Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มโครงงานใบเตยนิทานหน้าเดียว

รูปเล่มโครงงานใบเตยนิทานหน้าเดียว

Description: รูปเล่มโครงงานใบเตยนิทานหน้าเดียว1

Search

Read the Text Version

โครงงาน เร่ืองใบเตยพืชพน้ื บา้ นสวู่ รรณกรรมนิทานหน้าเดยี ว โครงงานน้ีเปน็ สว่ นหน่งึ ในการพัฒนากจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ เพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของนักเรียนโรงเรียนวดั บางขนุ นนท์ สานกั งานเขตบางกอกนอ้ ย กรุงเทพมหานคร

โครงงาน เร่อื งใบเตยพืชพ้ืนบ้านสู่วรรณกรรมนิทานหน้าเดียว คณะผู้จดั ทา 1.เดก็ หญิงศิรพิ ร ดสี ุข ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 2.เด็กชายณฐั วฒั น์ ขอมเมืองปกั ษ์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 3.เดก็ ชายอนิวตั รปู คมุ้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 4.เด็กชายนพคณุ เฟอ่ื งขจร ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 5.เดก็ ชายนิวัตร เพ่มิ สกลุ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 6.เดก็ พุฒชาติ เปีย่ มเอม ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 7.เด็กชายนา้ โตนน้าขาว ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 8.เดก็ หญงิ แจมอามอย ลูมอร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 9.เดก็ ชายทรรศพร ทกั ษป์ ระดิษฐ์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 10.เดก็ ชายปาลวัฒน์ แกว้ สรุ าษฎ์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 11.เดก็ หญงิ สรุ างคณา รูปเหมาะ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 12.เดก็ ชายไกรวชิ ญ์ พจน์หรรษา ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 13.เดก็ หญิงสรุ ยี ์รตั น์ สามภิ กั ด์ิ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 14.เด็กชายวรภพ แยม้ นม่ิ นวล ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 15. เดก็ ชายสุรศักดิ์ กสิวทิ ย์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 16. เดก็ ชายภตู ะวนั พิทกั ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 17. เดก็ ชายศภุ วชิ ญ์ กจู่ า่ น ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 18. เดก็ ชายพชร ไชยเพช็ ร ชน้ั อนบุ าล 2 19. เดก็ หญงิ จิราวรรณ์ เครือพานชิ ชน้ั อนบุ าล 2 20. เดก็ ชายเสกสรร ประจนั ทะศรี ช้นั อนบุ าล 1 21. เด็กหญงิ ณัฐธดิ า วาจาสตั ย์ ชั้นอนบุ าล 1 1. นางรชั นกี ร แปลนนาค ครทู ปี่ รกึ ษา 2. นางสาวสุธาสินี รอดสีเสน ตาแหนง่ ครู รบั เงนิ เดอื นอันดบั ครู คศ.2 ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย โครงงานนีเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ในการพฒั นากจิ กรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ เพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของนกั เรียนโรงเรยี นวดั บางขนุ นนท์ สานักงานเขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพมหานคร

ก บทคัดย่อ โครงงาน เร่อื ง ใบเตยพืชพ้ืนบ้านสู่วรรณกรรมนทิ านหนา้ เดียว ประเภทโครงงาน สารวจ บทคดั ยอ่ โครงงาน เรือ่ งใบเตยพืชพ้นื บา้ นสู่วรรณกรรมนทิ านหนา้ เดียว มีวัตถุประสงค์ของการจัดทา ดงั น้ี 1) เพอ่ื ศึกษาขอ้ มลู ทั่วไปของใบเตยพืชในท้องถน่ิ 2) เพื่อพัฒนาทักษะด้านสติปัญญา(Head) ในการนาข้อมูลของใบเตยมาสร้างผลงานการเขียนนิทานหน้า เดียว จากศกึ ษาข้อมูลต่างๆเก่ียวกับใบเตย นกั เรียนโรงเรียนวดั บางขุนนนท์ กลมุ่ ที่ 2 ได้จดั ทา โครงงาน เรื่องใบเตยพืชพนื้ บา้ นสู่วรรณกรรมนิทานหน้าเดยี ว โดยบรู ณาการ ตามขั้นตอน คือ เลือกเร่ืองที่ นา่ สนใจ เตรียมไปหาแหล่งความรู้ เข้าสู่การวางแผนก่อน ทาตามขั้นตอนอย่างสนุกสนาน เขียนรายงาน อย่างมั่นใจ นาเสนองานได้เหมาะสม ผลคือนักเรียนโรงเรียนวัดบางขุนนนท์ กลุ่มท่ี 2 ได้โครงงาน เรื่อง ใบเตยพืชพน้ื บ้านสู่วรรณกรรมนทิ านหนา้ เดียว โดยเกิดผลคือ ความร้เู ก่ียวกบั ใบเตย ไดแ้ ก่ 1) ชนิดของใบเตยจาแนกตามการใช้งานได้ 2 ชนิดคือ 1) ใบเตยสาหรับทาขนม จะใช้ใบเตยหอม ซงึ่ มลี ักษณะใบเล็กสีเขียวอ่อน เมอ่ื นามาขย้ีจะมีกล่ินหอม 2) ใบเตยสาหรับไหว้พระ ใบจะมีลักษณะใบยาว และใหญ่ สเี ขียวเข้ม เมอื่ ขยี้ใบจะมกี ลน่ิ เหมน็ เขียว 2) สรรพคณุ ของใบเตย เกยี่ วกับการดูแลสุขภาพ ได้แก่ 1) ช่วยบารุงสมอง 2) ช่วยบารุงหัวใจ 3) ชว่ ยขบั ปัสสาวะ 4) ชว่ ยรักษาโรคหดั 5) ชว่ ยบรรเทาอาการปวดจากโรคข้อ 6) ช่วยรักษารังแคบนศีรษะ 7) ย้อมผมดา 8) ช่วยบารุงผิวพรรณ 3) การแปรรูปใบเตย ใบเตยสามารถนาไปแปรรูปได้ทั้งของใช้และของกิน ซ่ึงใบเตยท่ีนิยมนามา แปรรูปเปน็ ของกนิ จะใชใ้ บเตยหอม ผลติ ภณั ฑ์ทไ่ี ด้จากการแปรรปู เป็นของกินได้แก่ ขนมชั้นใบเตย ขนมเค้ก ใบเตย ขนมบวั ลอยใบเตย ฯลฯใบเตยสาหรับไหว้พระ หรือเรียกว่าเตยหนู นามาทาผลิตภัณฑ์ของใช้ ได้แก่ จดั แจกนั ไหว้พระ ทาพวงมาลยั กระเชา้ พวงมาลยั มะกรูด ถุงหอมอโรมา ฯลฯ 4) การขยายพันธุ์ใบเตย การขยายพันธุ์ใบเตยมหี ลายวิธี 1) การปลูกตามบ้านเรือนทั่วไป คัดเลือก ตน้ อ่อนที่จะมาปลกู โดยต้นอ่อนทสี่ มบูรณ์ จะมีรากออกอยู่ด้านล่างของต้นอ่อนไม่ต่ากว่า 3 รากนาต้นอ่อน มาปลูกลงดินแล้วรดน้าอย่างสม่าเสมอ หรือนาท่อนพันธ์ุของเตยปลูกบริเวณท่ีมีแหล่งน้า 2) การปลูกเชิง ธรุ กิจมขี ั้นตอนดังน้ี ขุดหลุมขนาดกว้างประมาณ 5×5 เซนติเมตร ลึกประมาณ 6 เซนติเมตร จากนั้นนาปุ๋ย คอกลงกน้ หลุม แลว้ นาท่อนพนั ธ์ใุ บเตยลงไป กลบดินทับ รดนา้ ให้ชุ่มช้นื การนาขอ้ มลู จากใบเตยมาจัดทาชิน้ งานได้แก่ นิทานหน้าเดยี ว การ์ดสวิง ป๊อปอัพ ปฏิทิน นิทานนาเสนอผลงานโดยนาผลการดาเนินการมาแสดงให้ผูอ้ ืน่ ได้ทราบ

ข กิตตกิ รรมประกาศ รายงงานโครงงาน เรื่อง ใบเตยพืชพ้ืนบ้านสู่วรรณกรรมนิทานหน้าเดียว ฉบับน้ีสามารถดาเนินการ สาเร็จลุลว่ ง ตามวัตถุประสงค์ได้ คณะผู้จัดทาโครงงานบูรณาการ ต้องขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการประภัสสร มณีมาศ ท่ีช่วย เอ้ือเฟื้อสถานที่ในการค้นคว้า และขอขอบคุณ คุณครูรัชนีกร แปลนนาค เป็นอย่างสูงท่ีได้กรุณาให้ความ ช่วยเหลือ คาปรึกษา คาแนะนา ตรวจสอบรายงานและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ของรายงานโครงงานและ ขอขอบคณุ ท่านท่ีไม่ไดก้ ล่าวนามทง้ั หมดไว้ ณ ทนี่ ี้ ท้ายสุดนี้ คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครองทุกท่าน ที่ให้การ สนบั สนนุ ในทุก ๆ ดา้ นมาโดยตลอดจนโครงงาน ใบเตยพชื พ้ืนบ้านสู่วรรณกรรมนิทานหน้าเดียว สาเร็จลุล่วง ไปดว้ ยดี คณะผู้จัดทา

สารบัญ หนา้ ค เรอ่ื ง ก บทคดั ยอ่ ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารและแหลง่ ความรู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง บทที่ 3 วธิ ีดาเนินการตามโครงการ บทที่ 4 ผลการศึกษาข้อมลู บทที่ 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก - แผน่ พับ - ใบความคดิ เหน็ /คาแนะนาของครทู ปี่ รกึ ษา - แบบบนั ทกึ ผลการปฏิบตั งิ าน - ใบประเมนิ ของผู้สอน - ใบประเมนิ ของผู้ปกครอง - ใบประเมนิ ของกลมุ่ เพือ่ น - ใบประเมนิ ตนเอง - แผน่ CD รูปภาพการเรียนการสอนและการจดั กจิ กรรม

บทท่ี 1 บทนา ความเปน็ มาของโครงงาน จากการเรียนในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ เป็นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีเน้นผู้เรียนลงมือปฏิบัติ คิดวิเคราะห์ ทางานเป็นทีม เผชิญประสบการณ์ตรง เรียนรู้ด้วยตนเอง และได้ค้นพบศักยภาพของตนเอง โดยกิจกรรมเพ่ิมเวลารู้เน้น เป้าหมายการพฒั นา 4H ประกอบด้วย การพฒั นาสมอง (Head) การพฒั นาจิตใจ (Heart) การพัฒนาทักษะ การปฏิบตั ิ (Hand) และการพฒั นาสขุ ภาพ (Health) เชื่อมโยงกบั การพฒั นาทกั ษะการเรียนร้สู าหรับศตวรรษ ท่ี 21 และพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ เป็นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning ) เป็นการเรียนรู้ที่จัดประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทางานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี ประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา วิธีการหาความรู้ความจริงอย่างมีเหตุผล ได้ทาการทดลอง ไดพ้ ิสูจน์ส่งิ ตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง รู้จักการวางแผนการทางาน ฝึกการเป็นผู้นา ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนา กระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดขั้นสูง และการประเมินตนเอง โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้นเพ่ือนาความสนใจที่ เกดิ จากตวั ผู้เรียนมาใช้ในการทากิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวเอง นาไปสู่การเพ่ิมความรู้ท่ีได้จากการลง มือปฏบิ ตั ิ การฟงั และการสังเกตจากผู้รู้ โดยผ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม ที่จะนามาสู่การสรุปความรู้ ใหม่ มีการเขยี นกระบวนการจัดทาโครงงานและได้ผลการจัดกิจกรรมเป็นผลงานแบบรูปธรรม ดังนั้น กลมุ่ ของพวกเราจงึ มีความสนใจในการนาพืชท่ีพบเห็นได้ง่ายในท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนรู้ใน การทาโครงงานเชิงสารวจ โดยผ่านกระบวนการศึกษาค้นคว้าข้อมูลท่ัวไปของพืชในท้องถ่ินที่สนใจ ได้แก่ ชนดิ สรรพคณุ การแปรรูป การขยายพันธ์ุ แล้วนามาสรา้ งสรรรค์การถ่ายทอดเรื่องราวจากการค้นคว้าข้อมูล มาสร้างสรรค์นวัตกรรมงานเขียนนิทานหน้าเดียว ทาให้กลุ่มของข้าพเจ้าเกิดความสนใจในการทาโครงงาน ศึกษาใบเตยในทอ้ งถิ่นสูน่ วัตกรรมงานเขียนนทิ านหนา้ เดยี วนีข้ ้นึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดทา 1. เพือ่ ศึกษาข้อมูลทว่ั ไปของใบเตยพืชในท้องถ่ิน 2. เพ่ือพัฒนาทกั ษะดา้ นสติปญั ญา(Head) ในการนาขอ้ มลู ของใบเตยมาสรา้ งผลงานการเขยี นนิทาน หนา้ เดยี ว

บทที่ 2 เอกสารและแหลง่ ความรู้ทีเ่ กี่ยวข้อง เอกสารทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 1. ขอ้ มูลเก่ยี วกับตน้ เตย (อ้างอิงขอ้ มูลจากเว็บไซด์ : https://goodlifeupdate.com) 1.1 ชนิดของใบเตย ใบเตย หรอื เรียกวา่ เป็นสมนุ ไพรไทยทม่ี าแต่โบราณ เปน็ ไมย้ ืนต้น มีทรงพุ่มขนาดเล็กข้ึนเป็นกอ ลา ตน้ เป็นเหงา้ อยใู่ ต้ดิน มขี ้อสั้นๆโผล่จากดินเล็กน้อย จะถูกห่อหุ้มไปด้วยกาบใบโดยรอบๆ มีสีเขียว ใบเป็นใบ เด่ียว ออกเรียงสลบั เวียนจนถงึ ปลายยอด มลี ักษณะยาวรี ใบเป็นทางยาว มีเส้นกลางชัด ขอบใบเรียบ ใบแข็ง เรียบเป็นมัน มีสีเขียว มีกล่ินหอม ใช้ทาเคร่ืองดื่มต่างๆ และนามาใช้ผสมอาหาร แต่งกลิ่น เพ่ิมสีอาหารเมนู ต่างๆ ได้หลายเมนู ในประเทศไทยมีปลูกหลายสายพันธ์ุ แต่ที่นิยมปลูกมี 2 สายพันธ์ุ คือ ใบเตยหอม และ ใบเตยสาหรับไหวพ้ ระ ลักษณะของใบเตยหอม (Pandan Leaves) เป็นสมุนไพรไทยที่มาแต่โบราณ ที่เป็นท่ีรู้จักกันดี เป็นไม้ยืนต้น มีทรงพุ่มขนาดเล็กข้ึนเป็นกอ ลาต้นเป็นเหง้าอยู่ใต้ดิน มีข้อส้ันๆโผล่จากดินเล็กน้อย จะถูก หอ่ หมุ้ ไปดว้ ยกาบใบโดยรอบๆ มีสีเขียว ใบเป็นใบเด่ียว ออกเรียงสลับเวียนจนถึงปลายยอด มีลักษณะยาวรี ใบเป็นทางยาว มีเส้นกลางชัด ขอบใบเรียบ ใบแข็งเรียบเป็นมัน มีสีเขียว มีกล่ินหอม มีถ่ินกาเนิดในทวีป เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และในประเทศอินเดีย ใชท้ าเคร่ืองดื่มต่างๆ และนามาใชผ้ สมอาหาร แต่งกล่ิน เพ่ิมสี อาหารเมนูตา่ งๆ ไดห้ ลายเมนู

ลกั ษณะของใบเตยสาหรบั ไหว้พระ ใช้จัดแจกันดอกไม้ หรือมัดการวมกับดอกไมไ้ หว้พระ เรยี กว่า \"เตยหน\"ู ลกั ษณะใบจะมีสเี ขม้ ใบจะมขี นาดเล็กกว่า ลาต้นสน้ั ขยี้แลว้ กลนิ่ จะไมห่ อมมากออกจะเหมน็ 1.2 สรรพคุณของตน้ เตย (อา้ งอิงข้อมูลจากเว็บไซด์ : https://www.honestdocs.co) 8 คุณประโยชน์จากตน้ เตย 1. ชว่ ยบารุงสมอง ประสาท ทาให้สดชน่ื และแก้อาการออ่ นเพลยี นาใบเตยสดมาต้ม ดืม่ วันละ 2 เวลา เช้าและกลางวัน แนะนาวา่ ควรดื่มน้าใบเตยเยน็ ๆ และไม่ควรใสน่ ้าตาลมากเกนิ ไป 2. ชว่ ยบารงุ หวั ใจ และลดความดันโลหิตเตยหอมเป็นสมนุ ไพรทีเ่ หมาะสาหรบั ผูป้ ่วยโรคความดนั โลหิตสงู เพราะมีสรรพคุณชว่ ยบารงุ หวั ใจและหลอดเลือด รวมท้งั ช่วยปรับระดับความดันโลหิตใหอ้ ยู่ในระดับ ปกติได้ ดว้ ยการนาใบสดมาตม้ น้า ดืม่ วนั ละ 2 เวลา เชา้ และเย็น 3. ชว่ ยขับปัสสาวะและรกั ษาโรคเบาหวาน นาตน้ และรากปริมาณ 1 กามอื มาต้มนา้ ดมื่ ทุกวนั วนั ละ 2 เวลาเช้าและเยน็ ช่วยขบั ปัสสาวะและรักษาโรคเบาหวานได้ 4. ชว่ ยรักษาโรคหดั นาใบเตยสดมาตาให้พอหยาบ นามาพอกผวิ หนงั ในส่วนทเี่ ปน็ โรคหัดและโรค ผิวหนงั อ่ืนๆ จะช่วยล้างพิษ เชอื้ โรค และไวรัสทอี่ ยบู่ นผิวหนงั ได้ 5 . ช่วยบรรเทาอาการปวดจากโรคขอ้ นาใบเตยสด 3 ใบ มาล้างใหส้ ะอาด สับให้ละเอยี ดแล้วนามา ผสมกับน้ามันมะพร้าว คนใหเ้ ขา้ กนั แล้วเทเกบ็ ลงในขวด หรือภาชนะที่มีฝาปดิ มิดชดิ นามาทาบริเวณขอ้ ท่ี ปวดจะชว่ ยบรรเทาอาการปวดได้ 6. ช่วยรกั ษารงั แคบนหนงั ศรี ษะ นาใบเตยสดจานวน 2 - 5 ใบ มาบดใหล้ ะเอยี ดจนมลี กั ษณะคล้าย ผงแปง้ แล้วนามานวดศีรษะเป็นประจา จะชว่ ยลดรังแคบนหนังศีรษะได้

7. ยอ้ มผมดา ถงึ จะนยิ มนาใบเตยไปผสมอาหารให้เปน็ สีเขยี ว แต่เราสามารถนาใบเตยมายอ้ มผมให้ ดาเงางามได้ โดยใช้ใบสดจานวนหนงึ่ มาตม้ จนเปน็ สเี ขยี วเข้ม จากน้ันนามาผสมกับน้าลกู ยอตม้ แล้วนามา หมกั ผมกจ็ ะช่วยให้ผมกลับมาดาเงางามได้ 8. ชว่ ยบารุงผิวพรรณ ใบเตยมีสารทางยาท่ชี ่วยรักษาโรคผิวหนงั ได้ จึงสามารถนาใบสดมาปน่ั และ พอกผิวเพื่อบารุงผิวใหส้ ดใสได้เชน่ เดียวกัน

1.3 การแปรรปู ของเตย การแปรรปู หมายถึง การนาวัตถุดิบมาผ่านกระบวนการทท่ี าให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงคุณลกั ษณะของ วัตถุดิบไปแลว้ หรือนาไปผสมที่ผสมกบั ส่วนผสมอ่ืน ๆ หรอื หมายถงึ อาหารสดท่ีแปรรูป ทาใหแ้ ห้ง หรือหมกั ดอง หรือในรปู อ่นื ๆ รวมทง้ั ท่ีใชส้ ารปรงุ แต่งอาหาร ผลิตภณั ฑใ์ บเตยแปรรูปเปน็ ของใช้

ผลติ ภณั ฑใ์ บเตยแปรรปู เปน็ ของกนิ

1.4 การขยายพันธุ์ (อ้างอิงขอ้ มลู จากเว็บไซด์ : https://www.kasetorganic.com/ https://www.facebook.com/) เม่ืออายุได้ 1 ปี จะเรมิ่ แตกหน่อหรอื ต้นออ่ นข้นึ ตามข้อปลอ้ งตรงดา้ นล่างข้อปลอ้ งทต่ี ้นอ่อนงอกจะมรี ากแทง ออกมา ข้ันตอนการเตรยี มแปลงและการปลกู 1. ต้องไปคัดเลอื กตน้ ออ่ นทจ่ี ะมาปลกู (การคัดเลือกตอ้ งคดั ต้นออ่ นทส่ี มบูรณ์ มีรากออกอยู่ต้านลา่ ง ของต้นอ่อนไม่ตา่ กวา่ 3 ราก เม่อื คัดไดแ้ ล้วใหม้ าเตรียมแปลงปลกู 2. พ้นื ท่จี ะปลูกเตยหอมพันธพ์ุ นื้ เมือง 4 ตน้ 4 หลมุ จะใชพ้ ืน้ ท่ี กวา้ ง 1 เมตร ยาว 1.50 เมตร 3. ดินท่ีจะปลกู เตยหอมโตเร็วควรจะเปน็ ดินเหนียวผสมกับดินร่วนซุย เพราะเตยหอมเปน็ พชื ที่ ตอ้ งการนา้ มาก ชอบความชืน้ แฉะดนิ เหนยี วเปน็ ดินทีอ่ ุ้มนา้ ไดด้ ี 4. ขดุ หลุมทง้ั 4 หลมุ กวา้ ง 30 ซม. ยาว 30 ซม.ลึก 30 ซม.ใหห้ า่ งจากขอบดา้ นกว้าง 30 ซม. ทั้ง 4 หลุม 5. นาปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก (ถ้าไม่มีปุย๋ หมักใหใ้ ชป้ ุ๋ยคอกท่แี ห้ง) มาผสมกับดินที่ขดุ ข้นึ จากหลุม หลุม ละ 2 กก. ผสมให้เข้ากันแล้วกวาดลงหลมุ แตง่ หลุมใช้มือกดให้ตา่ กว่าปากหลมุ ประมาณ 5 ซม. เสร็จแล้วรด น้าให้ชุม่ ช้นื 6 . นามดี ท่ีมคี วามคมไปเฉอื นข้อปล้องต้นออ่ น ระวังจะเฉือนถกู รากดา้ นล่าง (ต้นอ่อนของเตยหอมที่ จะนามาปลูกต้องมีความสูงจากโคนตน้ ถงึ ยอดใบไมต่ า่ กวา่ 30 ซม.) 7. เมอ่ื ได้ตน้ เตยออ่ นท้ัง 4 ตน้ ตามที่ต้องการ ก่อนท่จี ะนาปลกู ลงหลุม ถา้ รากเตยอ่อนยาวเกินไปให้ ใช้กรรไกรตัดออกใหเ้ หลือ 7—10 ซม. 8. ให้ใช้เสียมเจาะกลางหลมุ แตล่ ะหลุมให้ลึก 10 ซม. 9. วิธีปลูก ให้ปลูกในลกั ษณะเอียง 45 องศา หนั ปลายตน้ ออ่ นออกทางด้านขอบความกว้าง ตน้ และ รากจะหันเขา้ ในแปลง รากจะนอนราบอยา่ ใหร้ ากขก่ี นั ใชด้ ินกลบตรงโคนต้นออ่ นใช้มดื กดใหแ้ น่น ส่วนตรง รากทีน่ อนราบให้ใชด้ ินกลบหลวมๆ 10. ให้ทาคันคูรอบแปลงทงั้ 4 ดา้ นสูงประมาณ 5 ซม. เพอ่ื ก้ันนา้ ท่ีเรารดจะไหลหนี 11 ใช้เศษใบไมแ้ ห้งหรือฟางคลุมปากหลุมและคลุมแปลงใหท้ ั่ว ใช้ปยุ หมกั หรือปยุ๋ คอกหวา่ นบางๆ ลงตรงช่องว่างระหวา่ งต้น รดนา้ ให้ช้ืน 2. ขอ้ มูลวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง 2.1 ผลของการเสริมใบเตยหอมในอาหารแม่ไกไ่ ขต่ ่อสมรรถภาพการให้ผลผลติ ไข่และคณุ ภาพ ไขภ่ ายในโรงเรือนระบบปดิ และโรงเรือนระบบเปดิ บทคดั ยอ่ ผลการทดลองพบว่า แม่ไกท่ เ่ี ล้ยี งในโรงเรอื นระบบปิดมอี ัตราการเลีย้ งรอด ปริมาณอาหารท่ีกนิ อตั ราการใหไ้ ข่ น้าหนักไข่เฉลี่ย และความหนาเปลอื กไข่มากกวา่ แม่ไก่ท่เี ลี้ยงในโรงเรือนระบบเปดิ ขณะทแ่ี ม่ ไกท่ ไ่ี ด้รับอาหารเสรมิ ใบเตยหอมมอี ตั ราการใหไ้ ข่สูงกวา่ และปริมาณอาหารท่กี นิ มีแนวโนม้ สูงกว่าแม่ไกท่ ี่ ได้รับอาหารทไี่ มเ่ สริมใบเตยหอม จากผลการทดลองนแ้ี สดงใหเ้ หน็ ว่าการเสรมิ ใบเตยหอม 5 กรัมต่อตัวต่อวนั ในอาหารแมไ่ ก่ไข่ที่เล้ียงในโรงเรอื นระบบเปิดทาให้แม่ไก่มอี ัตราการใหไ้ ข่ดีขน้ึ 11.07 % เมอ่ื เทยี บกบั แม่ไก่ ทเ่ี ลย้ี งโดยใชอ้ าหารกลุ่มควบคมุ และความแตกต่างมมี ีนยั สาคญั ทางสถิติ จากอตั ราการใหไ้ ขข่ องแมท่ เี่ ล้ียงใน โรงเรอื นระบบปดิ

2.2 การศกึ ษาผลของการเสริมใบเตยหอมในสตู รอาหารตอ่ คณุ ภาพสมรรถภาพการใหผ้ ลผลติ และการลดกล่ินคาวไข่ ( อ้างองิ จาก สชุ าติ สงวนพนั ธุ์ อรทัย ไตรวฒุ านนท์ อรรถวุฒิ พลายบุญ และสกุ ญั ญา รัตนทบั ทิมทอง. 2545) บทคัดยอ่ จากการทดลองเสรมิ ใบเตยแหง้ ท่ีระดับ 0, 2, 4 และ 6% พบว่าสมรรถภาพทางการผลติ ของไกท่ ่ไี ดร้ บั สูตรอาหารเสรมิ ใบเตยแห้งที่ระดบั 6 % ดีขึน้ ปรมิ าณอาหารที่กินเฉล่ียลดลงไปพร้อมๆกับการ เพ่ิมข้ึนของน้าหนักไข่ต่อฟองและ%ไข่ ซึ่งไก่ท่ีได้รับสูตรอาหารเสริมใบเตย 0, 2, 4 และ 6% มีค่าเฉล่ีย นา้ หนักไข/่ ฟอง/สตู รอาหาร เท่ากับ 60.43, 60.43, 59.26 และ 61.29 กรัม ตามลาดับ ระดับใบเตยใน สูตรอาหารไม่มีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงค่าความถ่วงจาเพาะและความสูงไข่ขาวตรงกันข้ามกับการเสริมใบเตย ท่รี ะดบั 6 %พบว่ามผี ลเพม่ิ สีของไข่แดง ลดอตั ราการสูญเสียน้าหนักไข่ และมีค่าเฉลย่ี %ไข่สงู สุดขนึ้ 5 % รปู แสดงการเปรียบเทียบสีไขแ่ ดงทเี่ สริมใบเตยในระดบั 6% กับระดบั การเสริมใบเตย 0% ระดับ 6 % ระดับ 0 % 2.3 นา้ ใบเตย ควบคุมระดบั นา้ ตาลในเลอื ดผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน ( อ้างอิงจาก ยุพิน ละอองศรี หน่วยงาน รพ.สต.บ้านศรีสว่าง อ.โพนทราย จ.ร้อยเอด็ ) บทคัดยอ่ จากการศึกษา พบว่า ก่อนด่ืมน้าใบเตย ผู้ป่วยเบาหวานมีระดับน้าตาลสีเขียวแก่ (น้อยกว่า 125 mg/dl) จานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 9.09 ระดบั นา้ ตาลสเี หลือง (125-154 mg/dl) จานวน 27 คน คิด เป็นร้อยละ 84.85 ระดับน้าตาลสีส้ม (155-182 mg/dl) จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.03 ระดับ นา้ ตาลสแี ดง (มากกว่าหรือเทา่ กบั 183 mg/dl) จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.03 และหลังดื่มน้าใบเตย ผู้ป่วยเบาหวานมีระดับน้าตาลสีเขียวแก่ (น้อยกว่า 125 mg/dl) จานวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 87.87 ระดบั นา้ ตาลสเี หลอื ง (125-154 mg/dl)จานวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.13 2.4 การพฒั นาผลิตภณั ฑ์ขนมเปยี กปูนใบเตยเสริมน้าใบย่านาง ( อ้างองิ จาก เอกพล ออ่ นน้อมพันธุ์* ปวิตรา ภาสรุ กุล นิลุบล ประเคนแสง จารุณี วเิ ทศ และ ไพรนิ ทร์ บญุ ญสริ สิ กุล โรงเรยี นการเรอื น มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต) บทคดั ยอ่ การวจิ ยั คร้งั นมี้ ีวตั ถุประสงค์ เพอื่ พัฒนาตารับขนมเปียกปนู ใบเตย และศกึ ษาคณุ ภาพทางเคมี คุณภาพทางประสาทสัมผสั และคุณค่าทางโภชนาการของผลติ ภณั ฑ์ ทดลองสูตรพ้ืนฐาน 3 ตารบั ทดสอบ ยอมรับสตู รท่ีดที ี่สุดจากผูช้ ิม และนามาศกึ ษาปริมาณท่ีเหมาะสมของใบยา่ นางลงในขนมเปียกปนู ใบเตย โดยใชน้ า้ ใบเตยผสมน้าใบย่านางในอตั ราส่วน 50:50, 25:75 และ 0:100 และนาไปประเมนิ คณุ ภาพ

ทางประสาทสัมผสั ในด้านลักษณะทป่ี รากฏ สี กลิน่ รสชาติ ความนุม่ และความชอบโดยรวม ผ้ชู มิ จานวน 100 คน วิธีการชมิ แบบให้คะแนนความชอบ 9 ระดับ จากการศึกษาขนมเปยี กปนู ใบเตยเสริมน้าใบยา่ นาง พบวา่ ผู้ชิมให้การยอมรับในอตั ราส่วนท่ี 25:75 โดยมีความชอบโดยรวมท่ี 7.29 ± 0.832 การประเมินคุณค่าทางโภชนาการของขนมเปียกปูน ใบเตยเสริมใบยา่ นาง 25:75 ในปริมาณ 100 กรัม จะให้พลังงาน 142 กิโลแคลอรี่ โปรตนี 1.32 กรัม คาร์โบไฮเดรต 34.12 กรัม ไขมัน 0.08 กรัม เส้นใย 0.25 กรัม เบต้าแคโรทีน 22 ไมโครกรัม ( μg) ความชน้ื 64.33 กรัม และเถ้า 0.15 กรัม มตี น้ ทนุ ในการผลติ ถกู ลง จานวน 0.72 บาทต่อหน่ึงหน่วยบริโภค เมือ่ เทยี บกบั สูตรมาตรฐานเดมิ

บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การตามโครงงาน จากการจัดทาโครงงานบูรณาการเร่ืองใบเตยพืชพื้นบ้านสู่วรรณกรรมนิทานหน้าเดียวซึ่งมีผลต่อ เนอ่ื งมาจากการศึกษาเกี่ยวกบั ใบเตยซง่ึ เป็นพชื พืชบ้านซ่งึ ปลูกไดง้ ่าย โดยดาเนินการตามขั้นตอนดังน้ี ขน้ั ท่ี 1 เลือกเรือ่ งท่ีนา่ สนใจ เม่ือกล่มุ คณะผ้จู ัดทาไดศ้ ึกษาเก่ยี วกบั ใบเตยจึงคดิ จะศึกษาเพื่อให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น ได้ รว่ มใจกนั เลอื กท่จี ะทาโครงงานเรอ่ื งใบเตยพชื พ้นื บ้านสวู่ รรณกรรมนทิ านหน้าเดยี ว ขน้ั ท่ี 2 เตรียมไปหาแหลง่ ความรู้ ได้ไปเตรียมการหาแหล่งการเรียนรู้ ซ่ึงคุณครูจัดไว้ให้ส่วนหนึ่ง และจัดหาเอง นอกเหนอื จากท่ีคณุ ครไู วใ้ ห้อีก เช่น การสบื คน้ ข้อมลู จากอินเทอรเ์ นต็ ถามจากผู้รู้ในทอ้ งถิ่น ข้ันท่ี 3 เข้าสู่การวางแผนกอ่ น พวกเราได้คดิ จะร่างเค้าโครงของโครงงานน้ี โดยกาหนดกันว่าจะทาอย่างไรก่อนหลัง จะ ศึกษาเร่อื งอน่ื ๆ ให้ครบกอ่ น แลว้ จงึ จะช่วยกันรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างให้ครบถ้วนสมบูรณ์ แล้วนามา เขยี นเค้าโครงของโครงงาน เค้าโครงของโครงงาน 1. ช่ือโครงงาน เร่อื ง ใบเตยพชื พ้ืนบา้ นสูว่ รรณกรรมนิทานหน้าเดียว 2. คณะผู้จัดทา ประกอบดว้ ยนกั เรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 และนักเรียนระดบั อนบุ าล 1- 2 จานวน 21 คน 3. ท่ีปรึกษาโครงงาน ครูรัชนกี ร แปลนนาค และ ครูสธุ าสนิ ี รอดสีเสน 4. ระยะเวลาในการจดั ทาโครงงาน 1 ตลุ าคม 2562 - 30 พฤศจกิ ายน 2562 5. เหตผุ ลในการจัดทาโครงงาน 1. เพ่ือฝึกทักษะกระบวนการหาความรจู้ ากประสบการณต์ รงผ่านโครงงาน และร้จู กั การวาง แผนการทางาน การประเมนิ ตนเองจากผลงาน 6. วัตถุประสงค์ในการจัดทาโครงงาน 1. เพือ่ ศกึ ษาขอ้ มูลทว่ั ไปของใบเตยพชื ในท้องถ่ิน 2.เพอ่ื พัฒนาทักษะดา้ นสตปิ ัญญา(Head) ในการนาขอ้ มลู ของใบเตยมาสร้างผลงานการเขียน นิทานหน้าเดยี ว 7. ขนั้ ตอนในการจดั ทาโครงงาน ขั้นท่ี 1 เลอื กเรอื่ งทนี่ ่าสนใจ ขั้นที่ 2 เตรยี มไปหาแหลง่ ความรู้ ขน้ั ที่ 3 เข้าสกู่ ารวางแผนก่อน ข้นั ท่ี 4 ทาตามขนั้ ตอนอย่างสนุกสนาน ข้ันท่ี 5 เขยี นรายงานอย่างม่นั ใจ ขน้ั ท่ี 6 นาเสนองานไดเ้ หมาะสม

8. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั 1. ขอ้ มูลเกี่ยวกับใบเตย ได้แก่ ชนิดของใบเตย สรรพคณุ ของใบเตย การนาใบเตยมาแปรรูป และ การขยายพันธุ์ตน้ เตย 2. ได้วรรณกรรมนิทานหนา้ เดยี วเกย่ี วกับใบเตย 4 เรื่อง 3. ขั้นตอนการหาความรู้ในรูปแบบของการทาโครงงาน 9. เอกสารและแหล่งความรู้ที่ใชใ้ นการศึกษา 1) อินเทอร์เน็ต 2) ผ้รู ู้ในชุมชน 3) หอ้ งสมุด ข้ันที่ 4 ทาตามขนั้ ตอนอย่างสนุกสนาน คณะผจู้ ัดทาได้ดาเนนิ การตามข้นั ตอนที่ไดก้ าหนดไว้ โดยไปศึกษาจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ และได้ เลือกศกึ ษาตามความสนใจ ดังนี้ 1. ศกึ ษาจากอนิ เทอร์เน็ต 2. ศึกษาจากผู้รู้คุณครรู ัชนกี ร แปลนนาค คุณครูสธุ าสนิ ี รอดสีเสน เม่ือศึกษาแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ พร้อมท้ังได้จดบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับใบเตย ได้จัดทาชิ้นงานเช่น นิทานหน้าเดียว การ์ดสวิง ปอ๊ ปอัพ ปฏทิ นิ นทิ าน พรอ้ มทง้ั ได้แบง่ งานกันไปค้นหา หรือจัดทาผลงานแล้ว จงึ นามาประเมินผลและรวบรวมไวเ้ พ่อื สรปุ ผล ขัน้ ท่ี 5 เขียนรายงานอย่างม่นั ใจ เมื่อทาการสรุปผลการทาโครงงานใบเตยพืชพื้นบ้านสู่นิทานหน้าเดียว จึงนาข้อมูลน้ันมา เขียนรายงานผลการดาเนินงานโครงงานอย่างมั่นใจ โดยแบ่งออกเป็น 5 บท คือ นาเอกสารและแหล่ง ความร้ทู ่ีเกยี่ วข้อง วิธดี าเนนิ การตามโครงงาน ผลการศกึ ษาขอ้ มลู สรุปและข้อเสนอแนะ ขัน้ ท่ี 6 นาเสนองานได้เหมาะสม เมื่อเขียนรายงานแล้วได้นาเสนอผลงานโดยนาผลการดาเนินการมาแสดงให้ผู้อ่ืนได้ทราบ ไดน้ าชิน้ งานของกลุม่ มาแสดงเปน็ แผนภูมิโครงงาน ได้รับความสนใจเป็นอยา่ งย่ิง

บทที่ 4 ผลการศกึ ษาขอ้ มูล ผลจากการศึกษา ตาราง แสดงข้อมลู ทั่วไปของใบเตยพืชในทอ้ งถน่ิ ประเภท สรรพคณุ การแปรรูป การขยายพันธ์ุ 1.ใบเตยหอม 2. ใบเตยไหว้พระ เหมือนกับเตยหอม เหมือนกับเตยหอม

ผลงานการเขยี นนิทานหนา้ เดยี ว จากการศึกษาใบเตยพชื ในท้องถ่นิ



บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลการจดั ทาโครงงาน การจัดทาโครงงานใบเตยพืชพื้นบ้านสู่วรรณกรรมนทิ านหน้าเดยี วไดเ้ รม่ิ จากการศกึ ษาข้อมูลตาม ขนั้ ตอน คือ 1) เลอื กเรื่องที่นา่ สนใจ 2) เตรียมไปหาแหล่งความรู้ 3) เข้าส่กู ารวางแผนกอ่ น 4) ทาตามข้นั ตอนอยา่ งสนุกสนาน 5) เขยี นรายงานอยา่ งมัน่ ใจ 6) นาเสนองานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยเกิดผลคอื ความรเู้ กีย่ วกับใบเตย ไดแ้ ก่ 1) ชนิดของใบเตยจาแนกตามการใชง้ านได้ 2 ชนิดคอื 1) ใบเตยสาหรับทาขนม จะใช้ใบเตยหอมซงึ่ มลี ักษณะใบเลก็ สเี ขียวอ่อน เม่ือนามาขย้ีจะมีกล่นิ หอม 2) ใบเตยสาหรับไหวพ้ ระ ใบจะมลี กั ษณะใบยาวและใหญ่ สเี ขียวเข้ม เมือ่ ขย้ีใบจะมีกล่นิ เหม็นเขยี ว 2) สรรพคณุ ของใบเตย เกีย่ วกบั การดแู ลสุขภาพ ได้แก่ 1) ช่วยบารุงสมอง 2) ชว่ ยบารุงหวั ใจ 3) ช่วยขบั ปัสสาวะ 4) ช่วยรกั ษาโรคหัด 5) ชว่ ยบรรเทาอาการปวดจากโรคข้อ 6) ชว่ ยรกั ษารังแคบนศีรษะ 7) ย้อมผมดา 8) ช่วยบารงุ ผิวพรรณ 3) การแปรรปู ใบเตย ใบเตยสามารถนาไปแปรรูปไดท้ งั้ ของใช้และของกนิ ซึง่ ใบเตยท่ีนยิ มนามาแปรรูปเป็น ของกนิ จะใชใ้ บเตยหอม ผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากการแปรรูปเป็นของกนิ ไดแ้ ก่ ขนมชน้ั ใบเตย ขนมเค้กใบเตย ขนมบัวลอยใบเตย ฯลฯ ใบเตยสาหรบั ไหว้พระ หรือเรียกว่าเตยหนู นามาทาผลติ ภัณฑ์ของใช้ ได้แก่ จัดแจกันไหวพ้ ระ ทา พวงมาลยั กระเช้า พวงมาลยั มะกรดู ถุงหอมอโรมา ฯลฯ 4) การขยายพนั ธ์ใุ บเตย การขยายพนั ธ์ุใบเตยมีหลายวธิ ี 1) การปลกู ตามบ้านเรือนทวั่ ไป คัดเลือกต้นออ่ นทจ่ี ะมาปลกู โดยต้นอ่อนท่สี มบรู ณ์ จะมีรากออกอยู่ ดา้ นลา่ งของต้นออ่ นไม่ต่ากวา่ 3 รากนาต้นอ่อนมาปลูกลงดนิ แลว้ รดนา้ อย่างสม่าเสมอ หรือนาท่อนพันธ์ุของ เตยปลกู บริเวณท่ีมแี หลง่ นา้ 2) การปลกู เชิงธุรกจิ มีขั้นตอนดังน้ี ขุดหลุมขนาดกว้างประมาณ 5×5 เซนตเิ มตร ลกึ ประมาณ 6 เซนติเมตร จากนัน้ นาป๋ยุ คอกลงก้นหลมุ แล้วนาท่อนพนั ธ์ุใบเตยลงไป กลบดินทับ รดน้าใหช้ ุ่มช้นื

ผลที่ได้รับจากการทาโครงงาน จากการทาโครงงานใบเตยพืชพ้นื บา้ นสู่วรรณกรรมนทิ านหน้าเดยี ว ในกจิ กรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้แลว้ คณะผู้จัดทายังได้รับประโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้ 1.ไดค้ วามรู้เก่ียวกบั ข้ันตอนการเขียนนทิ านหนา้ เดียว 2. ได้ความร้แู ละมีทักษะเกีย่ วกับการทาผลิตภัณฑ์ตา่ งๆจากใบเตย เชน่ สบู่เหลวใบเตย สบู่ ใบเตย เทยี นหอมใบเตย และถุงหอมใบเตย 3.ไดร้ บั ความรู้และสามารถทาอาหารหวานทีใ่ ช้ใบเตยในการแปรรูปได้แก่ บัวลอยใบเตย สังขยาใบเตย ข้าวเหนยี วแกว้ ใบเตย และนา้ ใบเตย 4.ได้รับความร้เู กี่ยวกบั การนาใบเตยมาทาพวงมาลยั การทาถุงหอมใบเตย การทากระทง ใบเตย ลกู มะกรดู ใบเตย ข้อเสนอแนะ ผลจากการจัดทาโครงงานใบเตยพืชพ้นื บา้ นสู่วรรณกรรมนทิ านหน้าเดยี วสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างมากมาย เช่น 1.การเขียนนิทานโดยใช้พืชชนดิ อื่นเป็นหวั ขอ้ เรอื่ ง 2.การแปรรูปพชื ชนิดอน่ื ๆโดยใชใ้ บเตยเป็นตน้ แบบในการศึกษาคน้ ควา้

บรรณานุกรม การขยายพนั ธุข์ องเตย https://www.kasetorganic.com การปลกู เตยหอมพชื พน้ื บ้าน https://www.facebook.com/ ชนดิ ของใบเตย https://goodlifeupdate.com สรรพคุณของใบเตย https://www.honestdocs.co ยพุ ิน ละอองศรี นา้ ใบเตย ควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลือดผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน สชุ าติ สงวนพนั ธ์ุ อรทยั ไตรวุฒานนท์ อรรถวฒุ ิ พลายบุญ และสุกัญญา รตั นทบั ทมิ ทอง. การศึกษาผลการใชใ้ บเตยหอมในสตู รอาหารตอ่ คณุ ภาพ สมรรถภาพการใหผ้ ลผลติ และการลดกล่นิ คาวไข่ กรงุ เทพฯ. 2545 เอกพล อ่อนนอ้ มพนั ธุ์ และคณะ การพัฒนาผลติ ภัณฑ์ขนมเปี ยกปูนใบเตยเสริมนา้ ใบย่านาง

ภาคผนวก ขน้ั ตอนในการจัดทาโครงงาน ขัน้ ที่ 1 เลือกเร่อื งท่นี ่าสนใจ ขั้นที่ 2 เตรียมไปหาแหล่งความรู้ ขน้ั ท่ี 3 เขา้ สกู่ ารวางแผนก่อน

ข้นั ท่ี 4 ทาตามขั้นตอนอยา่ งสนกุ สนาน

ข้นั ท่ี 5 เขยี นรายงานอยา่ งม่นั ใจ

ข้นั ที่ 6 นาเสนองานได้เหมาะสม

การทาโครงงานต้องทาอย่างไร ขั้นตอนการจดั ทาโครงงาน : การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงาน ซงึ่ ไดน้ ามาประยุกต์ให้เหมาะสม กับเน้ือหาวิชา วุฒิภาวะ ของนักเรยี น และสภาพแวดลอ้ มทโ่ี รงเรียน จึงสามารถกาหนดข้ันตอนการจัดทาโครงงานได้ 6 ขน้ั ตอน ดังนี้ ขน้ั ตอนท่ี 1 เลอื กเร่อื งที่นา่ สนใจ : ข้ันตอนแรกนี้ผ้เู รียนจะตอ้ งเลอื กเรอ่ื งทเี่ ขาสนใจ โดยครจู ะตอ้ งเป็นผกู้ ระตนุ้ หรือจัดกจิ กรรมเรา้ ใหผ้ ู้เรยี นคิดเรื่องทีจ่ ะทา ดว้ ยความพอใจ หัวข้อของโครงงานอาจได้มาจากปญั หา คาถาม หรอื ความอยากรู้ อยากเหน็ ในเรอื่ งตา่ ง ๆ ของผู้เรียน ซง่ึ เป็นผลไดม้ าจากการไดอ้ ่านหนังสอื การฟังการบรรยาย การทัศนศกึ ษา การไดพ้ บเห็นสง่ิ ตา่ ง ๆในชีวิตประจาวัน หัวข้อโครงงาน ควรเปน็ เร่ืองท่ีเฉพาะเจาะจงและชัดเจนวา่ ทาอะไร ควรเนน้ เรอื่ งท่ีอยู่ใกล้ตวั และเกิดประโยชน์ ขน้ั ตอนที่ 2 เตรียมไปหาแหล่งเรยี นรู้ : ในขน้ั นผี้ สู้ อนจะต้องจัดเตรยี มหรอื ชแ้ี นะแหล่งความรู้ตา่ ง ๆ ท่ีผู้เรียนจะต้องใช้ค้นคว้าหาคาตอบจากเรื่องท่ีเขาสนใจและ สงสยั อาจเปน็ ประเภทเอกสาร ผรู้ หู้ รือผู้เชี่ยวชาญ สอ่ื ประเภทโสตทัศน์ วสั ดุ อุปกรณ์ ต่าง ๆ ทหี่ ลากหลาย ผ้เู รยี น จะต้องได้รบั รวู้ า่ มีแหล่งความรใู้ ดบา้ ง ไดม้ องเหน็ ชอ่ งทางท่จี ะใช้แหลง่ ความรนู้ ้ัน ๆ อยา่ งไรบา้ ง และสามารถกาหนด แนวทางกว้าง ๆ ได้ว่าจะทาอะไร ทาอยา่ งไร ใชท้ รพั ยากรอะไร เพอื่ อะไร ฯลฯ ขั้นตอนท่ี 3 เขา้ สู่การวางแผนกอ่ น : เมอื่ ผเู้ รยี นได้กาหนดแนวทางกว้าง ๆแล้ว จะตอ้ งนาแนวทางนั้นมาวางแผนในการทางานว่าจะทาอะไรก่อนหลง้ โดยการ สร้างแผนท่คี วามคิด แล้วนามาจดั ทาเค้าโครงของโครงงาน กาหนดเปน็ หัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ ชื่อโครงงาน ช่ือผูจ้ ดั ทา โครงงาน ชอ่ื ทป่ี รกึ ษาโครงงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน เหตุผลท่ีจัดทาโครงานวัตถุประสงค์ของการจัดทา ข้ันตอนการ ดาเนนิ งาน ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั และแหล่งความรู้ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ขั้นตอนที่ 4 ทาตามขนั้ ตอนอยา่ งสนุกสนาน : ข้ันตอนน้ีผเู้ รียนจะตอ้ งดาเนินการตามขน้ั ตอนท่ีวางไว้ โดยอยู่ในความดแู ลและแนะนาของครผู ู้สอน โดยผูเ้ รยี นจะตอ้ ง ปฏบิ ตั งิ านด้วยความรอบคอบ มกี ารจดบนั ทึกข้อมลู ต่าง ๆ ไวเ้ ป็นระยะว่าทาอะไร ทาอย่างไร ได้ผลอย่างไร เมือ่ มปี ัญหา หรืออุปสรรคได้แก้ไขอยา่ งไร ผู้เรียนควรฝึกทักษะจากกิจกรรม และแหล่งความรทู้ ่ีหลากหลาย ตามความสนใจ เกดิ การ เรยี นร้ตู ามลาดับขัน้ โดยการปฏิบตั จิ ริงด้วยตนเอง ไดส้ นกุ เพลิดเพลินกับการทางาน ได้ทางานอย่างมคี วามสุข เกิดความ ภมู ใิ จในผลงานท่ีปรากฎ และสามารถนาความรนู้ ้ันไปใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม ขน้ั ตอนที่ 5 เขียนรายงานอยา่ งมัน่ ใจ : การดาเนนิ การตามขัน้ ตอนนี้ เปน็ การสรปุ การรายงานผลจากการปฏิบัตงิ านที่ผ่านมา เพ่ือให้ผ้อู ่ืนได้ทราบแนวคิด วธิ ี ดาเนินงาน ผลท่ไี ด้รับ และขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวกบั โครงงานการเขยี นรายงานควรใช้ภาษาท่เี ข้าใจง่าย กระชับ ชดั เจน และครอบคลมุ ประเดน็ สาคัญ ๆ อาจกาหนดเปน็ หวั ข้อต่าง ๆหรอื รายบท ไดด้ งั นี้ บทนา เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง การ ดาเนินการศกึ ษา ผลการศึกษา สรุป และขอ้ เสนอแนะ รวมท้ังภาคผนวกทต่ี ้องการนาเสนอในรายละเอียดดว้ ย ขั้นตอนที่ 6 นาเสนองานไดอ้ ย่างเหมาะสม : นบั เปน็ ข้ัตอนสดุ ท้ายของการจดั ทาโครงงาน เป็นการนาผลการดาเนินงานทั้งหมดมาเสนอใหผ้ ูอ้ ่นื ได้ทราบ โดยเนน้ ความคดิ ริเร่ิม สรา้ งสรรค์ ความรับผิดชอบ อาจมีลกั ษณะเป็นเอกสาร รายงานชิน้ งาน แบบจาลอง ฯลฯ ซ่ึงสามารถ นาเสนอในรปู แบบที่หลากหลาย เช่น การจดั นิทรรศการ การแสดง การสาธิต การบรรยาย การจัดทาส่ือส่ิงพมิ พ์ การ จัดทาสอ่ื มัลตมิ ีเดยี ฯลฯ

แผนภมู ิการจดั การเรยี นรู้การจดั กิจกรรมแบบ Active Learning ตามนโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้” ด้วยกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน(Project – Based Learning) เรอื่ ง พืชในทอ้ งถิ่น ทม่ี าและ การพฒั นากิจกรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ เพ่อื การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 โดยพฒั นาการจดั กิจกรรมเพมิ่ เวลารู้ ความสาคัญ ใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มแี นวทางในการจัดกจิ กรรมโดยยดึ 7 หลักการสาคญั ได้แก่ 1. การเช่อื มโยงมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ดั ตามหลักสตู ร 2. เน้นการพัฒนา 4H (Head พฒั นาสมอง การคดิ วเิ คราะห์ Heart พฒั นาจิตใจ Hand พัฒนาทักษะการปฏบิ ตั ิ และ Health พฒั นาสุขภาพ) 3. กิจกรรมทจี่ ัดให้นักเรยี นได้เรียนรอู้ ย่างมคี วามสุข ตอบสนองความสนใจ และความถนดั 4. เปิดโอกาสให้นกั เรียนไดว้ างแผนเกดิ ทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู 5. มกี ารทางานเป็นทมี ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั มคี วามสามัคคี และเรียนรคู้ วามเปน็ ผนู้ าผ้ตู ามท่ีดี 6. มีการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ และการใชเ้ ทคโนโลยี 7. ประเมินผลตามสภาพจรงิ เนน้ การประเมินการปฏิบัตแิ ละคุณลกั ษณะ แนวคดิ -การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active learning -การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ -กจิ กรรมลดเวลาเรียน / เพ่ิมเวลาร้(ู 4H) -การเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning) วธิ ีการ 1.การจดั กิจกรรมแบบ Active Learning โดยผา่ นการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project- Based Learning) ตามนโยบาย“ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลา รู้” 2.ศึกษาความคิดเหน็ ของนกั เรยี นท่ีมีตอ่ รปู แบบการเรียนรทู้ ี่แบบ Active Learning โดยใช้ โครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning)ที่บูรณาการแหล่งเรียนรขู้ องพชื ในทอ้ งถิน่ ผลความสาเรจ็ 1.การพฒั นา 4 H (Head, Heart ,Hand, Health) 2.ความคิดเห็นของนักเรยี นทีม่ ีต่อรูปแบบการเรยี นร้ทู แ่ี บบ Active Learning โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning) ท่ีบรู ณาการแหล่งเรยี นรขู้ องพชื ในทอ้ งถิ่น การพฒั นาสตปิ ญั ญา การพัฒนาจติ ใจ การพัฒนาทักษะการ พฒั นาสขุ ภาพ (Head) (Heart) ปฏบิ ัติ ทกั ษะชวี ติ (Hand) (Health) โครงงานศึกษาใบเตยพืชใน โครงงานปลูกฝังจติ ใจท่ีดี โครงงานสรา้ งงานสรา้ ง โครงงานใส่ใจสขุ ภาพ ท้องถ่นิ สู่นวัตกรรมงาน งามด้วยประดิษฐด์ อกไม้ อาชีพด้วยการแปรรูป จากผลิตภณั ฑจ์ าก เขียนนิทานหน้าเดียว จากใบเตย อาหารจากใบเตย ใบเตย