Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนิกชนตัวอย่าง (พระเจ้าอโศกมหาราช พระโสณะและพรอุตตระ)

ศาสนิกชนตัวอย่าง (พระเจ้าอโศกมหาราช พระโสณะและพรอุตตระ)

Published by Piyaporn Makanun, 2023-03-25 06:22:53

Description: 1.ทราบถึงบุคคลตัวอย่าง
2.ทราบถึงคุณธรรม พุทธประวัติ

Keywords: ศาสนิกชนตัวอย่าง (พระเจ้าอโศกมหาราช พระโสณะและพรอุตตระ)

Search

Read the Text Version

( พ ร ะ เ จ้า อ โ ศเกรื่ อมงหศา ราาสชนิ กพ ชรนะ โตสั วณอะย่แาลงะ พ ร อุ ต ต ร ะ ) รายวิชาสังรคะมดัศบึกชั้นษมาัธสยารม ะศกึการษดารชัี้ยนนปีรทูี้ส่1ังคมศึกษา นางสาวปิยะภรณ์ เมฆอนันต์ ผู้สอน

พระเจ้าอโศกมหาราช กลุ่มสาระการเรียนรู้ เรื่อง ศาสนิกชนตัวอย่าง (ระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่1) พระโสณะและพระอุตตระ

Pretest

พระเจ้าอโศกมหาราช เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าพินทุสาร กษัตริย์ใน ศาสนิกชนตัวอย่าง พระราชวงศ์โมริยวงศ์ ผู้ครองเมืองปาฏลีบุตรแคว้นมคธ พระเจ้าอโศก มหาราชมีพระภาดาทั้งหมด 111 พระองค์ เฉพาะพระภาดาร่วมพระชนนี พระอโศกมหาราช เดียวกันองค์หนึ่งชื่อ“ติสสกุมาร” ต่อมาเมื่อพระราชบิดาสวรรคตลง พระเจ้าอโศกซึ่งขณะนั้นดำรง ตำแหน่งเป็น อุปราชครองเมืองอุชเชนีแคว้นอวันตี ได้กลับมายังเมือง ปาฏลีบุตร และได้ทรงสำเร็จโทษ พระภาดาต่างพระชนนี้ถึง ๙๙ พระองค์ ยกเว้นติสสกุมาร ซึ่งเป็นพระภาคาร่วมพระอุทรเดียวกัน และต่อมา พระองค์ก็ได้ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ครองเมืองปาฏลีบุตรต่อไป พระเจ้าอโศกจึงมีพระนาม เรียกขานอีกอย่างหนึ่งว่า ทรงมีน้ำพระทัยกว้างขวางและ “จัณฑาโศก\" แปลว่า “อโศก ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา ผู้โหดร้าย\" พุทธประวัติ ทรงเป็นมหาราชในอุดมคติ ต่อมาเมื่อพระองค์หันมา นับถือพระพุทธศาสนาแล้ว และได้ทรง ประกอบกรรม อันเป็นกุศลเป็นอันมาก คุณธรรมที่ควรถือเป็น แบบอย่าง ทรงทำนุบำรุงพระพุทธ ศาสนาเป็นการใหญ่ จึงได้ พระนามใหม่ว่า “ธรรมาโศก” แปลว่า “อโศกผู้ทรงธรรม สาเหตุที่พระเจ้าอโศกทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา มีกล่าวไว้ในคัมภีร์ สมันตปาสาทิกาอรรถกถาพระวินัยปิฎกว่า“วันหนึ่งพระองค์ทอด พระเนตรผ่านสีหบัญชรพระราชนิเวศ ได้ทอดพระเนตร เห็นสามเณรน้อย ทรงมีความรับผิดชอบอย่างยิ่ง รูปหนึ่งนามว่า“นิโครธ” เดินบิณฑบาตด้วยอาการสำรวมผ่านลาน พระราชวัง ทรงเกิดความเอ็นดูเยี่ยงบุตรขึ้นมา ทันที จึงให้คนไปนิมนต์ ทรงเป็นผู้มั่นคงในพระรัตนตรัย และเป็นอุบาสกที่ดี สามเณรรูปนั้นขึ้นมา สนทนา และทรงขอให้สามเณรแสดงธรรม ให้ฟัง สามเณรจึงได้กล่าวพุทธวจนะบทหนึ่งว่า“ความไม่ประมาทเป็นทางไม่ตาย ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนที่ประมาทถึงมีชีวิตอยู่ ก็เปรียบ เสมือนคนตายแล้ว”พระเจ้าอโศกทรงซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่ง จึงกล่าว ปฏิญาณตนเป็นพุทธศาสนิกชนตั้งแต่บัดนั้น

พระเจ้าอโศกมหาราช เฉพาะพระภาดาร่วมพระชนนี เดียวกันองค์หนึ่งชื่อ “ติสสกุมาร” กษัตริย์ในพระราชวงศ์โมริยวงศ์ 1.พระเจ้าอโศกมหาราช เป็นพระ 2.พระเจ้าอโศกมหาราชมีพระ ราชโอรสของพระเจ้าพินทุสาร ภาดาทั้งหมด 101 พระองค์ ผู้ครองเมืองปาฏลีบุตรแคว้นมคธ 3.เมื่อพระราชบิดา พุทธประวัติ 4.พระองค์ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็น สวรรคตลง กษัตริย์ครองเมืองปาฏลีบุตรต่อไป ทรงสำเร็จโทษ พระภาดาต่างพระ ชนนี้ถึง ๙๙ พระองค์ ยกเว้นติส สกุมาร

พระเจ้าอโศกมหาราช “จัณฑาโศก\" แปลว่า 6.เมื่อพระองค์หันมานับถือพระพุทธ “อโศกผู้โหดร้าย\" ศาสนาแล้ว และได้ทรงทำนุบำรุง พระพุทธศาสนาจึงได้นามใหม่ว่า 5.เพราะการสำเร็จโทษนี้ พระเจ้าอโศกจึงมีพระนามเรียกขานว่า “ธรรมาโศก” แปลว่า “อโศกผู้ทรงธรรม” สามเณรน้อยรูปหนึ่งนามว่า “นิโครธ” สามเณรทรงแสดงธรรม 7.สาเหตุที่พระเจ้าอโศกทรง พุ ทธประวัติเลื่ อมใสในพระพุทธศาสนา พระเจ้าอโศกทรงซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่ง จึงกล่าวปฏิญาณตนเป็นพุทธศาสนิกชนตั้งแต่บัดนั้น

เมื่ อทรงหันมาเลื่ อมใสแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราช พระเจ้าอโศกทรงมั่นคงในพระ รัตนตรัยยิ่ง ทรงเอาพระทัยใส่ใน การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ทรงเป็นผู้มั่นคงในพระรัตนตรัย ทรงมีความรับผิดชอบ และเป็นอุบาสกที่ดี อย่างยิ่ง ก่อนจะมา นับถือพระพุทธศาสนา พระเจ้า พระเจ้าอโศกมหาราชเลิกใช้วิธี อโศกนับถือศาสนาอื่น มาก่อน แม้ภาย หลังจะเป็นพุทธศาสนิกชนแล้วพระองค์ก็ รุนแรง แต่ทรงใช้ธรรมะมาเป็นหลัก ยังพระราชทานความ อุปถัมภ์แก่ลัทธิ ในการปกครอง สถาปนาระบบ ศาสนาอื่ นตามสมควร “ธรรมราชา” ทรงมีน้ำพระทัยกว้างขวางและให้ คุณธรรมที่ควรถือ ทรงเป็นมหาราชใน คือ ปกครองประเทศ โดยยึด เสรีภาพในการนับถือศาสนา อุดมคติ ธรรมะ โดยเฉพาะพระพุทธ เป็นแบบอย่าง ธรรมเป็นหลัก สร้างความสงบ สุขแก่พสกนิกรทั่วหน้า นับ ดังที่ ทรงจารึกไว้ในศิลาจารึกหลักที่ ๑๒ ว่า “ให้ประชาชนมั่นคงในศาสนาของตน เพราะความ เป็นมหาราชในอุดมคติที่พระ เจริญ งอกงามในธรรมย่อมมีในศาสนาทั้งปวง ไม่พึงยกย่องลัทธิศาสนาของตนและตำหนิ มหากษัตริย์ในยุคต่อมาจึงถือ ลัทธิศาสนา ของคนอื่น เพราะว่าลัทธิศาสนาของคนอื่นย่อมเป็นสิ่งควรบูชาของพวกเขา ใคร เอาเป็นแบบอย่างเป็นอย่างยิ่ง ก็ตามยกย่อง ลัทธิศาสนาของตนดูหมิ่นลัทธิศาสนาของผู้อื่น มิได้ช่วยให้ลัทธิศาสนาของตนดี ขึ้น แต่กลับ เป็นการทําอันตรายแก่ลัทธิศาสนาของตนหนักลงไปอีก”

พระโสณะและพระอุตตระ เป็นชาวชมพูทวีป มีชีวิตอยู่ในพุทธ ศตวรรษที่ ๓ รัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช ไม่ปรากฏประวัติ ก่อนบวช ปรากฏแต่ว่าเมื่อท่านทั้งสอง อุปสมบทแล้ว เป็นผู้ ศาสนิกชนตัวอย่าง แตกฉานในพระไตรปิฎก โดยเป็นผู้มีส่วนร่วมในการทำสังคายนา พระไตรปิฎก ครั้งที่ 60 และเมื่อเสร็จสิ้นการสังคายนา ก็ได้รับการ แต่งตั้งเป็นธรรมทูตเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ โดย ท่านทั้งสองได้เดินทางมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดน สุวรรณภูมิ พระโสณะและพระอุตตระ ในสมัยนั้นชาวเมืองถูกผีเสื้อสมุทร คุกคาม โดยผีเสื้อสมุทรได้จับทารก พุทธประวัติแรกเกิดในราชสำนักกิน ทำให้เป็นที่ หวาดผวาของประชาชนทั่วไป เมื่อ พระเถระทั้งสองมาถึง ประชาชนก็พา กันถือศัสตราวุธออกมาเพื่อต่อสู้ เพราะเข้าใจว่าท่านทั้งสองเป็นพวก เป็นผู้มีความสามารถในการ ผีเสื้อสมุทรพระโสณะและพระอุตตระ ถ่ายทอดพระธรรม ได้ชี้แจงว่า พวกท่านมิใช่พวกผีเสื้อ สมุทร แต่เป็นสมณศากยบุตรเดิน กุลบุตรในดินแดนสุวรรณภูมิ จำนวน ๓,๕๐๐ คน คุณธรรมที่ควรถือเป็น ทางมาเพื่อประกาศพระพุทธศาสนา และกุลธิดาจำนวน ๑,๕๐๐ คน ได้บวชในพระพุทธ แบบอย่าง ท่านทั้งสองได้ขับไล่ผีเสื้อสมุทรไป ด้วยอิทธานุภาพ ทำให้ประชาชนหาย ศาสนา เป็นจุดเริ่มต้นให้ พระพุทธศาสนาได้หยั่ง หวาดกลัวและหันมาเลื่ อมใสในพระ รากลงลึกในสุวรรณภูมิและเจริญแพร่หลายสืบ เถระทั้งสอง พระเถระทั้งสองได้ ต่อมานับศตวรรษ เพราะ พระโสณะและพระอุต แสดงพระธรรมเทศนาในหัวข้อ เรื่อง“พรหมชาลสูตร”และให้เปล่ง ตระมีคุณูปการแก่ชาว สุวรรณภูมิ และพระพุทธ วาจาถึงไตรสรณคมน์ รวมถึง ศาสนาโดยรวมชาวเมืองจึงมักตั้งชื่อบุตรหลานที่ สมาทานศีล ๕ เกิดภายหลังว่า โสณะบ้าง อุตตระบ้าง เพื่อเป็น อนุสรณ์รำลึกคุณของพระเถระทั้งสอง เป็นสาวกที่ดีของพระพุทธเจ้า เป็นผู้มีขันติธรรมสูงยิ่ง

มีชีวิตอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 3 พระโสณะและพระอุตตระ ปรากฏแต่ว่าเมื่อท่านทั้งสอง รัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช อุปสมบทแล้ว เป็นผู้แตกฉาน ในพระไตรปิฎก 1.พระโสณะและพระอุตตระ 2.ไม่ปรากฏประวัติก่อนบวช เป็นชาวชมพูทวีป ได้รับการแต่งตั้งเป็นธรรมทูตเผยแผ่ เป็นผู้มีส่วนร่วมในการทำ พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ สังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 60 พุ ทธประวัติ3.เมื่อเสร็จสิ้นการสังคายนา ผีเสื้อสมุทรจับทารกแรก เกิดในราชสำนักกิน 4.ในสมัยนั้นชาวเมือง ถูกผีเสื้อสมุทรคุกคาม ท่านทั้งสองได้เดินทางมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทำให้เป็นที่หวาดผวาของ ในดินแดนสุวรรณภูมิ ประชาชนทั่วไป

ประชาชนก็พากันถือศัสตราวุธ พระโสณะและพระอุตตระ ทำให้ประชาชนหายหวาดกลัวและ ออกมาเพื่อต่อสู้ เพราะเข้าใจ หันมาเลื่ อมใสในพระเถระทั้งสอง ว่าท่านทั้งสองเป็นพวกผีเสื้อ สมุทร 5.เมื่อพระเถระทั้งสองมาถึง 6.ท่านทั้งสองได้ขับไล่ผีเสื้อ สมุทรไปด้วยอิทธานุภาพ พระโสณะและพระอุตตระได้ชี้แจง ว่า พวกท่านมิใช่พวกผีเสื้อสมุทร แต่เป็นสมณศากยบุตรเดินทาง มาเพื่อประกาศพระพุทธศาสนา ในหัวข้อเรื่อง“พรหมชาล พุทธประวัติ กุลบุตรจำนวน 3,500 คน สูตร”และให้เปล่งวาจาถึงไตร 8.กุลบุตร/กุลธิดาในดิน สรณคมน์ แดนสุวรรณภูมิได้บวชใน 7.พระเถระทั้งสองได้ พระพุทธศาสนา แสดงพระธรรมเทศนา กุลธิดาจำนวน 1,500 คน สมาทานศีล5

พระโสณะและพระอุตตระ อุตตระ ได้หยั่งรากลงลึกในสุวรรณภูมิ 9.การบวชเป็นจุดเริ่มต้นให้ พระพุทธศาสนา เจริญแพร่หลายสืบต่อมา นับศตวรรษ โสณะ พุทธประวัติ โสณะบ้าง อุตตระบ้าง 10.ชาวเมืองมักตั้งชื่อ บุตรหลานที่เกิดภาย หลังว่า เพื่อเป็นอนุสรณ์รำลึก คุณของพระเถระทั้งสอง

แม้ว่าท่านทั้งสองจะเกิดไม่ทัน พระโสณะและพระอุตตระ ท่านทั้งสองเดินทางจากชมพูทวีป สมัยพุทธกาล แต่เมื่ออุปสมบท มายัง ดินแดนสุวรรณภูมิซึ่งไกลและ ใช้เวลานานมาก ย่อมต้องประสบความ แล้ว ท่านทั้งสองก็ได้ตั้งใจ ยากลำบากต่างๆ มากมาย แต่ท่านทั้ง ปฏิบัติธรรม สองก็ไม่ย่อท้อ 1.เป็นสาวกที่ดีของพระพุทธเจ้า 2.เป็นผู้มีขันติธรรมสูงยิ่ง ศึกษาพระไตรปิฎกจนแตกฉาน มี ด้วยเห็นแก่ประโยชน์ของ ความรู้ความสามารถในการ พระพุทธศาสนา จึงอดทนต่อสู้ เผยแผ่พระพุทธศาสนา ความทุกข์ ความเหนื่อยยาก ชาวสุวรรณภูมิกำลังตกอยู่ ทำให้ชาวเมืองเข้าใจและเกิด ในความเกรงกลัวผีเสื้อ ความเลื่อมใส ถึงกับออกบวชเป็น สมุทร ท่านทั้งสองจึงได้ใช้ ภิกษุ ภิกษุณี คุณธรรมที่ควรถืออิทธิฤทธิ์ขับหไนลี่ผไปีเสื้อสมุทรให้3.เป็นผู้มีความสามารถ 3.เป็นผู้มีความสามารถ ในการถ่ายทอดพระธรรม ในการถ่ายทอดพระธรรม เป็นแบบอย่าง (ต่อ) จากนั้นท่านทั้งสองได้นำพรหมชาลสูตร จึงแสดงว่าท่านทั้งสองมี ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับความเห็นผิดมาแสดง ความรู้ความสามารถและ กลวิธีในการถ่ายทอดพระ ทำให้ชาวสุวรรณภูมิเห็น ธรรมได้เป็นอย่างดี

Posttest