเปนเพราะเชื่อวาวิญญาณของบรรพบุรุษตายไปแลวจะมอี ยู แตเปนเพราะตอ งการใหค นตงั้ ม่ันอยใู นหลกั ของความกตัญูกตเวที แมพ อ แมจะถงึ แกกรรมแลว กต็ าม และการบูชาบรรพ บุรษุ นีย้ ังเปนจารตี ประเพณที แ่ี สดงออกใหล กู หลานรุนถดั ไปไดเห็น เพือ่ นเอาเยี่ยงอยางในเร่ืองความกตญั ูกตเวที ทาํ ให สงั คมมีระเบยี บแบบแผนที่ดีขึ้นมา สาํ หรบั โมจือ้ นน้ั การทีเ่ ขาพดู ถงึ พระเจาและวญิ ญาณศกั ดิส์ ทิ ธิ์กเ็ พ่อื ทจ่ี ะใชเปนเคร่ืองมือใหคนทาํ ตามหลกั “ความรกั สากล” มากกวา ทจี่ ะสนใจอยา งจรงิ จังในเรอื่ งเหลาน้ัน โดยใชเ ปนเหตผุ ลสุดทา ยสําหรบั ประชาชนสามญั วา พระเจา และวญิ ญาณศักดสิ์ ทิ ธิ์จะคอยใหรางวัลแกผูทีท่ ําตามหลกั “ความรักสากล” และจะคอยลงโทษแกผูทีไ่ มป ฏิบัติตาม สวนทโ่ี มจื้อไมเห็นดว ยกบั การประกอบพธิ กี รรมตาง ๆ น้นั เพราะเห็นวาเปน การส้นิ เปลอื งโดยไมม ีประโยชนป ระการหน่ึง และพธิ ีกรรมเปน เครอ่ื งแบงชั้นวรรณะอีกประการหนึ่ง ทฤษฎกี ารดําเนินของรฐั (Origin of the state) นอกจากเหตุผลทางศาสนาแลว โมจ ้ือเห็นวา อาํ นาจรัฐเปนส่งิ จําเปนที่ตองใชเพื่อนใหประชาชนปฏบิ ตั ติ ามหลัก “ความรกั สากล” หนา ที่ท่สี าํ คญั ของผูปกครองรัฐคอื การดูแลความประพฤติของประชาชนคอยใหรางวัลแกผทู ่ปี ฏิบตั ิตาม หลัก “ความรักสากล” และคอยลงโทษแกผ ูทไี่ มป ฏบิ ัติตาม โมจอ้ื จึงเชื่อในเรื่องรับบาลกลางทเ่ี ขม็ แขง็ ตามทศั นะของโมจ อื้ เดิมทีเดยี วกอ นทจี่ ะเกดิ รฐั ใด ๆ มนุษยอยูในสภาพท่ี ทอมัส ฮอบส (Thomas Hobbes) เรยี กวา “สภาพตามธรรมชาติ” (The State of Nature) ในยุคสมยั แรกเริ่มนี้ “ทุกคนตางมีมาตรฐานความถกู และ ความผิดของตนเอง เมอ่ื มีคนเดียวก็มมี าตรฐานเพยี งอยางเดียว เมือ่ มสี องคนกม็ ีมาตรฐานความถกู และความผดิ มากเทาน้ัน ทุกคนถอื วามาตรฐานของตนเองถูกและของคนอนื่ ผิด”

โลกตกอยูในความวุนวายปน ปวนครงั้ ใหญและมนษุ ยเปน เหมือนนกและสัตวป า มนษุ ยจึงไดเ รยี นรูวา ความ วนุ วายปน ปวนท้ังหมดของโลกเกดิ ขนึ้ เพราะการขาดผูนํา ดังนัน้ บคุ คลทงั้ หลายจึงไดเ ลือกบุคคลท่ีมีคุณธรรมมากท่ีสดุ และ มคี วามสามารถท่สี ุดของโลก และแตงต้ังบุคคลผูนั้นเปน บุตรแหงสวรรค (หมายถึงกษตั รยิ ) (โมจ ้ือ, บท 11) ดังนนั้ ผปู กครองรฐั ในครัง้ แรกจงึ เกิดขึ้นตามความปรารถนาของประชาชนเพอื่ ทจ่ี ะชวยในบุคคลท้ังหลายพนไป จากสภาพที่ไมม ีการปกครอง โมจ ้ือเช่ือในเรอ่ื งของอาํ นาจเด็ดขาดสงู สุด (Totalitarianism) มมี าตรฐานของความถูกและความผดิ (Standard of Right and Wrong) เพียงมาตรฐานเดียว เพราะมฉิ ะน้นั แลว มนุษยจะกลบั ไปหา “สภาพตาม ธรรมชาติ” อีก ซงึ่ กจ็ ะมแี ตความวนุ วายปน ปวนไมเปนระเบยี บสาํ หรับโมจ ือ้ แลว มาตรฐานของความถูกและความผิด มาตรฐานเดยี วท่ดี ีท่สี ุดคือ “การปฏบิ ัตติ ามหลัก ความรักสากล เปน ส่ิงที่ถกู และการปฏิบตั แิ บบแบงแยกเปนสง่ิ ท่ีผิด” และ ตามบันทกึ ประวตั ิศาสตรเราทราบวา ชีวิตของโมจื้อเองไดเ ปนแบบอยา งท่ีแทจริงของคําสอนในเรื่องนี้

แนวความคดิ ของเมง จื้อ (Mencius) เมง จ้ือ (Mencius) เมง จอื้ (Mencius หรอื Meng Tzu) (ประมาณ 371 – 289 กอ นค.ศ.) เปนคนพ้ืนเมอื งในรฐั โชว (The State of Tsou) ซึ่งอยทู างตอนใตข องจังหวัดซาวตุงทางภาคตะวันออกของจนี ในปจจุบัน ทานเก่ยี วโยงกับขงจือ้ โดย การศกึ ษากับลกู ศษิ ยของขงจ้ือ – ซู (Tuz – Ssu) ซ่ึงเปน หลานชายของขงจ้อื ในสมัยนน้ั กษัตริยแ หง รฐั ฉี (the King of Ch’i) ซ่งึ เปน รัฐขางเคียงเปนผทู ่ยี กยอ งการศกึ ษาเปนอยา งสูง ไดสรางศูนยการศกึ ษาขึ้นท่ีในเมอื งและไดชุบเลีย้ ง นกั ปราชญราชบัณฑติ เปนจาํ นวนมาก เมง จอื้ เคยพกั อยูที่น่นั ครั้งหน่ึงในฐานะนกั ปราชญทีมชี ือ่ เสียงหลงั จากนน้ั ทานก็ไดเดนิ ทางไปตามรฐั ตาง ๆ เพ่ือ เสนอแนวความคดิ ของตนตอ ผูปกครองรัฐ แตไ รผ ล ในทีส่ ดุ ทานพรอมดวยเหลา สานุศิษยไดเขียนบันทึกคาํ สนทนา ระหวา งเมง จือ้ กบั เจาครองนครรัฐในสมยั นน้ั และคําสนทนาระหวา งเมง จือ้ กับสานศุ ิษย หนังสอื เลมนภี้ ายหลังไดร บั เกยี รติ ใหเปน คัมภรี เ ลม หนึ่งใน “คมั ภรี ทั้งสี่” (The four Books) ของปรัชญาขงจือ้ และไดใชเ ปน พ้ืนฐานของการศึกษา แบบขงจอื้ มานานนบั พันป ทฤษฎมี นุษยด มี าแตก ําเนิด (The Goodness of Human Nature) มนุษยเ กิดมาดีหรือเลว อะไรคอื ธรรมชาตขิ องมนุษยคําถามนเ้ี ปนปญหาท่ถี กเถียงกันมากท่สี ดุ ปญ หาหนึ่งใน ปรัชญาจนี ในสมยั ของเมงจ้ือทีทฤษฎอี น่ื ๆ ทอ่ี ธิบายถงึ เรือ่ งนี้อยา งนอยที่สดุ 3 ทฤษฎี คือ 1. มนุษยเ กดิ มาไมดไี มเ ลว ธรรมชาตขิ องมนุษยเปนกลาง 2. มนุษยเกิดมาสามารถเปนไดท ั้งดีและเลว ทฤษฎีน้ีดูเหมอื นจะหมายความวา ธรรมชาตขิ องมนษุ ยนั้นมีธาตเุ ลว ติดตัวมาแตกาํ เนิด 3. มนษุ ยบางคนเกิดมาดีบางคนเกิดมาเลว ธรรมชาติของมนษุ ยแตล ะคนมีดีมีชว่ั ไมเหมอื นกัน (เมงจ้อื 6ก, 3-6) ทฤษฎีแรกน้ัน เปน ของเกา จือ้ (Kho tzu) นกั ปราชญใ นสมัยเดียวกบั เมงจอื้ เราทราบความคดิ ในทฤษฎนี ้ี ดีกวา ทฤษฎีอืน่ ๆ จากคาํ สนทนาท่ียาวระหวา งเกา จ้ือและเมงจอ้ื ซ่งึ ปรากฏในหนังสอื เมง จอื้ เมงจอ้ื เสนอทฤษฎีวา “ธรรมชาติของมนุษยดมี าแตก ําเนิด” (The Goodness of Human Nature) หมายความวา ธรรมชาติของมนษุ ยม ธี าตุดี (Good Elements) ติดตัวมาแตก าํ เนดิ เมง จ้อื ใหเ หตุผลดังนี้ มนษุ ยทกุ คนมีจติ ใจท่ไี มส ามารถทน (เห็นความทกุ ขยากของ) ผอู ื่นได ... ถาขณะนี้คนเผอญิ เหลือบไปเหน็ เดก็ คนหนง่ึ กําลงั จะตกลงไปในบอน้ํา เขาจะเกิดความรูส ึกตืน่ ตกใจ (ตออนั ตรายที่จะเกิดกบั เด็ก และพรอมท่ีจะวงิ่ ตรงเขา ชว ยเหลอื เด็กคนนั้นในทนั ที) โดยไมมีขอยกเวน ... จากกรณีนเี้ ราอาจสรุปไดวา ผทู ขี่ าดความรูสกึ ออนนอ มถอมตนไมใช มนษุ ย และผทู ่ีขาดความรูส ึกผิดชอบชั่วดีไมใ ชมนษุ ย (เมง จอ้ื 2ก, 6) เมงจ้อื อธบิ ายตอ ไปวา ความรูสึกที่ดที ั้ง 4 ประการนี้เปนส่ิงทต่ี ิดตัวมนษุ ยม าแตก าํ เนิดหรอื เปนธรรมชาตทิ แี่ ทจริง ของมนุษย ทาหากเราพัฒนา “ความรูสกึ ทงั้ 4 ประการ” นใ้ี หเ ติบโตเต็มท่ีแลว กจ็ ะกลายเปน ”คุณธรรม 4 ประการ” ขน้ึ มาดังน้ี ความรสู กึ (Feelings) คณุ ธรรม (Virtues) 1. ความเห็นอกเห็นใจ (Sympathy) เปนจดุ เร่ิมตนขงิ มนุษยธรรม (Jen, Human –

2. การละอายในสง่ิ ท่ีผดิ และภาคภูมใิ จในสงิ่ ท่ี heartedness) ถกู (Shame and Dignity) 3. ความออ นนอ มถอมตน (Modesty) เปนจุดเรมิ่ ตนขิงความชอบธรรม 4. ความรูสึกผดิ ชอบช่ัวดี (Yi, Righteousness) (Sense of Right and Wrong) เปน จุดเริม่ ตนขงิ ความประพฤตอิ ันเหมาะสม (Propriety) เปน จุดเรม่ิ ตน ของปญญา (Wisdom) เมือ่ มนุษยมีคณุ สมบตั ิท้ัง 4 นี้อยูในตัวแลว มนษุ ยก ็ควรที่จะรูจ กั พัฒนาคุณสมบัติเหลาน้ีใหเ ติบโตเต็มทก่ี ลายเปน คณุ ธรรมขึน้ มาชีวิตมนษุ ยจงึ จะมีความหมายที่สมบรู ณ ความรสู ึกทงั้ 4 น้ี เปรยี บเหมอื นกับเมล็ดพืช เมอื่ ไดรบั การดูแลให เติบโตอยางเต็มทแี่ ลวยอ มกลายเปนตน ไมทใ่ี หด อกใหผลสมบรู ณตอ ไป หรอื เปรยี บเหมือนกับชอ ซ่ึงเม่อื บานเต็มท่แี ลวยอ ม กลายเปนดอกไมท ี่สวยงามข้นึ มาได และการทค่ี นบางคนไมดีเทาทคี่ วรนั้นกเ็ นอ่ื งมาจากความรูสกึ ทงั้ 4 น้ี ไมไ ดรบั การ พัฒนาในหนทางทถ่ี ูกตองเทา ท่ีควรน่นั เอง ความรูส ึกเห็นอกเห็นใจเปน จดุ เริ่มตนของมนุษยธรรมความรูส กึ ละอายในสิ่งทผี่ ิดและภาคภมู ิใจในส่ิงท่ีถูกตอง เปนจดุ เริม่ ตนของความชอบธรรม ความรสู ึกออ นนอมถอมตนเปนจุดเร่ิมตน ขิงความประพฤตอิ ันเหมาะสม ความรูส ึกผดิ ชอบชวั่ ดเี ปน จดุ เร่ิมตน ของสติปญญา มนุษยม จี ุดเรมิ่ ตน ทง้ั 4 ประการนเี้ ชนเดียวกบั ท่ีเขามีแขนและขา 4 ขาง ... เน่ืองจาก มนษุ ยท ุกคนมีจดุ เร่ิมตนทงั้ 4 ประการนีใ้ นตัวเอง ใหเขาไดร ูถึงการพัฒนาคณุ สมบตั ิเหลานีใ้ หเต็มที่และสมบรู ณ ผลจะ เกดิ ขึ้นดุจดงั ไฟที่เริ่มลกุ ไหม หรือดจุ ดังนํา้ พุที่เรม่ิ หาทางพลงุ ข้ึนมา ใหเขาไดพ ฒั นาตนเองใหเตม็ ท่ีและเขาจะมเี พยี ง พอทจ่ี ะปกปองสง่ิ ตา ง ๆ ทงั้ หมดในทะเลท้งั ส่ี แตถ า หากวา เขาถกู ปฏิเสธมิใหเกดิ การพฒั นาน้นั เขากจ็ ะมีไมเพยี งพอแมแ ต การปรนนิบัตติ อพอ แมข องเขาเอง (เมง จื้อ 2ก, 6) อยางไรก็ตาม แมแ มง จอ้ื เหน็ วา ธรรมชาตขิ องมนุษยน ั้นมีธาตุดีตดิ ตัวมาตง้ั แตเดิม แตท า นกย็ อมรับวา นอกจาก ธาตดุ นี แ้ี ลว มนษุ ย ยังมีสัญชาตญาณตดิ ตัวมาดวย และสญั ชาตญาณน้ีหากขาดการควบคมุ แลวอาจอาจนาํ ไปสคู วามเลวได ความเลวจงึ เปนสิง่ ทมี าจากภายนอกสญั ชาตญาณนมี้ นษุ ยม รี วมกันกบั สตั วอื่น และถือเปน ลกั ษณะ “แบบสตั ว” ของชีวิต มนษุ ย จึงไมจัดเปนธรรมชาตทิ แี่ ทจรงิ ของ “มนุษย” ทัศนะของเมงจอื้ ท้ังหมดน้แี ตกตา งจากทศั นะของเกาจอื้ ซึ่งเสนอ ทฤษฎีวา ธรรมชาตขิ องมนุษยน ัน้ เปนส่งิ ทไ่ี มดไี มเ ลว ดังนั้นจริยธรรมจึงเปนบางสิ่งซึ่งเปนของปรุงแตง เพม่ิ เติมมาจาก ภายนอก มคี ําถามอกี วาทําไมมนุษยจ ึงควรพฒั นา “ความรสู ึกท่ดี ี 4 ประการ” ใหเ ตบิ โตเปนคุณธรรมข้ึนมาแทนที่จะปลอ ย ตวั ไปตามสญั ชาตญาณฝายตํา่ เมงจอ้ื ตอบวา ความรสู ึกทัง้ 4 นี้เองท่ีทําใหมนุษยแ ตกตางจากสัตวม นษุ ยจึงควรพฒั นา ความรูสึกท้ัง 4 นี้ใหเต็มทีเ่ พื่อวา มนษุ ยจ ะไดเปน “มนษุ ย” ที่แทจริง เมง จื้อกลาววา “ส่ิงทีม่ นษุ ยแตกตา งจากนกและสัตว มีเพยี งไมก ่ีอยา ง คนสวนใหญทอดทง้ิ ส่ิงเหลานไี้ ป ในขณะท่ีผมู ีปญญารักษาสง่ิ เหลาน้ันไว” (เมงจ้ือ 4ข, 19)

ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy) เมงจอื้ มีความเปนตรงกบั อรสิ โตเตลิ (Aristotle) ในขอที่วา “มนุษยเ ปนสตั วก ารเมือง” (Man is political animal) และมนษุ ยจะสามารถพฒั นาตวั เองไดเ ต็มที่ก็แตใ นรัฐหรือในสงั คมเทา น้ัน รัฐเปนสถาบันทาง ศีลธรรม (Moral Lnstitution) และผปู กครองรัฐ ควรเปนผูนําท่ที รงคุณธรรม (Moral Leader) ดงั น้ันใน ปรัชญาการเมอื งของขงจอ้ื นักปราชญ (Sage) เทาน้ันที่เปน ผปู กครองท่แี ทจริงเมงจอื้ ไดช ใ้ี หเห็นวา อดุ มคตนิ ี้เคยเกดิ ข้ึน มาแลว ในอดีตสมยั เม่ือนกั ปราชญเยา (Yao) ไดเปนพระจักรพรรดิ (ประมาณ 24 ศตวรรษกอ น ค.ศ.) เมอ่ื นักปราชญเยา แกตัวลงไดเ ลือกนักปราชญซนุ (Shun) ใหสบื ทอดตาํ แหนง พระจักรพรรดนิ ้ี และเม่ือนักปราชญซุนแกต วั ลงกไ็ ดเลอื ก นกั ปราชญยู (YU) ใหสบื ทอดตําแหนงพระจกั รพรรดิอกี ดังนัน้ บัลลงั กพ ระจักรพรรดิไดสบื ทอกันมาจากนกั ปราชญหน่ึง ไปยังนกั ปราชญอ ีกคนหน่ึง ซ่ึงเมง จือ้ เห็นวา สิง่ ที่ควรจะเปน ถา ผูปกครองขาดคณุ ธรรมของความเปนผูปกครองขาดคณุ ธรรมของความเปนผูปกครองแลว ประชาชนมสี ทิ ธิอัน ชอบธรรมท่จี ะปฏวิ ตั ิ เพราะการนกั ปกครองไมไดก ระทําตนใหเปนนักปกครองท่ีดีแลว เขากจ็ ะหมดไปจากความเปน นัก ปกครองทนั ที ตามทฤษฎกี ารแกไขช่ือตําแหนง ในปรัชญาขงจ้อื เมงจอ้ื กลาววา “ประชาชนเปนสิ่งท่ีสําคญั ทีส่ ุด (ในรัฐ) ผนื ดนิ และธัญญาหารเปนสิ่งทสี่ องและนกั ปกครองเปน ส่งิ สุดทา ย” (เมงจ้อื 7ข, 14) ความคิดของเมงจอื้ ในเร่ืองนม้ี อี ิทธิพล อยางใหญห ลวงในประวัติศาสตรของจีนแมก ระทั่งการปฏิวตั ใิ นป ค.ศ. 1911 ซึ่งนาํ ไปสูการสถาปนาสาธารณรฐั จนี แมว า แนวความคิดแบบประชาธิปไตยจากตะวนั ตกจะมีบทบาทอยูดว ยก็ตาม แตค วามคิดทีม่ ีอยกู อ นในเรื่อง “สทิ ธิของกา ปฏวิ ตั ”ิ มีอทิ ธพิ ลมากกวา ในหมปู ะชาชนสวนใหญ ตามทัศนะของเมงจ้อื รัฐบาลแบงออกเปน 2 ประเภท คอื (1) รฐั บาลแบบ หวาง (Wang) มกี ษัตริยนกั ปราชญ (Sage – king) เปนผูปกครอง (2) รฐั บาลแบบ ปา (Pa) มีพวกขนุ ศกึ (Military Lord) เปน ผปู กครอง รฐั บาล ของกษตั รยิ นกั ปราชญป ฏิบตั ิภาระหนาท่ีโดยใชก ารสั่งสอนทางจริยธรรมและการศกึ ษาเปนหลัก สว นรัฐบาลของพวกขุน ศกึ จะใชก ําลังและการบังคับ อํานาจของรัฐบาล แบ หวาง เปนอํานาทางศีลธรรม สว นอาํ นาจของรับบาลแบบ ปา เปน อาํ นาจทางการทหารเมงจื้อไดกลาวถงึ เร่ืองนีว้ า “ผทู ี่ใชก าํ ลงั แทนคุณธรรมเปน พวก ปา ผูทีม่ ีคุณธรรมและปฏิบตั ิ มนษุ ยธรรมเปน หวาง ผูทีเ่ อาชนะผูอนื่ ดวยกําลัง คนท้ังหลายจะยินยอมก็เพยี งภายนอกเทาน้ันเพราะเขาไมมกี ําลังพอทีจ่ ะ ตอ ตาน สวนภายในจิตใจนั้นหาไดยนิ ยอมไม สว นผทู ชี่ นะผูอื่นดวยคุณธรรม คนท้ังหลายจะรสู ึกนิยมยนิ ดแี ละจะยนิ ยอม จากสว นลกึ ของหวั ใจ ดังเชน สานุศิษยทงั้ 70 ของขงจือ้ ” (เมง จอื้ 2ก, 3) ในดานเศรษฐกจิ นั้นเนอื่ งจากสังคมจีนในยุคน้นั เปนสงั คมเกษตรกรรม เมง จื้อจึงเนนความเสมอภาคของการ ครอบครองท่ีดินเปนสําคญั ระบบทีด่ ินของเมงจือ้ เปนทีร่ จู ักกันวา “ระบนาบอ” (Well-Field System) ตามระบบนี้ ที่ดนิ ทุก ๆ หนงึ่ ตารางล้ี (ประมาณ 1/3 ของไมล) จะแบงออกเปนทดี่ นิ จัตุรสั 9 สว นเทา ๆ กัน จัตุรสั ตรงกลางเรียงกันวา “นารวม” (Public Field) สําหรบั จัตรุ ัสรอบ ๆ อกี 8 สวน เปนท่ีดินสวนตวั ของชาวนาแตละครอบครวั ๆ ละ 1 สว น ชาวนาแตละครอบครวั จะทํานาของตนเอง และในขณะเดียวกันก็ทํานารว มกัน ผลผลิตท่ไี ดจากท่ีนาของตนจะเกบ็ ไวใ ชเ อง สว นผลผลิตทไี่ ดจากนารวมจะสงไปใหรฐั บาล การแบง ท่ดี ินออกเปนรูปจัตุรสั 9 สว นนคี้ ลายกบั ตัวอกั ษรจีนคําวา “บอ นาํ้ ” # จงึ เรยี กกนั วา “ระบบนาบอ ” นอกจากนกี้ ารจดั ท่ีดินเปน จัตุรัส 9 สวนนี้ มีลกั ษณะคลายกบั รูปบอ นาํ้ สเ่ี หลี่ยม “นารวม” ตรงกลางเปรยี บเหมอื นนา้ํ ซึง่ จะตกั ตวงไปใชใ หเ กดิ ประโยชนต อ สังคมไดอยางไมรูจักหมดสน้ิ

นอกจากนีเ้ มง จ้อื ยงั แนะนาํ ใหแตละครอบครัวปลูกตน หมอนไวรอบ ๆ บา นของตนเพือ่ วา ผูสงู อายุในครอบครวั วจะไดม ีผา ไหมใส และแตล ะครอบครัวควรจะเล้ียงเปด ไกและหมูเพ่ือวา จะไดม เี น้ือไวร ับประทานถา ทําไดด งั นแ้ี ลวทกุ คน จะสามารถ “บาํ รุงเลีย้ งผูท่ีมชี ีวิตอยู ปละฝงศพขอผูที่ถงึ แกก รรมไปโดยไมม คี วามขัดเคอื งใจแมแ ตนอ ย นีเ้ ปนเครื่องหมาย ของการเริ่มตนวถิ ที างของกษตั รยิ นกั ปราชญ” (เมง จอื้ 1ก, 7) เมงจือ้ ไดเ ชอื่ มโยงธรรมชาติของมนุษยเ ขากบั การปกครอง ของกษัตริยนกั ปราชญด ังนี้ “มนายท ุกคนมีจิตใจที่ไมสามารถทน (เหน็ ความทกุ ขยากขอ) ผอู ่ืนได กษตั ริยในคร้ังแรกเรมิ่ ก็ เชนเดยี วกัน จงึ ไดจดั ตง้ั รฐั บาลที่ไมดดู ายตอความทกุ ขย ากของประชาชนขนึ้ ” (เมงจอ้ื 2ก, 6) ในขณะทีข่ งจอื้ ไดสอนหลกั ธรรมของการพัฒนาตนเองนั้นเมงจอื้ ไดขยายแนวความคิดไปสูร ฐั บาลและการเมือง หลกั ของขงจอ้ื นั้นเปนการปฏบิ ัติเพ่อื “ความเปนปราชญภายใน” (Sageliness Within) สว นเมงจ้อื นั้นไดข ยาย หลกั การปฏบิ ัติออกไปเพอื่ “ความเปน กษตั ริยภายนอก” (Kingliness Without) เพิม่ ขน้ึ อกี ดวย แมใ นเรื่อง “ความ ยิง่ ข้ึน โดยกลา ววา “ผทู ่ีพฒั นาจิตใจของตนเองโดยสมบูรณจ ะรจู ักธรรมชาตขิ องตนเอง ผูท่รี ูจักธรรมชาติของตนเองจะ รูจกั สวรรค” (มง จอ้ื 7ก, 1) จิตใจในท่นี ้ีหมายถึง จิตใจท่ีไมส ามารถทนเหน็ ความทกุ ขย ากของคนอ่นื ได หรอื “ความรสู กึ เหน็ อกเหน็ ใจ” น่นั เอง อันนี้เปนธรรมชาตขิ องมนุษยค อื “สิ่งที่สวรรคใหแกเ รามา” (เมง จื้อ 6ก, 15) ดังนั้นเม่ือมนุษยรูจกั ธรรมชาตขิ องตนเองแลว ยอ มจะรูจกั สวรรคด วย มนุษยก ับจักรวาล (Man and Universe) ตามทัศนะของเมง จ้ือ จกั รวาลนี้โดนแกนแทแ ลวจักรวาลท่ีมีระเบียบมเี หตผุ ลมีความถูกตองชอบธรรมอยูในตวั (Moral Universe) ศลี ธรรมจรรยาในหมมู นุษยเ ปนเพียงภาพสะทอ นมาจากจกั รวาลทม่ี ีเหตผุ ลและความชอบธรรมนี้ และธรรมชาติของมนุษยก ม็ าจากธรรมชาตขิ องจกั รวาลเชน เดยี วกัน เม่ือพดู ถงึ “สวรรค” (Hesven) เมงจ้ือหมายถึง จกั รวาลที่ชอบธรรม” (Moral Universe) น้ี ลัการรจู กั และเขา ใจ “จกั รวาลท่ชี อบธรรม” นี้กค็ อื “การรจู ักสวรรค” (Knowing Heaven) น่นั เอง คนทร่ี ูจักสวรรคไ ม เพยี งแตเปนพลเมืองของสงั คมเทาน้ัน แตย ังเปน “พลเมืองของสวรรค” (T’ien Min, Citizen of Heaven) อกี ดว ย มนษุ ยธรม (Human – Heartedness) ความชอบธรรม (Righteousness) ความซื้อสัตยส ุจริต (Loyalty) การมคี วามเชอื่ มน่ั ทีด่ ี (Good faith) แลการปฏิบัตแิ ตส่ิงท่ีดีงามอยา งไมร ูจักเหน็ดเหน่อื ย (Untiring Practice of the Good) เหลานเ้ี ปนเกยี รติยศแหง สวรรค (Honors of Heaven) ในขณะที่ตําแหนงกษัตรยิ ร บั มนตรแี ละขา ราชการเปนเกยี รตยิ ศแหงมนษุ ย (Honors of Man) (เมง จอ้ื 6ก, 16) ผูท่เี ปน “พลเมืองของสวรรค” จะยนิ ดีเฉพาะแต “เกยี รติยศแหง สวรรค” (Honors of Heaven) เทาน้นั ในขณะที่พลเมอื งของสังคมจะยินดีในเกียรตยิ ศของมนุษย เมง จอื้ กลา ววา “ทุกสิง่ ทุกอยา งสมบูรณอยูใ นตวั เรา (All things are complete within us) ไมมีความ ยินดีอันใดจะดีไปกวา การเห็นแจงความจรงิ ขอน้ดี วยการฝกฝนตนเอง และไมม หี นทางของมนุษยธรรมอันใดจะดไี ปกวา การปฏบิ ัติตามหลกั ของสู (Shu)” (เมง จื้อ 7ก, 1) ดว ยการพฒั นาธรรมชาติของตนเองใหเตม็ ท่ี มนษุ ยไ มเ พียงแตจะ สามารถรูจ กั สวรรคเ ทา นนั้ แตย ังสามารถเปน อันหน่ึงอนั เดยี วกับสวรรคอีกดวย เม่ือมนษุ ยพ ัมนาความรูสึกเห็นแกเห็นใจ ใหเตม็ ทก่ี จ็ ะเกิดมนุษยธรรมข้ึนมาภายใน และหนทางของมนุษยธรรมทีด่ ีท่ีสดุ คอื การปฏบิ ตั ิ จงและ สู (Chung and Shu) ดว ยการปฏบิ ัติเชนนี้ ความเห็นแกตวั ของมนุษยก็จะคอย ๆ ลดลง เมอื่ ความเห็นแกตัวของมนุษยลดลงก็จะไมเกิด

การแบง แยกตวั เรากบั ผูอ่นื อีกตอ ไป และกไ็ มเ กิดการแบงแยกระหวา งตวั เรากับจักรวาลดว ย น่ันคือ เราเปนอันหนึง่ อัน เดยี วกับจักรวาลทั้งมวลและเกิดความเห็นแจงวา “ทกุ ส่งิ ทกุ อยางสมบูรณอยใู นตวั เรา” ศีลธรรมทย่ี ิ่งใหญ (Great Morale) “ศลี ธรรมท่ยี ่ิงใหญ” (Hao jan Chin Ch’I, Great Morale) เปนเรื่องคุณคา ที่เหนือระดับจรยิ ธรรม ธรรมดา (Spuper –Moral Value) เปนเรอ่ื งความสมั พันธร ะหวา งมนุษยกับจักรวาล เปน คุณสมบัตขิ องบุคคลที่เขา เปน อันหน่ึงอันเดียวกบั จกั รวาล เปน คุณสมบัติของบคุ คลที่เขา ถงึ ความเปนอันหนึ่งอันเดยี วกับจกั รวาล “ศีลธรรมทีย่ ่ิงใหญ” เปน สิง่ ที่ ปกแผไปท่วั ท้งั สวรรคและโลก” (It pervades all between Heaven and Earth) วิธที จ่ี ะเขาถึง “ศีลธรรมทย่ี ง่ิ ใหญ” มอี ยู 2 ลักษณะดวยกัน ดังน้ี (1) “ความเขาใจแหงเตา” (Tao) (คําวา “เตา แปลวา “ทาง” หรือ “สจั จะ”) คือ หนทาง ซึ่งจะนําไปสกู าร ยกระดบั จติ ใจ (2) “การสะสมความชอบธรรม” (Righteousness) คือการประพฤติปฏิบตั ิแตสง่ิ ทจ่ี ะนาํ ไปสกู ารเปน “พลเมอื งของจกั รวาล” (Citi-Zen of the universe) โดยสมบูรณ ดังนน้ั “ศีลธรรมท่ียงิ่ ใหญ” จึงเปน “ผลรวมของของความชอบธรรมท่ียง่ิ ใหญ” ก็จะคอย ๆ ปรากฏออกมา อยางเปนธรรมชาติจากแกนกลางของชวี ิต ครงั้ หน่งึ สานศุ ิษยคนหน่งึ ถามเมง จอื้ วาทา นชํานาญในเร่ืองอะไรเปนพิเศษ เมงจ้ือตอบวา “ฉนั รูจกั วา คาํ พดู ใดผดิ หรอื ถกู และความสามารถหยง่ั รศู ีลธรรมที่ยิ่งใหญ” สานุศิษยคนนั้นถามวา ศีลธรรมทย่ี ่ิงใหญคือ อะไร เมง จ้อื ตอบวา “ศีลธรรมท่ีย่งิ ใหญทสี่ ุดและมัน่ คงทสี่ ุด ถาหากวามกี ารฝก ฝนอยางจรงิ จังโยไมข าดตก บกพรองแลว มันจะปกแผไ ปทว่ั ท้งั สวรรคและโลก ศีลธรรมทีย่ ง่ิ ใหญน ี้จกั บรรลุถึงไดโ ดยผลรวมของความชอบ ธรรมและเตา หากขากการฝกฝนเหลาน้แี ลว มนั จะคอยออ นตัวลง (เมง จอ้ื 6ข, 2) อยางไรกต็ มพฒั นาธรรมชาติพนื้ ฐานใหเติบโตข้ึนจนเปน ศลี ธรรมทยี่ ิ่งใหญน ้ีตอ งคอยเปนคอ ยไปตามขั้นตอน การฝน บังคับอยางไมถูกตอ งแทนทจี่ ะใหผลดีกลบั ใหผลรายและความลมเหลว ดงั ท่ีเมงจอ้ื ไดย กอุทาหรณใ หฟ งวา “เรา ไมค วรเอาอยา งคนรฐั ซงุ (Sung) มีคนในรฐั ซุงคนหนง่ึ เปน คนใจรอนอยากเหน็ ขาวของตนโตเร็ว ๆ จึงชวยดงึ ตน ขาวให สูงข้ึน เม่ือเขากลับมาถงึ บานไดบอกกับคนที่บานดวยความไมมีประสีประสาวา วันน้ฉี ันเหนอื่ ยทง้ั วนั เพราะไดไ ปชว ยตน ขาวใหโตเร็วขนึ้ ลูกชายเมอ่ื ไดยินดงั น้ันจึงรีบว่ิงออกไปดู ปรากฏวา ตนขา วไดเ หย่ยี วเฉาทัง้ หมด” (เมงจอ้ื 2ก, 2)

แนวความคดิ ของซุนจือ้ (Hsun tzu) ซุนจ้ือ (Hsun tzu) ซนุ จ้ือ (298 -238 กอน ค.ศ.) มีชอื่ เดมิ วา ควง (K’uang) หรอื รูจกั กนั ในอกี ช่ือวา ซนุ ชิง (Hsun Ch’ing) เปนคนพ้ืนเมืองในรฐั เชา (Chao) ซึง่ อยูท างตอนใตของจงั หวัดโฮเปย (Hopei) และจังหวดั ชานสี (Shansi) ใน ปจจุบัน เมอื่ อายไุ ด 50 ป ซนุ จอ้ื ไดเดนิ ทางไปยังรัฐฉี (Ch’i) และทา นอาจเปน นกั เดินทางท่ยี ิ่งใหญคนสดุ ทายแหง สํานกั ชิ เซยี (Chi – Hsia) อันเปน ศุนยก ลางของการศึกษาในเวลนั้น หนังซื้อซุนจอ้ื (The Hsun tzu) มีทัง้ หมด 32 บท เปน งานเขยี นทใ่ี หร ายละเอียดและลําดับเหตผุ ลทางความคิดของซุนจ้อื ซ่ึงบางทีทานอาจเปนผูแตง ข้นึ โดยตรงก็ได ทฤษฎมี นุษยเ ลวมาแตกําเนิด (The evil of Human Nature) ซนุ จื้อมชี อื่ เสยี งจากทฤษฎที ่ีวา “ธรรมชาตขิ องมนุษยเลวมาแตก าํ เนิด” (Human Nature is Originally evil ) หมายความวาธรรมชาติของมนษุ ยนั้นมธี าตุเลวมาแตกําเนิด (Bad Elements) ติดตวั มาแตกําเนิด ตั้งแตเกิดมา เปนมนุษยก ็มีความรสู ึกทีเ่ ห็นแกตัว (Egocentric) มีความอยากกระหาย (Desirous) แสวงหาแตกาํ ไลและความ ไดเปรียบมาสูต ัว (Profit and advantage) มีอารมณท ี่รนุ แรงในการอจิ ฉาริษยาและเกลียดชงั ผูอืน่ (Envy andHatred) เมื่อมองผิวเผนิ แลวอาจจะเห็นวา ซุนจ้อื มองมนุษยในแงท ี่ตาํ่ มาก แตมนุษยก ็ยงั มีความหวงั เพราะซุนจ้ือเชือ่ วา มนษุ ยส ามารถพฒั นาตัวเองใหดีขึ้นมาไดถ ามีความมานะพยายาม ปรชั ญาของซนุ จือ้ จึงอาจเรยี กไดวา เปน “ปรชั ญา วฒั นธรรม” (Philosohy of Culture) เพราะซนุ จ้ือเชือ่ วาทุกสิง่ ทุกอยา งทีด่ ีงามอละมีคุณคานนั้ เกิดจากความพยายาม ของมนุษย สิง่ ท่ดี งี ามและมีคุณคาน้นั ไดมาจากวฒั นธรรม และวัฒนธรรมก็เปนผลผลติ ของมนุษย ดังนนั้ มนุษยจงึ มี ความสําคญั เทียบเทากบั ฟา และดิน ซนุ จอื้ กลาววา ฟา มีฤดูการท้ังส่ี ดินมที รพั ยากรธรรมชาติ มนษุ ยม วี ัฒนธรรม นัน่ คอื ความหมายเมือ่ กลาววามนุษย สามารถทจี่ ะเปนหนึ่งในสาม (Trinity) รว มกัน (กบั ฟา และดิน) (ซนุ จื้อ บท 17) ทฤษฎีของซุนจื้อคอื “ธรรมชาติของมนุษยนัน้ เลว ความดเี กดิ จากการฝก ฝนอบรม” (ซนุ จ้อื บท 23) และตาม ทศั นะของซนุ จอ้ื แลว “ธรรมชาติเปนของด้ังเดิมท่ียังไมไดถกู ตกแตงสง่ิ ทต่ี อ งการคอื การขดั เกลาดวยวฒั นธรรมให กลายเปน ของมคี า ขึ้นมา ถา ไมม ีธรรมชาตแิ ลวก็ไมม ีของสาํ คัญท่ีจะขัดเกลาและถาไมมกี ารขัดเกลาแลวธรรมชาตกิ ็ไมอาจ สวยงามดวยตัวเองได” (ซุนจอ้ื บท 23) แมว า ซนุ จื้อมีความเห็นวาธรรมชาติของมนุษยน ้ันมีธาตเุ ลวติดมาแตเดมิ แตทานก็ยอมรับวา นอกจากธาตุเลวน้ี แลว มนุษยย ังมีสติปญญาอยดู วย และสตปิ ญ ญานีเ่ องทีท่ ําใหม นุษยพัฒนาตนเองใหก ลายเปน คนดีได ตามคําพดู ของซนุ จอื้ “มนษุ ยทุกคนท่ีเดินอยตู ามถนนหนทางมีความสามารถท่ีจะรมู นุษยธรรม ความชอบธรรม การเชื่อฟงกฎหมายและความ ยุตธิ รรม และรถู งึ วิธีในการปฏิบัติหลกั เหลา นด้ี วยกนั ท้ังสน้ิ ดงั นั้นจึงเปนอันเชอ่ื มน่ั ไดวาเขาสามารถจะเปนนักปราชญยู (Yu) ได” (ซุนจอื้ บท 23) ดงั นั้นในขณะที่เมง จ้อื บิกวา มนุษยทุกคนสามารถท่ีจะเปนนักปราชญเ ยา (Yao) หรือ นกั ปราชญซ นุ (Shun) ไดเ พราะเขาดีมาต้ังแตเดิม ซุนจอื้ บอกวามนษุ ยท กุ คนสามารถเปนนักปราชญยู (Yu) ไดเ พราะ เขามสี ติมาแตเดิม

การกําเนดิ ของคณุ ธรรม (Origin of Morality) ถา หากวามนุษยเกิดมาเลวแลว ความดนี นั้ มาจากไหน มนุษยจะกลายเปน คนดีขึ้นมาไดอ ยางไร ซนุ จ้ือเห็นวาทม่ี า ของความดี คือ (1) การที่มนุษยอ ยูรวมกนั ในสงั คม (Social Oranization) ก. รว มมือชวยเหลือซึ่งกันและกนั ทาํ ใหม ีสภาพชวี ติ ทด่ี ีขนึ้ ซุนจือ้ กลาววา “มนษุ ยค นหนึ่ง ๆ นน้ั ตองการความรวมมอื ชว ยเหลือจากบุคคลอนื่ นับเปนจาํ นวนรอ ยเพอื่ ให สิง่ ตาง ๆ สําเร็จลลุ วงไปดว ยดี แตบุคคลธรรมดาก็ไมสามารถเชยี วชาญอะไรมากไปกวา หนึ่งสง่ิ และคน ๆ หนึ่งก็ไมสาม รถท่ีจะทําสองสง่ิ ในเวลาเดียวกนั ได ถา ประชาชนทั้งหลายอยูก ันตามลาํ พังและไมชวยเหลอื ซึง่ กันและกันแลว เขาท้งั หมด ก็จะตกอยใู นความยากจน” (ซุนจือ้ บท 10) ข. เพ่อื ทีจ่ ะเอาชนะสัตวอ ่ืน “ในดา นพละกําลงั นั้นคนมีไมมากเทา กบั ววั ในดา นฝเทาแลวคนก็วิ่งเรว็ สูมา ได แตค นกส็ ามารถนําวัวและมา มาใชสอยได ทาํ ไมจึงเปน เชนนั้น ฉันอยากจะกลาววา เปนเพราะคนมีความสามรถทจ่ี ะรวมตัวกันเปนสังคม ในขณะทีส่ ตั ว ไมสามารถทําเชน นนั้ ได... เมอ่ื รวมตวั กนแลวคนก็มีพละกําลงั ที่มากกวา เมื่อมพี ละกําลงั มากกวาแลวกจ็ ะมีอาํ นาจมากกวา เมือ่ มีอํานาจมากกวาก็สามารถเอาชนะสตั วอ ่ืนได” (ซนุ จ้ือ บท 10) และมนษุ ยจะรวมตัวกนั เปนสังคมทด่ี ไี ด กต็ องมีระเบียบกฎเกณฑทางสงั คมที่เรียกวา หล่ี (Li) นัน่ เอง ซุนจอ้ื ไดพดู ถึงการกําเนิดของหล่ไี วดงั นี้ “หลเ่ี กิดขนึ้ มาแตเม่อื ใด คาํ ตอบกค็ อื มนษุ ยเกดิ มาพรอ มกบั ความอยากกระหาย (Desires) เม่อื ความ อยากระหายงั ไมส มปรารถนา มนุษยไมส ามารถจะหยุดน่ิงไดตองออกแสวงหาเพอื่ บาํ บัดความอยากของตน เมอื่ การแสวงหาส่งิ บําบดั ความอยากของตนกระทาํ ไปโดยไมม ีขอบเขตจํากดั มนุษยก ็เกดิ การทะเลาะวิวาทกนั ขนึ้ เมือ่ เกิดการทะเลาะวิวาทก็เกดิ การวนุ วายปน ปว น เม่ือวุนวายปนปวนทุกส่งิ ทกุ อยางก็จบสิน้ กษัตรยิ ในสมัย แรกเริ่มเกลียดความวุนวายปนปว นน้ีจึงไดต ง้ั หล่ี (กฎเกณฑข องความประพฤติ) และอ้ี (Yi) (ความชอบธรรม) ขน้ึ เพ่ือยุตคิ วามยงุ ยากสับสนเหลา นี้” (ซุนจือ้ บท 19) มนุษยจ ําเปนจะตอ งอยูดวยกนั และการทีจ่ ะอยูรว มกนั โดยไมตอ งแกงแยงทะเลาะกันน้นั จําเปนที่ทุกคนจะตองมี ขอบเขตในการแสวงหาสิง่ บาํ บัดความตองการของตน ขอบเขตอันนน้ั คอื หลี่ เม่ือมหี ลี่ จึงมี ความดีเกดิ ข้ึน เพราะฉะนั้น ใครที่ปฏิบตั ิตาม หลี่ คอื คนดี ใครท่ีไม ปฏิบตั ติ าม หลี่ คือคนไมด ี (2) การท่มี นุษยส ามารถแยกความสมั พันธในสังคม (social Distinctions) เชน ความสมั พนั ธระหวางพอ แมกับลูก สามกี บั ภรรยา พีก่ ับนอง เพ่ือนกับเพื่อน ผูปกครองกบั ผูถกู ปกครอง และสามารถปฏิบัตติ อ กันไดอยางถูกตอ ง เหมาะสมตาม หล่ี ความดีจงึ เกิดข้นึ ในขณะท่ีสตั วไ มสามารถแยกเรื่องนีไ้ ด ซุนจือ้ กลา ววา “มนษุ ยมิไดเปนมนุษยด วยเหตุผลท่ีวาเขามีลกั ษณะเฉพาะคอื มีสองเทา และไมมขี น (ตามรางกาย) แตเ ปนมนษุ ยดว ยเหตผุ ลที่วา เขาสามารถแยกความสัมพันธในสงั คมไดอ อก นกและสตั วม พี อและ ลกู แตไมมคี วามผูกพันระหวา งพอ กับลูก มตี ัวผแู ละตัวเมยี แตไ มมีการแบงแยกทเี่ หมาะสมระหวางตัวผูกบั ตัว เมยี ดงั นน้ั ในวถิ ที างของมนษุ ยจะตอ งมกี ารแยกความสมั พนั ธใ นสังคม ไมม กี ารแยกความสัมพนั ธใ นสงั คมอัน ใดจะยิ่งใหญไ ปกวา หล”ี่ (ซุนจ้อื บท 5)

ความสัมพนั ธทางสงั คม (Social Relationships) ระหวา งพอกับลูก สามีกับภรรยา ฯลฯ เปน ผลผลิตของ วฒั นธรรมและอารยธรรมมิใชเปนส่ิงทเ่ี กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ มนษุ ยควรจะมาสมั พันธท างสังคมและปฏิบัตใิ หถ ูกตอ ง ตาม หล่ี เพราะสิ่งนเี้ ทา นน้ั ทท่ี าํ ใหมนุษยแตกตางจากนกและสตั ว ในปรชั ญาขงจ้อื คาํ วา หล่ี (Li) มีความสามารถกวางบวางมากสามารถแปลไดว า (1) กฎเกณฑของความ ประพฤติทางสังคม (Rules of Social Conduct) (2) พธิ หี รือธรรมเนยี ม (Ceremonies or Rituals) ใน ความหมายแรกนั้น หลี่ เปนกฎขอ บังคับสําหรับมนุษยใ นการแสวงหาส่งิ บาํ บดั ความตอ งการของตนเอง ในความหมายท่ี สอง หลี่ เปนเครื่องขัดเกลาอารมณืของมนุษยใหสะอาดบริสทุ ธ์ิ ทฤษฎีพิธีกรรมและดนตรี (Theory of rites and music) พิธีกรรมทีส่ าํ คัญทส่ี ดุ และปฏบิ ัติกันอยางแพรห ลายในหมูช าวจีนไดแกก ีไ่ วทกุ ข (Mourning) และการบชู า บรรพบรุ ุษ (Ancestor Worship) เมือ่ กระทํากนั อยา งแพรห ลายจงึ เกดิ ความเชือ่ ทางไสยศาสตร (superstition) และเทพนิยาย (Mythology) แฝงตวั อยูดวยไมน อย ซุนจ้ือและสานุศิษยไ ดพ ยายามใหเหตุผลในการตีความหมายใหม ๆ และนําความคิดใหมม าสพู ธิ กี รรมเลานน้ั หนังสอื ที่สําคญั ในปรัชญาขงจอ้ื ทีก่ ลา วถงึ เร่ืองพิธกี รรมมสี องเลม คือ หนังสอื แหง มารยาทละพธิ กี รรม (Yi Li, Book of Etiquette and Ceremonial) ซง่ึ บันทึกข้ันตอนในการประกอบพธิ ีใน สมยั นัน้ และหนังสอื แหงพธิ กี รรม (Li Chi, Book of Rites) ซง่ึ เปนหนงั สอื ท่ีตคี วามพิธกี รรมตาง ๆ เช่ือกันวา เลม หนงั สานศุ ิษยข องซนุ จ้ือชว ยกันแตง ขึน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook