ประวัตผิ ้แู ตง่ สุนทรภู่ มนี ามเดมิ วา่ ภู่ เกิดในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เม่อื วนั ที่ ๒๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๓๒๙ ในวยั เดก็ สุนทรภไู่ ดอ้ าศัยอยกู่ บั มารดาซึ่งถวายตัว เป็นพระนมในพระองค์เจา้ หญงิ จงกล พระธดิ าในกรมพระราชวงั บวรสถานพมิ ขุ และไดร้ บั การศึกษาข้ันตน้ ที่วัดชปี ะขาวซึ่ง ปจั จุบนั คอื วัดศรีสุดาราม
ประวตั ิผ้แู ต่ง ตอ่ มาในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั สนุ ทรภู่ไดเ้ ข้ารบั ราชการและไดแ้ สดงความสามารถด้านการ ประพันธ์ จนเปน็ ทพ่ี อพระราชหฤทัย จงึ ได้รับพระราชทาน บรรดาศกั ดเิ์ ป็นขนุ สุนทรโวหาร แต่เม่อื ส้ินรชั กาล สุนทรภูไ่ ด้ ออกบวชเป็นเวลาร่วม ๒๐ ปี ในระหวา่ งนีส้ ุนทรภูไ่ ดม้ ีโอกาส เดนิ ทางไปยังหวั เมืองต่าง ๆ และแตง่ นริ าศขน้ึ หลายเรอื่ งซง่ึ รวมถึงนริ าศภูเขาทอง
ประวตั ผิ ู้แตง่ เมอ่ื ลาสิกขาบทแลว้ สุนทรภไู่ ดก้ ลบั เขา้ รบั ราชการอกี ครั้ง ในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว โดยเปน็ อาลกั ษณ์ในสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ จุธามณี กรมขุนอศิ - เรศรังสรรค์ ในรชั กาลที่ ๔ สนุ ทรภ่ไู ดร้ ับพระราชทานบรรดาศกั ดิ์เปน็ พระ สนุ ทรโวหาร เจ้ากรมอาลกั ษณ์ ฝา่ ยพระราชวงั บวรสถานมงคล ซึง่ เปน็ ตาแหน่งราชการสดุ ทา้ ยกอ่ นถงึ แกก่ รรมใน พ.ศ. ๒๓๙๘ รวม อายุได้ ๗๐ ปี
ประวัตผิ ้แู ตง่ สนุ ทรภไู่ ด้รบั การยกยอ่ งว่าเปน็ กวที ี่มคี วามสามารถ ในการแต่งกลอน เน่ืองจากกลอนท่สี ุนทรภ่แู ตง่ มีลักษณะเฉพาะ เป็นของตนเอง จึงได้รับความนยิ มอยา่ งกวา้ งขวาง และถอื เป็น แบบอย่าง ท่ีมผี ู้แตง่ ตามตลอดมา นอกจากนี้ผลงานของสุนทรภู่ อกี หลายเร่อื งยงั มกี ารนาไปแปลและดดั แปลง เปน็ การ์ตนู ภาพยนตร์ เพลง และละคร
ประวัติผแู้ ต่ง ใน พ.ศ. ๒๕๒๙ ในโอกาสครบรอบ ๒๐๐ ปีชาตกาล สุนทร ภู่ไดร้ ับการยกยอ่ งจากองคก์ ารการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ วัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรอื ยูเนสโก (UNESCO) ใหเ้ ปน็ บคุ คลทมี่ ผี ลงานดเี ดน่ ของโลกดา้ นวรรณกรรม
ลักษณะคำประพนั ธ์ นริ าศภเู ขาทองแต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทกลอนนริ าศซึ่งมีลักษณะ คลา้ ยกลอนสภุ าพ แตม่ ีความแตกตา่ งกนั ตรงที่กลอนนริ าศจะแต่งข้ึนต้นเรอื่ งดว้ ย กลอนวรรครบั และจะแตง่ ต่อไปอีกโดยไมจ่ ากดั จานวนบท แต่ตอ้ งใหค้ าสุดทา้ ยซึ่ง อยูใ่ นวรรคสง่ จบลงดว้ ยคาวา่ “เอย”
จดุ ประสงค์ในกำรแตง่ นริ ำศภูเขำทอง เพ่ือบอกเล่าการเดินทางของสุนทรภเู่ อง โดยเปน็ การเดินทางจาก วดั ราชบรุ ณะไปนมัสการพระเจดยี ์ภเู ขาทอง ที่จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา สาเหตุ ทีต่ ้องเดินทางไปกราบพระเจดีย์ภเู ขาทองในครั้งนี้ ก็เพอ่ื หาความสบายใจใหแ้ ก่ ตนเอง เนื่องจากไดร้ ับความเดอื ดร้อนใจบางประการ ในขณะทพี่ านักอยู่ที่วัด ราชบรุ ณะ
ที่มำของเรื่อง เป็นวรรณคดปี ระเภทนริ าศ ที่ไดร้ ับการยกย่องวา่ เป็นนริ าศ เรอื่ งทด่ี ที ่สี ดุ ของสนุ ทรภู่ (พ.ศ.2329-2389) ท่านแต่งเมอื่ ครง้ั เดินทาง ไปนมัสการเจดยี ์ ภูเขาทองท่กี รุงเก่า (จังหวดั พระนครศรีอยุธยา) เมอื่ เดือน สบิ เอ็ด ปีชวด (พ.ศ.2371) ขณะบวชเปน็ พระภิกษุ เม่อื อายุ ราว ๔๒ปี
เร่ืองยอ่ สนุ ทรภู่เร่มิ เรื่องดว้ ยการปรารภถึงสาเหตุที่ต้องออกจากวัดราชบรู ณะและ การเดินทางโดยเรอื พร้อมหนูพัดซึง่ เปน็ บตุ รชาย ลอ่ งไปตามลาน้าเจา้ พระยาผา่ น พระบรมมหาราชวงั จนมาถงึ วัดประโคนปกั ผ่านโรงเหล้า บางจาก บางพลู บางพลดั บางโพ บ้านญวน วดั เขมา ตลาดแก้ว ตลาดขวญั บางธรณี เกาะเกร็ด บางพูด บางเดอื่ บางหลวง เชงิ ราก สามโคก บา้ นงว้ิ เกาะใหญ่ราชคราม จนถึงกรงุ เกา่ เมื่อเวลาเย็น โดยจอดเรือพกั ท่ที า่ น้าวัดพระเมรุ คร้ันรุ่งเชา้ จงึ ไปนมสั การเจดียภ์ เู ขาทองสว่ นขากลบั สุนทรภู่กล่าวแต่เพียงว่า เมือ่ ถงึ กรุงเทพฯ ไดจ้ อดเทียบเรือท่ที ่านา้ หนา้ วดั อรุณราชวราราม ราชวรมหาวหิ าร
บทวเิ ครำะห์ คณุ คำ่ ดำ้ นเนอ้ื หำ เนอ้ื หาดังทป่ี รากฏในนริ าศภเู ขาทอง แสดงให้เห็นถงึ ความรอบรู้และความช่างสังเกต ของสนุ ทรภไู่ ดเ้ ป็นอย่างดี เนื่องจากสุนทรภไู่ ดบ้ ันทึกเร่ืองราวและเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ทีต่ นไดพ้ บ เห็นตลอดเส้นทาง ต้ังแต่ออกจากวัดราชบูรณะจนถงึ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ทาใหน้ ิราศเรอ่ื งน้ี มีคณุ ค่าในด้านเน้ือหา ควรคา่ แก่การศกึ ษา
บทวิเครำะห์ คุณค่ำด้ำนเนือ้ หำ 1. สะท้อนวถิ ีชวี ิตและวัฒนธรรม นริ าศภูเขาทองมเี นื้อหาท่แี สดงให้เห็นถงึ สภาพ บ้านเมือง สังคม วฒั นธรรม และวิถชี ีวิตของผ้คู นโดยเฉพาะรมิ ฝง่ั แมน่ า้ เจา้ พระยาในชว่ งสมัย รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้นไดเ้ ป็นอย่างดี 2. ตำนำนสถำนที่ เนอื่ งจากเน้ือหาของนริ าศสว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ การพรรณนา การเดินทาง ดังนน้ั เม่ือกวีลอ่ งเรอื ผา่ นสถานทใี่ ด ก็มกั จะกล่าวถงึ สถานที่นัน้ เชน่ เดยี วกบั สนุ ทรภู่ เม่ือเดนิ ทางผ่านสถานท่ี
บทวเิ ครำะห์ คณุ คำ่ ดำ้ นเน้อื หำ 3. ควำมเชอ่ื ของคนไทย สนุ ทรภ่ไู ดส้ อดแทรกคติความเชอ่ื ของคนไทย ซ่งึ ส่วนใหญ่มักเกีย่ วเนื่องในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเร่อื งนรก-สวรรค์ เชน่ ความเชอื่ ที่วา่ หากใครคบชู้ คือ ประพฤตติ นผิดศลี ข้อ 3 ตามหลกั ศีล 5 เมื่อตายไป ผูน้ ัน้ จะตกนรก และต้องปีนต้นงวิ้ ซงึ่ มหี นามยาวและแหลมคม
บทวิเครำะห์ คุณคำ่ ด้ำนเนือ้ หำ 4. แง่คดิ เก่ียวกบั ควำมจรงิ ของชีวติ บทประพนั ธข์ องสนุ ทรภู่มกั ไดร้ ับการยกยอ่ งอยู่ เสมอมาวา่ มีเน้อื หาท่สี อดแทรกขอ้ คดิ คติการดาเนนิ ชีวติ และชว่ ยยกระดบั จติ ใจของผู้อา่ นให้ ปฏบิ ตั ติ นไปตามแนวทางทเ่ี หมาะสม ดังปรากฏในบทกลอนตอนหนึ่งซง่ึ มีเนอื้ หากล่าวเกี่ยวเนอ่ื ง ถึงเรอื่ ง โลกธรรม ๘ ตามหลกั คาสอนทางพระพุทธศาสนา
บทวิเครำะห์ คุณคำ่ ดำ้ นวรรณศลิ ป์ นิราศภเู ขาทอง นอกจากจะมีคณุ คา่ ด้านเน้ือหาแล้ว ในดา้ นวรรณศลิ ปก์ ไ็ ด้รับการ ยอมรบั วา่ มคี วามงดงามและมีความไพเราะ แม้สนุ ทรภู่จะใช้ถ้อยคาธรรมดาในการประพันธ์ แตว่ ่า มคี วามหมายลึกซึ้ง สะเทือนอารมณ์ และสรา้ งจินตภาพไดอ้ ยา่ งชัดเจน นิราศภูเขาทองจึงมคี ณุ คา่ และความดีเดน่ ในดา้ นวรรณศลิ ป์
บทวเิ ครำะห์ คณุ คำ่ ดำ้ นวรรณศลิ ป์ 1. กำรเลน่ เสียง บทประพันธข์ องสุนทรภู่ ถือไดว้ า่ มีความดีเด่นเรื่อง การเลน่ เสยี ง โดยเฉพาะการเล่นเสยี งสัมผัสภายในวรรค ทงั้ สมั ผัสสระและสัมผสั อักษร ทาให้ กลอนนิราศภเู ขาทองมีความไพเราะเป็นอย่างมาก เชน่ ดูน้ำว่ิงกลง้ิ เชย่ี วเป็นเกลียวกลอก กลับกระฉอกฉำดฉดั ฉวดั เฉวยี น บ้ำงพลุ่งพลุ่งว้งุ วงเหมือนกงเกวยี น ดเู วยี นเวียนคว้ำงควำ้ งเปน็ หวำ่ งวน สัมผัสในวรรค เชน่ วิ่ง – กลงิ้ เชย่ี ว – เกลยี ว ฉอก – ฉาด – ฉดั ฉวดั – เฉวียน เป็นต้น
บทวเิ ครำะห์ คุณคำ่ ด้ำนวรรณศลิ ป์ 2. ควำมเปรยี บลึกซ้งึ กินใจ สนุ ทรภูเ่ ลือกใช้ถ้อยคาเปรียบเปรยที่สรา้ งอารมณ์ สะเทอื นใจใหแ้ กผ่ ้อู า่ น เชน่ เมือ่ เครำะหร์ ำ้ ยกำยเรำกเ็ ท่ำน้ี ไมม่ ที ีพ่ สุธำจะอำศัย ล้วนหนำมเหนบ็ เจบ็ แสบคบั แคบใจ เหมือนนกไรร้ งั เรอ่ ยเู่ อกำ
บทวิเครำะห์ คณุ คำ่ ดำ้ นวรรณศลิ ป์ บทกลอนตอนนม้ี ีเน้ือความแสดงถงึ การครา่ ครวญโศกเศรา้ ซึง่ ตรงกบั รสวรรณคดี ที่เรยี กว่า สัลลาปังคพสิ ยั โดยทาใหเ้ ห็นภาพพจนท์ ี่วา่ คนเรามีรา่ งกายเลก็ มากหากเทยี บกับ พื้นแผ่นดินซง่ึ กว้างใหญ่ แต่เมอ่ื ถึงคราวตกอบั กลับไม่มีพืน้ ทจ่ี ะอาศัย สนุ ทรภยู่ ังใชค้ วามเปรียบแบบ อุปมาโวหาร คอื คาว่า เหมือน โดยเปรียบตนเอง เหมือนกับ นก ท่ตี อ้ ง (บนิ ) รอ่ นเรเ่ รือ่ ยไปตามลาพัง ไม่มีทีอ่ ยอู่ าศยั (รงั ) เป็นหลักแหล่ง
บทวเิ ครำะห์ คุณคำ่ ด้ำนวรรณศลิ ป์ 3. กำรใช้คำเพอื่ สรำ้ งจนิ ตภำพ เป็นการพรรณนาความดว้ ยถอ้ ยคาทเี่ รยี บ ง่ายแตเ่ ห็นภาพชัดเจน เช่น จนแจ่มแจ้งแสงตะวันเหน็ พนั ธุ์ผัก ดนู ำ่ รกั บรรจงส่งเกสร เหลำ่ บัวเผ่ือนแลสลำ้ งริมทำงจร ก้ำมกงุ้ ซ้อนเสยี ดสำหร่ำยใตค้ งคำ
นริ าศภเู ขาทอง มีลกั ษณะการแต่งแบบกลอนนริ าศ จงึ ได้ ปรุงเรือ่ งขน้ึ ตามขนบนิราศ คอื กล่าวถึงการเดินทางและราพงึ ถึงนาง อันเป็นท่ีรกั แตม่ ไิ ด้มีการจากหญิงคนรักจริง เพยี งแต่สมมตขิ ้ึน ตามนสิ ัยกาพยก์ ลอนแตก่ อ่ นมา นอกจากนี้นิราศภูเขาทอง ยังเปี่ยมดว้ ยคุณคา่ ทั้งดา้ นเน้ือหาและวรรณศิลป์จึงควร คา่ แกก่ ารอ่านเป็นอย่างย่ิง
บรรณำนกุ รม ฟองจันทร์ และคณะ. วรรณคดีและวรรณกรรม ม.1 กรงุ เทพมหานคร. บรษิ ทั ไทยร่มเกลา้ จากัด. จุฑาลกั ษณ์ เชิดเหรัญ. (2563). นริ ำศภูเขำทอง ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ี่ 1 วชิ ำภำษำไทย. เข้าถงึ จาก: https://blog.startdee.com/ม-1-ภาษาไทย-นริ าศภเู ขาทอง?fbclid=IwAR01t_ Fuv4A9LEypWQDZtdPYd7l76W3GXa6Q2qVn9NIPwi4OMSIkyld-OI8. [11 สงิ หาคม 2565].
THANK YOU นำงสำวบษุ ยมำส แสงหำญ 631102008121 สำขำวิชำภำษำไทย
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: