โครงงาน เรอื่ ง ปลกู ฝังจิตใจทดี่ ีงามดว้ ยดอกไมจ้ ากใบเตย โครงงานน้ีเป็นสว่ นหน่งึ ในการพัฒนากจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ เพอ่ื การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนกั เรียนโรงเรยี นวดั บางขนุ นนท์ สานกั งานเขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพมหานคร
โครงงาน เร่อื ง ปลกู ฝงั จติ ใจทดี่ ีงามดว้ ยดอกไมจ้ ากใบเตย 1. เดก็ หญงิ กรปณต คณะผ้จู ดั ทา ชน้ั ป.6 เลขท่ี 8 2. เดก็ ชายสิวโรช กจิ สุขแสง ชั้น ป.6 เลขที่ 1 3. เดก็ ชายสุรชาติ สนน่ั ไหว ชนั้ ป.5 เลขที่ 1 4. เด็กชายกรรชัย รัชตารมย์ ชั้น ป.5 เลขท่ี 4 5. เดก็ ชายอภนิ นั ทต์ สงวนประเสรฐิ ชั้น ป.5 เลขที่ 7 6. เดก็ หญงิ พิชชาพร ขนุ อาจ ชน้ั ป.5 เลขท่ี 11 7. เดก็ ชายนวพล สามภิ กั ดิ์ ช้นั ป.4 เลขท่ี 6 8. เด็กชายวรฤทธ์ิ เพมิ่ สกุล ชั้น ป.4. เลขท่ี 2 9. เดก็ ชายวรรณศกั ดิ์ แกว้ ศรงี าม ชน้ั ป.4 เลขท่ี 3 10. เดก็ หญงิ กมลทพิ ย์ เปี่ยมเอม ชน้ั ป.4 เลขที่ 13 11. เดก็ หญงิ รญั ลดา อาญาเมอื ง ชั้น ป.3 เลขท่ี 9 12. เดก็ ชายสงกรานต์ มสี ุข ชั้น ป.3 เลขที่ 8 13. เดก็ หญงิ มณั ฑติ า ยศสงู เนนิ ชน้ั ป.2 เลขที่ 6 14. เดก็ ชายชนะกฤษ ทวบี ตุ ร ชัน้ ป.2 เลขที่ 1 15. เดก็ ชายละผอ่ ง - โคกวารี ชน้ั ป.1 เลขท่ี 13 16. เดก็ ชายเกยี รตศิ กั ดิ์ ชน้ั ป.1 เลขที่ 15 17. เดก็ ชายนนทวตั ร ชาวหวั เวยี ง ชน้ั ป.1 เลขที่ 14 18. เดก็ หญงิ นภสั สร อ่อนละมุล ชั้นป.1 เลขที่ 18 19. เดก็ ชายอชติ ะ เพ่ิมสกุล ชน้ั อนบุ าล 2 20. เดก็ หญงิ สวุ ภิ า อยแู่ กตุ ชน้ั อนบุ าล 2 21. เด็กหญงิ ณัฐชา นะมะปกั ษ์ ชั้นอนบุ าล 2 22. เดก็ ชายศภุ กฤต วงษร์ งุ่ ชน้ั อนบุ าล 2 พจนห์ รรษา ครทู ปี่ รกึ ษา 1. นางวรารตั น์ เลก็ สภุ าพ ตาแหนง่ ครชู านาญการพเิ ศษ 2. นางสาวลดั ดาวลั ย์ ใยอิ้ม ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย โครงงานนีเ้ ปน็ ส่วนหนึง่ ในการพฒั นากิจกรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ เพื่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ของนกั เรยี นโรงเรียนวดั บางขนุ นนท์ สานกั งานเขตบางกอกน้อย กรงุ เทพมหานคร
ก บทคดั ยอ่ โครงงาน เร่ืองปลกู ฝังจติ ใจท่ีดงี ามด้วยดอกไมจ้ ากใบเตย ใบเตยเป็นพืชท้องถิ่น สามารถพบเห็นได้ ง่ายในชมุ ชนของเรา สามารถนาใบเตยมาใช้บูรณาการในการเรียนรู้การทาโครงงานประดิษฐ์ โดยการศึกษา ค้นคว้าข้อมูลของใบเตย นามาออกแบบประดิษฐ์สร้างเป็นชิ้นงานที่น่าสน ใจและมีคุณค่าต่อจิตใจ และ รวบรวมข้อมูลมาจัดทาเป็นโครงงานปลูกฝังจิตใจท่ีดีงามด้วยการประดิษฐ์ดอกไม้จากใบเตย สู่การพัฒนา ส่งเสริมดา้ นจติ ใจ ในการนาไปใชป้ ระโยชนเ์ กี่ยวกบั พธิ ีกรรมทางศาสนา การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้มี ส่วนร่วมในการประพฤติปฏิบัติตนในทางท่ีดี มีคุณธรรม การฝึกจิตให้เห็นคุณค่าและสืบทอดประเพณีใน ทอ้ งถิน่ นกั เรียนโรงเรยี นวัดบางขนุ นนท์ กลมุ่ ที่ 3 ไดจ้ ัดทาโครงงานบรู ณาการ ตามขั้นตอน คือ เลือกเร่ือง ที่น่าสนใจ เตรยี มไปหาแหล่งความรู้ เข้าสู่การวางแผนก่อน ทาตามขัน้ ตอนอย่างสนุกสนาน เขียนรายงาน อยา่ งม่ันใจ นาเสนองานได้เหมาะสม ผลคือไดป้ ระดิษฐ์ดอกไมจ้ ากใบเตย เพื่อจะได้นาไปใช้ในประโยชน์ใน กิจกรรมทีส่ ง่ เสรมิ และพัฒนาด้านจติ ใจ
ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับนมี้ ีจุดประสงค์รายงานผลการจดั ทาโครงงานบูรณาการ เรื่อง ปลูกฝังจิตใจที่ดีงามด้วย ดอกไม้จากใบเตย โดยค้นคว้าและและลงมือปฏิบัติจริงอย่างเป็นขั้นตอน มีการวางแผนงาน สอดแทรก กระบวนการทางานเป็นทีม ผู้จัดทาได้รวบรวมข้อมูลไว้ในโครงงานเล่มน้ีเพื่อให้ผู้สนใจได้ใช้เป็นข้อมูลท่ีเป็น ประโยชนต์ อ่ ไป คณะผู้จัดทาโครงงานบูรณาการ เร่ือง ปลูกฝังจิตใจท่ีดี งามด้วยดอกไม้จากใบเตย ต้อง ขอขอบพระคุณ นางประภัสสร มณีมาศ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบางขุนนนท์ สนับสนุนการทาโครงงาน ขอขอบพระคุณ คุณครูวรารัตน์ เล็กสุภาพ และคุณครูลัดดาวัลย์ ใยอ้ิม ที่ได้ให้คาแนะนาในการจัดทา โครงงานบูรณาการ ขอขอบคุณนางวา วิทยากรท่ีได้มาให้ความรู้และสอนร้อยมาลัย ขอขอบคุณนางบัวผัน แพงโท ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ เปน็ วิทยากรทไี่ ดม้ าให้ความรู้และสอนสานประตะเพยี น และขอขอบคุณคณะครูทุก ท่านท่ีช่วยตรวจสอบรายงาน โครงงาน เรื่อง ปลูกฝังจิตใจที่ดีงามด้วยดอกไม้จากใบเตย ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี คณะผู้จัดทา
ค สารบญั หนา้ เรื่อง 1 2 บทที่ 1 บทนา 9 บทที่ 2 เอกสารและแหล่งความรู้ทีเ่ กยี่ วข้อง 12 บทที่ 3 วิธีดาเนินการตามโครงการ 13 บทที่ 4 ผลการศึกษาข้อมูล บทท่ี 5 สรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก - ใบโฆษณาสนิ ค้า - แผ่นพับ - บัญชีรายรับ – รายจา่ ย - ใบความคิดเห็น /คาแนะนาของครูที่ปรกึ ษา - แบบบันทึกผลการปฏบิ ัตงิ าน - ใบประเมินของผูส้ อน - ใบประเมินของผูป้ กครอง - ใบประเมนิ ของกลุ่มเพอ่ื น - ใบประเมินตนเอง - ใบขออนญุ าตผูป้ กครอง - แผ่น CD รปู ภาพการเรยี นการสอนและการจัดกิจกรรม
บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาของโครงงาน จากการเรียนในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ เป็นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เน้นผู้เรียนลงมือปฏิบัติ คิดวิเคราะห์ ทางานเป็นทีม เผชิญประสบการณ์ตรง เรียนรู้ด้วยตนเอง และได้ค้นพบศักยภาพของตนเอง โดยกิจกรรมเพิ่มเวลารู้เน้น เป้าหมายการพัฒนา 4H ประกอบด้วย การพัฒนาสมอง (Head) การพฒั นาจติ ใจ (Heart) การพัฒนาทักษะ การปฏิบัติ (Hand) และการพัฒนาสขุ ภาพ (Health) เช่อื มโยงกบั การพฒั นาทกั ษะการเรียนรสู้ าหรบั ศตวรรษ ท่ี 21 และพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ เป็นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning ) เป็นการเรียนรู้ที่จัดประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทางานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี ประสบการณ์ตรง ไดเ้ รียนรู้วธิ กี ารแกป้ ัญหา วิธีการหาความรู้ความจริงอย่างมีเหตุผล ได้ทาการทดลอง ได้ พิสูจน์สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง รู้จักการวางแผนการทางาน ฝึกการเป็นผู้นา ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนา กระบวนการคดิ โดยเฉพาะการคิดข้ันสูง และการประเมินตนเอง โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้นเพื่อนาความสนใจที่ เกิดจากตัวผเู้ รียนมาใช้ในการทากิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวเอง นาไปสู่การเพ่ิมความรู้ท่ีได้จากการลง มือปฏิบัติ การฟัง และการสังเกตจากผู้รู้ โดยผ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม ท่ีจะนามาสู่การสรุปความรู้ ใหม่ มีการเขียนกระบวนการจัดทาโครงงานและไดผ้ ลการจัดกิจกรรมเปน็ ผลงานแบบรูปธรรม ดงั นัน้ กลุ่มของพวกเราจึงมีความสนใจในการนาพืชท่ีพบเห็นได้ง่ายในท้องถ่ินมาใช้ในการเรียนรู้ใน การทาโครงงานประดษิ ฐ์ โดยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลของการนาใบเตยมาออกแบบประดิษฐ์สร้างเป็นชิ้นงาน ทน่ี า่ สนใจและมีคุณค่าต่อจิตใจ มาจัดทาเปน็ โครงงานปลกู ฝงั จติ ใจที่ดีงามด้วยการประดิษฐ์ดอกไม้จากใบเตย ซงึ่ เปน็ พืชในท้องถิ่นสู่การพฒั นาส่งเสริมด้านจติ ใจ ในการนาไปใช้ประโยชน์เก่ียวกับพิธีกรรมทางศาสนา การ อนุรักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม สง่ เสริมใหม้ สี ่วนร่วมในการประพฤติปฏิบัติตนในทางที่ดี การฝึกจิตให้เห็นคุณค่าและสืบ ทอดประเพณใี นท้องถนิ่ ทาให้กลุ่มของพวกเราเกิดความสนใจในการทาโครงงานเร่อื งน้ีข้นึ วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ทา 1. เพือ่ ประดษิ ฐ์ผลงานจากใบเตยพืชในทอ้ งถ่นิ 2. เพือ่ พฒั นาทักษะดา้ นจิตใจ(Heart) ในการนาสง่ิ ประดษิ ฐจ์ ากใบเตยพืชในท้องถน่ิ ในการนาไปใช้ ในกิจกรรมทีช่ ่วยปลกู ฝังจติ ใจท่ดี ีงาม
บทที่ 2 เอกสารและแหล่งความร้ทู ี่เกย่ี วขอ้ ง เอกสารท่ีใช้ในการศกึ ษา เอกสารที่ใช้ในการศกึ ษาขอ้ มลู ได้แก่ 1. ใบงานท่ี 1 เรือ่ ง การนาใบเตยไปใช้ประโยชน์ 2. ใบงานที่ 2 เรอื่ ง ทาขนมใบเตยไปทาบญุ กันเถอะ 3. ใบงานท่ี 3 เร่อื ง พวงมาลยั ปลาตะเพยี น 4. ใบงานท่ี 4 เรอื่ ง กระทงใบเตย 5. ใบงานที่ 5 เรอื่ ง คาศพั ท์ภาษาองั กฤษเกี่ยวกับใบเตย 6. ใบงานท่ี 6 เรอ่ื ง การพฒั นาดา้ นจิตใจ เว็บไซต์ ไดศ้ กึ ษาเว็บไซต์ หอ้ งสมุด และหอ้ งคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เรื่อง 1. ใบเตย https://guru.sanook.com/9090/ 2. สรรพคณุ ของใบเตย http://www.banhealthy.com 3. พฒั นาการเดก็ ดา้ นอารมณ์จติ ใจ http://www.brainkiddy.com/article ศกึ ษาจากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ 1. นางวา 2. นางบัวผนั แพงโท
ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ใบเตย ใบเตย หรือจะเรยี กวา่ เปน็ อกี หนึ่ง เตยหอม หรอื ใบเตยหอม ภาษาองั กฤษ Pandan Leaves, Fragrant Pandan, Pandom wangi มชี ่อื วทิ ยาศาสตรว์ า่ Pandanus amaryllifolius Roxb. ช่ือท้องถ่ินอ่ืนๆอีกเช่น ใบส้มม่า (ระนอง), ส้มตะเลงเครง (ตาก), ส้มปู (แม่ฮ่องสอน), ส้มพอดี ผักเก็งเค็ง (ภาคเหนือ) เป็นต้นBใบเตย จัดเป็นไม้ยืนต้นพุ่มเล็ก ขึ้นเป็นกอ มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับเวียนเป็นเกลียว จนถึงยอดใบ ลักษณะของเปน็ ทางยาว สเี ขียวเป็นมัน ใบค่อนข้างแข็งมีขอบใบเรียบ ซ่ึงเราสามารถนาใบเตย มาใช้ไดท้ ัง้ ใบสดและใบแห้ง ในใบเตยจะมีกล่ินหอมของน้ามันหอมระเหย (Fragrant Screw Pine) โดยกลิ่น หอมของใบเตยนั้นมากจากสารเคมีท่ีช่ือว่า 2-acetyl-1-pyrroline ซ่ึงเป็นกล่ินเดียวกันกับที่ได้ใน ข้าวหอม มะลิ ขนมปังขาว และดอกชมนาด นอกจากน้ีใบเตยยังประกอบด้วยวิตามินและแร่ธาตุสาคัญอีกหลายชนิด โดยใบเตยหอม 100 กรัมน้ันจะมีเบต้าแคโรทีน 3 ไมโครกรัม, วิตามินซี 8 มิลลิกรัม, วิตามินบี2 0.2 มิลลกิ รัม, วติ ามินบ3ี 1.2 มิลลกิ รัม, ธาตุแคลเซียม 124 มิลลกิ รมั , ธาตเุ หล็ก 0.1 มิลลกิ รัม, ธาตุฟอสฟอรัส 27 มลิ ลิกรัม นอกจากนี้ยังมีคาร์โบไฮเดรต 4.6 กรัม, โปรตีน 1.9 กรัม และให้พลังงานถึง 35 กิโลแคลอรี ใบเตยเป็นพืชที่คนไทยทุกคนต่างก็รู้จักกันดี เน่ืองจากมีการนามาใช้กันอย่างหลากหลายต้ังแต่สมัยโบราณ แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนามาปรุงแต่งอาหารอย่างขนมไทยให้มีกลิ่นหอม อร่อย และยังให้สีสันน่า รบั ประทานอีกด้วย ลกั ษณะทวั่ ไป ใบเตยเป็นพืชใบเล้ียงเดี่ยวลักษณะแตกกอเป็นพุ่มขนาดเล็ก ลาต้นเป็นข้อ ใบออกเป็นพุ่ม บริเวณปลายยอด เมื่อโตขึ้น จะมีรากค้าจุนช่วยพยุงลาต้นไว้ ใบเป็นใบเด่ียวออกเป็นกระจุกเรียงสลับเวียน เปน็ เกลียวข้ึนไปจนถึงยอดลักษณะใบยาวเรียวคล้ายใบหอก ปลายใบแหลมบริเวณกลางใบเป็นร่อง ขอบใบ เรยี บตรง ผวิ ใบเป็นมัน ด้านทอ้ งใบจะเหน็ เป็นรปู คลา้ ยกระดกู งูเรือใบ มีกลน่ิ หอม
การปลกู และการดแู ลรกั ษาใบเตย การปลกู เตยหอมน้ันเราจะต้องมีพ้ืนท่ีจะเพาะปลกู ตอ้ งใกล้น้าค่อนข้างแฉะ มีน้าหมุนเวียน ตลอดปี มีร่มเงาราไรใหต้ ้นเตยไม่โดนแสงแดดโดยตรง หรือตามร่องสวน ตามชายบ่อน้า ส่วนการปลูกในพ้ืน นามกี ารเตรยี มดนิ คล้ายกบั การทานาแตท่ าเพียงครง้ั เดยี วก่อน ปลูกเพื่อให้พื้นท่ีเรียบ ระบบน้าดูแลง่าย ส่วน ทางเดินเข้าเก็บเกี่ยวเตยหอมข้ึนอยู่ตามความสะดวกสบายที่ผู้ปลูกต้อง จัดการและวางแผนเองตามความ เหมาะสมของพนื้ ทปี่ ลูกและขนาดพ้ืนท่ี ก่อนปลูกต้องเปิดน้าเข้าแปลงประมาณ 1 ฝ่ามือ หรือประมาณ 15 เซนติเมตร จากน้ันเตรียมต้นพันธ์ุเตยหอมที่แข็งแรงที่มีรากปักลงในแปลง โดยทาเหมือนการดานา จากนั้น ดูแลระบบถ่ายเทน้าดูแลไม่ให้ต้นที่ปักดาลอยข้ึนมา ท้ิงไว้ 3 เดือน จึงเพิ่มปริมาณน้าขึ้น หลังจากปลูก 6 เดือน สามารถเก็บเกี่ยวได้ การเก็บเกี่ยวใช้มีดตัดยอด อย่าเสียดายยอด การตัดยอด 1 ยอด ทาให้เกิดยอด ใหม่มากมาย โดยเฉลย่ี ตัดไป 1 ยอด จะไดย้ อดใหม่ 3-5 ยอด ทั้งนี้ การดูแลบารุงรกั ษาต้นเตยหอมนั้นก็ไม่ได้ ยงุ่ ยากอะไรมาก เพียงแต่เกษตรกรจาเปน็ ตอ้ งเอาใจใสอ่ ยา่ งสมา่ เสมอ มกี ารปรบั พื้นทีใ่ หโ้ ล่ง ไม่มีวัชพืชข้ึนปก คลมุ ตน้ เตยหอม เพราะจะทาให้ใบเตยหอม หรือต้นเจริญเติบโตช้า และใบไม่สวย ควรจะใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก บารุงต้น และใบบ้าง เพ่ือให้ต้นเตยหอม มีความอุดมสมบูรณ์สาหรับใบเตยหอม ท่ีส่งขายไปยังท้องตลาด ก็ สามารถจะนาไปประกอบอาหารคาว หวาน ได้ตามความต้องการ นอกจากน้ียังไปประกอบร่วมกับดอกไม้ใน การไหวพ้ ระ ซึ่งในตลาดมีความตอ้ งการใบเตยหอมเปน็ อยา่ งมาก
สรรพคุณของใบเตย เมื่อพดู ถงึ ใบเตย ตน้ เตย คงไม่มีใครไม่รู้จัก เพราะสีของใบเตยถูกนาไปผสมเป็นอาหารคาว หวานมานมนานตั้งแตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จุบนั นอกจากสีสนั แล้ว กลน่ิ อนั หอมหวนโดดเดน่ กเ็ ป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ ของใบเตย ทถ่ี ูกนามาใชป้ ระโยชน์มากมาย ไม่วา่ จะเปน็ ดับกล่นิ คาวในอาหาร ดับกลน่ิ อบั ในหอ้ ง หรือตู้เสื้อผ้า เพ่ิมกล่ินของขนมและอาหารให้น่าสนใจและเรียกน้าย่อยได้อย่างดีทีเดียว เราลองมาดูซิว่าสรรพคุณเด่นๆ ด้านอื่นๆ จะมีอะไรอกี บ้าง รวมไปถงึ วธิ ีการนาไปใช้ – บารงุ หัวใจ ชว่ ยลดอัตราการเตน้ ของหวั ใจ – ดบั กระหาย คลายรอ้ น – กลน่ิ ของใบเตยทาใหร้ ู้สกึ สดช่ืน ผอ่ นคลาย – ช่วยชูกาลงั ช่วยแกอ้ าการอ่อนเพลียของรา่ งกาย – ชว่ ยปรับสมดุลของรา่ งกาย – ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ช่วยควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลอื ด – ช่วยลดความดันโลหิต – ช่วยปอ้ งกันการแขง็ ตวั ของหลอดเลือด – ช่วยบรรเทาอาการไขแ้ ละดับพิษไข้ – ชว่ ยดบั พิษรอ้ นภายในรา่ งกาย – ชว่ ยรักษาโรคหดื – เป็นยาแก้กระษัย – เปน็ ยาขับปัสสาวะได้ – ชว่ ยรักษาโรคหัดได้ – ช่วยรักษาโรคผิวหนงั ได้
ประโยชนด์ า้ นอ่ืนๆ – สีเขยี วของใบเตยใช้เปน็ สีผสมอาหารคาวหวานได้อย่างดีเยยี่ ม – กล่ินหอมของใบเตยเป็นส่วนทาใหอ้ าหารน่ารบั ประทานและเพ่มิ รสชาตไิ ด้ – ชว่ ยดบั กล่ินหืนของนา้ มนั ทใ่ี ชแ้ ลว้ – ใช้ไลแ่ มลงสาบ – ชว่ ยดับกลิ่นอบั ช้ืนต่างๆ – เปน็ ทรที เม้นท์บารงุ หนา้ ได้
พัฒนาการเดก็ ด้านอารมณจ์ ิตใจ พฒั นาการทางอารมณ์ หมายถึง ขบวนการวิวัฒนาการของจิตท่ีสามารถรับผิดชอบควบคุม ขัด เกลา และแสดงออก ซ่ึงอารมณ์ให้เหมาะสมกับกาลเวลาและสถานที่ เช่น การโต้เตียงโดยไม่รู้สึกโกรธเคือง รบั ฟงั ความคดิ เห็น ของบุคคลอ่นื ที่มีความคิดเหน็ ขดั แย้งกบั ตนอย่างสบายใจในขณะที่รู้สึกโกรธเคืองไม่แสดง พฤตกิ รรมใดๆ ออกมาในทางไมด่ ี หรอื ในทางลบ ลกั ษณะพัฒนาการทางด้านอารมณข์ องเด็กปฐมวยั การแสดงออกทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยนั้น รุนแรงกว่าวัยทารก ระดับความรุนแรงทางอารมณ์ของเด็กแต่ละคนมีไม่เหมือนกันข้ึนอยู่กับองค์ประกอบ หลายๆอย่าง เช่น สขุ ภาพ สิ่งแวดลอ้ ม การอบรมเลี้ยงดู อารมณโ์ ดยทั่วไปของเด็กปฐมวัย ไดแ้ ก่ อารมณ์โกรธ กลวั อิจฉา อยากรู้อยากเหน็ อารมณ์สนกุ สนาน และอารมณร์ กั ซงึ่ มีลกั ษณะดงั น้ี 1.อารมณโ์ กรธ จะเริ่มเม่อื เดก็ อายไุ ด้ 6 เดอื น และจะมีอัตราความโกรธสูงขึ้นตามลาดับเด็กมัก โกรธเมื่อถูกขัดใจ ถูกรังแก และเรียนรู้ว่าวิธีที่จะเอาชนะได้ง่ายที่สุดคือการแสดงอารมณ์โกรธ เด็กจะแสดง อารมณ์โกรธอย่างเปดิ เผย เช่น ร้องไห้ กระทบื เทา้ กระแทกรา่ งกาย ทาตัวออ่ น ไม่พูดไม่จา ฯลฯ เมื่อพ้นวัยน้ี ไปแล้วเดก็ จะเริม่ ควบคมุ ตวั เองได้บา้ ง ในระยะนค้ี วรท่ีจะหลกี เลีย่ งการทาให้เดก็ โกรธมากทส่ี ดุ เมื่อเวลาที่เด็ก โกรธควรจะชแ้ี จงเหตุผลทไ่ี มต่ ามใจ 2.อารมณ์กลัว กลัวในสิ่งท่ีจะมีเหตุผลมากกว่าวัยทารก ส่ิงเร้าที่ทาให้เด็กกลัวมีมากข้ึน เช่น กลัวเสียงดัง คนแปลกหน้า อายุ 3-5 ปี กลัวสัตว์ กลัวถูกทิ้งให้อยู่คนเดียว พฤติกรรมที่เด็กแสดงออกเวลา กลัว รอ้ งไห้ วิง่ หนี หาทีซ่ ่อน ความกลวั เหล่านจ้ี ะลดลงเม่ืออายุมากข้ึน 3.อารมณ์อิจฉา อารมณ์อิจฉาเป็นอารมณ์ที่เกิดข้ึนเม่ือเด็กมีความรู้สึกว่าตนเองด้อยกว่าผู้อื่น หรือ กาลังสูญเสยี ของท่เี ป็นของตนไป จะเกดิ ขึ้นในเดก็ อายุ 2-5 ปี เด็กจะอจิ ฉานอ้ ง เม่ือเด็กเห็นว่าพ่อแม่ให้ ความสนใจมากกวา่ ตน พฤติกรรมที่แสดงออกเช่นเดยี วกบั อารมณโ์ กรธ ดังนัน้ ควรที่จะให้ความรกั ความอบอุ่น ท่ีทัดเทยี มกนั เพื่อป้องกันมใิ ห้เกดิ ความเล่ือมลา้ 4.อารมณอ์ ยากร้อู ยากเห็น เปน็ วัยทเ่ี ริม่ รู้จกั การใชเ้ หตุผลมีความเป็นตัวของตัวเองมีความสงสัย ในสิ่ง ท่ไี ม่เคยเหน็ ชอบสารวจ ชอบซักถาม 5.อารมณ์สนุกสนาน เม่ือเด็กประสบความสาเร็จในส่ิงต่างๆท่ีได้กระทา เด็กจะเกิดความ สนกุ สนาน ซ่ึงแสดงออกด้วยรอยยมิ้ และเสียงหวั เราะ 6.อารมณ์รกั ครัง้ แระเดก็ จะรักตนเองกอ่ น ตอ่ มาจะรู้จักการรกั คนอื่น อารมณ์นีเ้ ป็นอารมณ์แห่ง ความสขุ เดก็ จะแสดงความรักโดยการกอดจูบลูบคลา เด็กท่ีไม่ได้รับความรักความอบอุ่นจากครอบครัวหรือ คน ท่ีผกู พนั เดก็ มักจะเหน็ แก่ตัว ทาให้เด็กไม่สามารถสร้างสมั พนั ธภาพท่ีดี เด็กมักแสดงความรักต่อ พอ่ แม่ หรอื สตั ว์เลย้ี งตลอดจนของเล่น ลักษณะพฒั นาการด้านอารมณ์จติ ใจของเด็กปฐมวัยมดี งั น้ี 1.พฒั นาการทางอารมณ์เด็กวัย 1 ปี ด้านอารมณ์จิตใจ เด็กในช่วงน้ีเร่มิ รู้จักทาอะไรตามใจตนเอง ขดั ใจจะโกรธ อารมณ์เปลี่ยนแปลง งา่ ย แสดงอารมณเ์ ปดิ เผยตามความรู้สกึ มปี ฏิกิริยาตอ่ ตา้ นเม่อื ไม่พอใจตอ้ งการความเปน็ ตวั ของตวั เอง 2.พัฒนาการทางอารมณเ์ ดก็ วัย 2 ปี ดา้ นอารมณ์ จิตใจ เด็กวัยน้ีจะแสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆด้วยคาพูด อารมณ์มักจะข้ึนๆลงๆ มีความเปน็ ตัวของตัวเอง เด็กในวยั นีถ้ ้าได้รบั การยอมรับหรือชมเชยจะมคี วามรู้สึกทด่ี ตี ่อตนเอง
3.พฒั นาการทางด้านอารมณ์เดก็ วยั 3 ปี ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ร่าเริง แจ่มใส แสดงอารมณ์ตามความรู้สึกไม่ทาร้ายผู้อื่นเม่ือไม่พอใจ เริ่มมี ความมั่นใจในตนเอง รู้จักเลือกเล่นส่ิงที่ตนชอบ สนใจ เล่นบทบาทสมมุติได้ เด็กวัยน้ีชอบทาให้ผู้ใหญ่พอใจ และได้รับคาชม 4.พัฒนาการทางอารมณเ์ ด็กวัย 4 ปี ด้านอารมณ์ จิตใจ เปน็ วัยทช่ี อบท้าทายผู้ใหญ่ ต้องการให้มีคนฟัง คนสนใจ สามารถแสดงออก ทางอารมณ์ไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ไม่ทาร้ายผู้อื่นและไมท่ าใหผ้ ้อู ่ืนเดือดรอ้ น ไมแ่ ย่งส่ิงของหรือหยิบของ ผู้อื่นมาเป็นของตน 5. พัฒนาการทางอารมณเ์ ดก็ วัยระหว่าง 5-6 ปี ด้านอารมณ์ จิตใจ แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสม ช่ืนชมความสามารถ และผลงานของตนเองและผูอ้ ืน่ ยึดตวั เองเป็นศูนย์กลางนอ้ ยลง การสง่ เสรมิ พฒั นาการทางด้านอารมณ์ของเด็กปฐมวัย พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยยังไม่ คงที่เปลยี่ นแปลงได้ง่าย เป็นวัยเจ้าอารมณ์ บางคร้ังจะมีอารมณ์รุนแรง โมโหร้าย โกรธง่าย เอาแต่ใจตัวเอง จะสงั เกตได้จากการท่เี ด็กแสดงอารมณใ์ นลักษณะต่างๆ เช่น มอี ารมณ์หวาดกลัวอย่างรุนแรง มีอารมณ์อิจฉา รษิ ยาน้องและโมโหฉุนเฉียวเป็นต้น เด็กแต่ละคนจะมีลักษณะพัฒนาการทางอารมณ์แตกต่างกันตามสภาพ สงิ่ แวดล้อม การเรียนรูท้ แ่ี ตกตา่ งกนั หากเดก็ ได้รับความไม่พอใจ เดก็ ก็จะสะสมอารมณ์ไม่พอใจเหล่าน้ันไว้ทา ให้เดก็ ขาดความสขุ มีอารมณ์ตึงเครยี ดและอาจทาให้ชีวติ ในวัยตอ่ ไปมีปัญหาได้ ดังนั้นพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูจึงควรพยายามหลีกเล่ียงการเลี้ยงดูเด็กที่ก่อให้เกิดอารมณ์อิจฉาริษยา อารมณโ์ กรธ อารมณว์ ติ กกงั วล และความตึงเครียดให้มากที่สุดเท่าท่ีจะทาได้ นั่นคือควรพยายามส่งเสริมให้ เดก็ มอี ารมณ์สนุกสนาน ร่าเริง อารมณ์สงบ เยือกเย็น อารมณ์รักและมองโลกในแง่ดี พ่อแม่ผู้เล้ียงดูตลอดจน ครูผูด้ แู ลเด็กควรคานึงถงึ สิง่ ตา่ งๆดังนี้ 1.ให้ความรกั และความอบอุน่ ความเอาใจใส่ต่อเด็ก และการเข้าใจเด็กยอมรับในตัวเด็กจะเป็นสิ่งท่ี สาคญั อย่างยงิ่ ท่จี ะชว่ ยใหเ้ ดก็ ปฐมวยั มพี ้นื ฐานทางอารมณ์ทม่ี ัน่ คง รสู้ ึกอบอนุ่ มอี ารมณข์ นั มองโลกในแงด่ ี 2.การเล่น การเล่นเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของเด็ก มีคุณค่าทางอารมณ์ ทาให้เด็กได้รับความ สนุกสนานเพลิดเพลินมีอารมณ์เบิกบานแจ่มใส มีจิตใจท่ีมั่นคง มองโลกในแง่ดี และยังทาให้เด็กเกิดความ เช่ือมั่นในตนเอง ถ้าหากพ่อแม่ได้ปล่อยให้เด็กได้เล่นตามความต้องการด้วยแล้ว เด็กจะมีความสุข การเล่น ช่วยให้เด็กผ่อนคลายความตึงเครียดในชีวิตประจาวัน ช่วยระบายอารมณ์ เมื่อเด็กเกิดความรู้สึกโกรธ วิตก กงั วล หรอื คับข้องใจเปน็ การลดความก้าวร้าว และละความไม่พึงพอใจที่ได้รับจากผู้ท่ีอยู่รอบข้าง การเล่นจึง เป็นกจิ กรรมทส่ี นองความต้องการที่จะผ่อนคลายความตึงเครียดทางอารมณ์ ฟรอยด์นักจิตวิทยาผู้มีช่ือเสียง ด้านจิตวิเคราะห์กลา่ วว่า การเล่นมีคณุ ค่ามากในแง่ของการบาบัดเพราะการเล่นช่วยให้เด็กสามารถลดความ ไมพ่ ึงพอใจอนั เกดิ จากประสบการณ์ไดโ้ ดยคอ่ ยๆลดความวติ กกงั วล 3.การฟังนทิ าน นิทานช่วยใหเ้ ดก็ มีความเพลิดเพลิน เกิดความสุขมากเมื่อได้ฟังนิทาน เด็กปฐมวัยมี จินตนาการตามเน้ือเร่ืองในนิทาน นิทานช่วยผ่อนคลายความเครียดลดความวิตกกังวลของเด็กๆ ธรรมชาติ ของเดก็ ปฐมวยั จะเปน็ วัยที่ชอบฟงั นิทานมาก และชอบการเลียนแบบ เด็กจงึ มักเลียนแบบบุคลิกลักษณะนิสัย ตัวละครในนิทาน ถ้าเดก็ ได้อ่านนทิ านท่มี กี ารผูกเร่ืองดีๆตัวเอกในเรื่องเป็นคนดี จิตใจเยือกเย็น อารมณ์ดี ไม่ โกรธใคร แม้ว่าถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกล้อเลียนเมื่อเด็กได้ฟังนิทานเหล่าน้ี ก็จะส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน อารมณ์ของเดก็ ให้เด็กมสี ุขภาพจติ ดี มอี ารมณ์แจม่ ใส ไม่โกรธง่าย และยังมีลักษณะนิสยั ชอบช่วยเหลือคนอ่ืน อกี ด้วย
บทที่ 3 วิธีดาเนินการตามโครงงาน จากการจัดทาโครงงานบูรณาการ เร่ืองปลูกฝังจิตใจที่ดีงามด้วยดอกไม้จากใบเตย ซึ่งมีผลต่อ เน่ืองมาจาก จากการเรียนในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เน้นผู้เรียนลงมือปฏิบัติ คิดวิเคราะห์ ทางานเป็นทีม เผชิญประสบการณ์ตรง เรียนรู้ด้วยตนเอง และได้ค้นพบศักยภาพของตนเอง โดยกิจกรรมเพิ่มเวลารู้เน้น เป้าหมายการพัฒนา 4H ประกอบด้วย การพัฒนาสมอง (Head) การพัฒนาจติ ใจ (Heart) การพัฒนาทักษะ การปฏบิ ตั ิ (Hand) และการพัฒนาสขุ ภาพ (Health) เชอ่ื มโยงกบั การพฒั นาทักษะการเรยี นรู้สาหรับศตวรรษ ท่ี 21 และพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ เป็นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning ) ได้ดาเนนิ การตามขน้ั ตอนดงั นี้ ขนั้ ที่ 1 เลือกเรอื่ งท่ีนา่ สนใจ เมอ่ื กล่มุ คณะผู้จดั ทาได้ศึกษาขอ้ มูลของใบเตย ซึง่ ใบเตยเปน็ พืชในทอ้ งถนิ่ ชมุ ชนของเราจงึ คิดจะศึกษาเพอื่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจยิ่งข้ึน ได้ร่วมใจกันเลือกที่จะทาโครงงาน เรื่องปลูกฝงั จิตใจทด่ี งี ามด้วย ดอกไมจ้ ากใบเตย ข้นั ที่ 2 เตรยี มไปหาแหลง่ ความรู้ ได้ไปเตรยี มการหาแหล่งการเรียนรู้ ซ่ึงคณุ ครูจัดไว้ใหส้ ว่ นหนึ่ง และจดั หาเอนอกเหนือจาก ทีค่ ุณครไู วใ้ ห้อีก เช่น ห้องสมุด อนิ เทอรเ์ น็ต สอบถามหาความรู้จากผูป้ กครอง และภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ข้ันท่ี 3 เขา้ สู่การวางแผนกอ่ น พวกเราไดค้ ิดจะรา่ งเค้าโครงของโครงงานน้ี โดยกาหนดกันว่าจะทาอย่างไรก่อนหลัง จะ ศึกษาเรอ่ื งอนื่ ๆ ให้ครบก่อน แลว้ จงึ จะช่วยกันลงมือปฏบิ ตั ิจริง และเก็บรวบรวมขอ้ มลู ให้ครบถว้ นสมบรู ณ์ เคา้ โครงของโครงงาน 1. ชือ่ โครงงาน ปลูกฝงั จิตใจที่ดงี ามด้วยดอกไมจ้ ากใบเตย 2. คณะผจู้ ดั ทา โดยแบ่งนักเรียนต้งั แต่ระดับช้นั ป.1 ถงึ นักเรียนชน้ั ป.6 ออกเป็น 4 กลมุ่ จานวนเทา่ ๆ กนั จานวน 22 คน 3. ท่ปี รกึ ษาโครงงาน ครู วรารัตน์ เลก็ สุภาพ และครูลดั ดาวัลย์ ใยอิม้ 4. ระยะเวลาในการจดั ทาโครงงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 พฤศจกิ ายน 2562 5. เหตุผลในการจัดทาโครงงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะดา้ นจิตใจ(Heart) ในการนาสิง่ ประดษิ ฐจ์ ากใบเตยพืชในท้องถิ่น ในการนาไปใชใ้ น กิจกรรมท่ีชว่ ยปลูกฝังจติ ใจทด่ี ีงาม 6. วัตถุประสงค์ในการจัดทาโครงงาน 1. ต้องการศกึ ษาการประดษิ ฐ์ผลงานจากใบเตยพืชในท้องถน่ิ 2. เพ่อื นาสง่ิ ประดิษฐ์ผลงานจากใบเตยพืชในทอ้ งถน่ิ ไปปฏิบัติหรือร่วมกจิ กรรมทีส่ ่งเสริมการ ปลูกฝังจติ ใจท่ีดงี าม
7. ขั้นตอนในการจดั ทาโครงงาน ขนั้ ท่ี 1 เลอื กเร่อื งทีน่ า่ สนใจ ข้นั ที่ 2 เตรียมไปหาแหล่งความรู้ ข้นั ที่ 3 เข้าสูก่ ารวางแผนก่อน ขั้นท่ี 4 ทาตามขน้ั ตอนอยา่ งสนกุ สนาน ขน้ั ท่ี 5 เขยี นรายงานอย่างม่นั ใจ ข้ันท่ี 6 นาเสนองานได้เหมาะสม 8. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ 1. นักเรยี นสารมารถประดิษฐด์ อกไม้จากใบเตยได้ 2. นักเรยี นได้พฒั นาทักษะดา้ นจิตใจ(Heart) มจี ิตใจท่ีดงี าม 3. นาสงิ่ ประดษิ ฐผ์ ลงานจากใบเตยพืชในท้องถิน่ ไปปฏิบตั หิ รอื รว่ มกิจกรรมที่ส่งเสริมการปลกู ฝัง จติ ใจทดี่ ีงาม 9. เอกสารและแหลง่ ความรูท้ ใี่ ชใ้ นการศึกษา 1) ห้องสมุด 2) อินเทอร์เน็ต 3) ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ขน้ั ที่ 4 ทาตามข้นั ตอนอย่างสนุกสนาน คณะผ้จู ัดทาได้ดาเนินการตามขน้ั ตอนท่ไี ด้กาหนดไว้ โดยไปศกึ ษาจากแหลง่ ความรู้ตา่ ง ๆ และได้ เลอื กศกึ ษาตามความสนใจ ดังนี้ 1. ศกึ ษาจากอนิ เทอรเ์ นต็ โดยมขี นั้ ตอนการประดิษฐ์ ดังนี้ 1.1 การประดษิ ฐ์ดอกกุหลาบจากใบเตย เร่ิมจากไปหาเตยมาก่อน ถ้าเปน็ ไปได้เลอื กใบท่ีกาลังดี ไม่ออ่ นหรือไม่แก่จนเกินไป และขนาดใบก็ แลว้ แต่ ถ้าใบเล็กก็ไดด้ อกเล็ก ใบใหญก่ ด็ อกใหญ่ ตามชอบ 1. สว่ นโคนใบเตยถอื เป็นส่วนของก้านกุหลาบน เร่มิ จากกะจากโคนขนึ้ มาเอาขนาดตามความยาว ก้านที่ต้องการ จากนน้ั พับไปทางขวา 2. มือขวาจับสว่ นปลายไว้ มอื ซ้ายพับส่วนโคนลงมา ดงั ภาพ 3. จบั ส่วนโคนไว้ พับส่วนปลายลงมา (พบั ไปทางดา้ นหลัง) 4. หมนุ มือท่ีจับสว่ นโคนพบั ทบลงมาหาสว่ นปลาย 1 ครั้ง (จะได้ส่วนใจกลางดอกไม้) 5. ใชม้ อื ซา้ ยเล่ือนขนึ้ มาจบั ยดึ ส่วนใจกลางดอกไว้ใหม้ ั่น จากนนั้ บดิ สว่ นปลาย 1 ครงั้ ตามภาพ เพื่อ ทา กลีบดอก 6. จากนั้น จับรวบกนั ไวท้ ีก่ า้ นลกั ษณะเหมอื นดอกไม้ 7. มือขวาบิดส่วนปลายแลว้ จับรวบไวท้ ี่กา้ น ทาอยา่ งน้ีไปเรอ่ื ย ๆ จะไดก้ ลีบดอกไมท้ ่ีสวยงาม 8. ทามาจนเกือบสุดปลายใบเตย 9. บดิ เหมือนทากลบี ดอกอีก 1 ชนั้ แต่ให้มคี วามแนน่ แบบรัดข้อไว้ 10. จากนัน้ นาปลายใบเตยซอ่ นขดั ไว้ด้านใน เป็นอนั เสรจ็ 1 ดอก
11. ทาจานวนดอกตามปริมาณทีต่ ้องการ จากนนั้ นามา จดั ช่อ เสรจ็ แล้วจา้ ไปวางไวใ้ นรถดีกว่า ขบั ไป หอมไปตลอดทาง 1.2 การประดษิ ฐ์พวงมาลัยปลาตะเพยี น 1. เรยี นรู้วิธกี ารร้อยพวงมาลัยจากภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ 2. เรียนรวู้ ิธีการสานปลาตะเพยี นจากภมู ิปญั ญาท้องถิน่ 3. สานตามขน้ั ตอนคนละ 1 ตวั 4. นาปลาตะเพยี นใบเตยมารอ้ ยรวมกับพวงมาลัย 1.3 การประดษิ ฐ์ใบเตยซอ่ นกล่นิ 1. นามะกรดู มาเสยี บไม้ 2. ตดั ใบเตยความยาว 10 เซนตอเมตร 3. พับกลบี ใบเตย แล้วเสยี บตะปูให้แนน่ เป็นช้ันๆเรียงลงมา 2. เสียบกลีบกหุ ลาบจนรอบมะกรูดและตกแตใ่ ห้สวยงาม 1.4 การประดิษฐ์กระทงใบเตยใส่ขนม 1. ใบเตยหอม นามาล้างแลว้ เช็ดใหแ้ หง้ และสะอาด จากนัน้ นามาตัดขนาด 5.5 นวิ้ 2. ตดั ฐานล่างออกเล็กน้อยเพ่ือใหซ้ อ้ นทับไดข้ ณะขึน้ รปู แลว้ ตดั แบ่งเป็น 5 สว่ นเท่าๆกัน 3. พับมุมจากสว่ นที่ 1 และพับสว่ นที่ 2 4. พับตอ่ ไปเร่อื ยๆตามรอยตัดตอ่ กันจนหมด และประสานใบเตยกนั ตรงกลาง 5. ภาพดา้ นลา่ งกระทง และดา้ นขา้ งท่กี ลดั ด้วยไม้กลัดเลก็ ๆ 2. ศึกษาจากภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ในชุมชนวดั บางขุนนนท์ 3. ศกึ ษาจากผรู้ ู้ การสานปลาตะเพียนและการร้อยพวงมาลัย เมือ่ ศึกษาแหลง่ การเรยี นรูต้ ่าง ๆ พรอ้ มทัง้ ไดจ้ ดบนั ทกึ ขอ้ มลู เกี่ยวกับ ความเปน็ มา การ เตรยี มอุปกรณ์ ขั้นตอนวธิ กี ารทา และการนาไปใชป้ ระโยชน์ ไดจ้ ัดทาชนิ้ งานเชน่ พวงมาลยั ปลาตะเพียน ดอกกหุ ลาบใบเตย กระทงใบเตยใสข่ นม ใบเตยซ่อนกลนิ่ พรอ้ มทั้งได้แบง่ งานกันไปค้นหา หรือจัดเกบ็ ข้อมลู แล้วจึงนามารวบรวมไวเ้ พอื่ สรุปผล ขั้นท่ี 5 เขยี นรายงานอย่างมน่ั ใจ เม่ือทาการสรปุ โครงงานปลูกฝังจติ ใจท่ดี ีงามดว้ ยดอกไม้จากใบเตย จึงนาขอ้ มูลน้ันมาเขยี น รายงานผลการดาเนินงานโครงงานอยา่ งมน่ั ใจ โดยแบง่ ออกเป็น 5 บท คือ นาเอกสารและแหล่งความรู้ที่ เก่ยี วขอ้ ง วิธีดาเนนิ การตามโครงงาน ผลการศกึ ษาขอ้ มูล สรปุ และข้อเสนอแนะ ขั้นท่ี 6 นาเสนองานไดเ้ หมาะสม เมื่อเขียนรายงานแลว้ ไดน้ าเสนอผลงานโดย มตี ัวแทนออกมานาเสนอขน้ั ตอนการประดิษฐ์ ใบเตยนาผลการดาเนินการมาแสดงให้ผู้อ่นื ได้ทราบ ได้นาชน้ิ งานของกลมุ่ มาแสดงเป็นแผนภูมโิ ครงงาน ได้รบั ความสนใจเปน็ อยา่ งย่งิ
บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาข้อมูล ตาราง ผลงานการประดิษฐ์จากใบเตยพืชในทอ้ งถิ่น ผลงานส่ิงประดษิ ฐจ์ ากใบเตย การนาไปใช้ 1. ดอกกุหลาบใบเตย - นาไปไหว้พระ บูชาพระ - ตกแต่งแจกันดอกไม้ - ไหวส้ ิง่ ศักด์ิสทิ ธิ์ - ดับกลนิ่ ไมพ่ ึงประสงค์ 2. พวงมาลยั ประตะเพียน - นาไปไหวพ้ ระ บูชาพระ - ไหวส้ ง่ิ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ - ไหวพ้ ่อแม่ หรอื ผใู้ หญ่ - แขวนในรถเพื่อดบั กล่ิน 3. ใบเตยซ่อนกลิน่ - ดบั กลนิ่ ไมพ่ ึงประสงค์ - วางไวบ้ รเิ วณหอ้ งน้า - ใสใ่ นตู้เสอื้ ผ้า - ตกแตง่ เพ่อื ความสวยงาม 4. กระทงใบเตย - ใสข่ นมตะโก้ - ใส่ขนมขา้ วเหนียวใบเตย - ใสก่ ลีบดอกไม้เพอื่ ดบั กล่นิ จากตารางได้ผลงานสิ่งประดิษฐ์จากใบเตย ไดแ้ ก่ ดอกกหุ ลาบใบเตย พวงมาลัยปลาตะเพยี น ใบเตยซอ่ นกล่ิน กระทงใบเตย
บทท่ี 5 สรุปและข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการจัดทาโครงงาน การจัดทาโครงงานปลกู ฝังจิตใจทด่ี ีงามดว้ ยดอกไมจ้ ากใบเตย ได้เรม่ิ จากสารวจพ้นื หาง่ายในทอ้ งถ่นิ ชุมชนของเราและศึกษาข้อมูลเก่ียวกบั ใบเตย ด้านสรรพคณุ การรกั ษาโรค การแปรรูป การประดิษฐ์ดอกไม้ จากใบเตยพบว่าใบเตยมีคุณสมบัติครบถว้ น จงึ ได้ศึกษาขอ้ มลู ตามขัน้ ตอน คือ 1) เลอื กเรื่องทีน่ า่ สนใจ 2) เตรียมไปหาแหล่งความรู้ 3) เข้าสู่การวางแผนก่อน 4) ทาตามขัน้ ตอนอย่างสนกุ สนาน 5)เขยี นรายงานอยา่ งมน่ั ใจ และ 6) นาเสนองานได้อย่างเหมาะสม โดยเกิดผลคือนักเรยี นมีความสขุ มสี มาธิ เม่ือทากิจกรรม เกดิ ความสามัคคีกันในกกลุ่ม มีการ ชว่ ยเหลอื ซึง่ กันและกันแบบพีช่ ่วยน้อง ส่งเสริมกจิ กรรมทางพระพุทธศาสนาสบื สานและอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมที่ดี งามและทาใหไ้ ดร้ ับความร้อู ยา่ งสูงสดุ ผลที่ไดร้ บั จากการทาโครงงาน จากการทาโครงงานปลูกฝังจติ ใจทีด่ งี ามด้วยดอกไม้จากใบเตย ในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ แลว้ คณะผู้จัดทายังไดร้ บั ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ดังน้ี 1. มีความสขุ ใจสบายใจ 2. ฝกึ ความมีสมาธิ มีสติ 3. เกิดความสามคั คีกันในกลุ่ม 4. มีความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักแบ่งปัน 5. มีความคดิ สร้างสรรค์ ออกแบบสิง่ ประดษิ ฐจ์ ากใบเตย ขอ้ เสนอแนะ ผลจากการจัดทาโครงงานปลูกฝังจิตใจท่ดี งี ามดว้ ยดอกไม้จากใบเตย สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างมากมาย 1. ประดษิ ฐด์ อกไม้ไปประกอบพิธที างศาสนา และสง่ เสรมิ พัฒนาจติ ใจใหด้ ีงามได้ 2. มีความอนรุ ักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ินของตน 3. นาความร้ไู ปประกอบอาชพี สรา้ งรายได้
บรรณานุกรม การทาโครงงานต้องทาอย่างไร ขน้ั ตอนการจัดทาโครงงาน : การจดั การเรยี นรู้โดยใช้โครงงาน ซง่ึ ไดน้ ามาประยุกตใ์ ห้เหมาะสม กับเน้อื หาวชิ า วฒุ ิภาวะ ของนักเรียน และสภาพแวดล้อมทโี่ รงเรยี น จึงสามารถกาหนดขั้นตอนการจัดทาโครงงานได้ 6 ขัน้ ตอน ดงั นี้ ข้ันตอนที่ 1 เลอื กเรอ่ื งทีน่ า่ สนใจ : ขน้ั ตอนแรกน้ผี เู้ รยี นจะต้องเลอื กเร่ืองทเ่ี ขาสนใจ โดยครูจะต้องเปน็ ผู้กระตุ้นหรือจดั กิจกรรมเรา้ ใหผ้ เู้ รียนคิดเร่ืองทีจ่ ะทา ดว้ ยความพอใจ หวั ข้อของโครงงานอาจได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความอยากรู้ อยากเห็นในเร่อื งต่าง ๆ ของผ้เู รยี น ซึ่ง เป็นผลได้มาจากการไดอ้ า่ นหนงั สือ การฟังการบรรยาย การทัศนศึกษา การได้พบเหน็ สิ่งตา่ ง ๆในชีวติ ประจาวนั หวั ขอ้ โครงงาน ควรเป็นเรอ่ื งท่ีเฉพาะเจาะจงและชดั เจนวา่ ทาอะไร ควรเน้นเร่อื งท่ีอยใู่ กล้ตวั และเกดิ ประโยชน์ ขน้ั ตอนท่ี 2 เตรยี มไปหาแหล่งเรียนรู้ : ในข้ันน้ผี ู้สอนจะตอ้ งจดั เตรยี มหรอื ชแ้ี นะแหล่งความรู้ต่าง ๆ ทีผ่ ู้เรยี นจะต้องใช้ค้นควา้ หาคาตอบจากเรอื่ งทเ่ี ขาสนใจและ สงสยั อาจเป็นประเภทเอกสาร ผูร้ หู้ รอื ผู้เชี่ยวชาญ สอ่ื ประเภทโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่หลากหลาย ผ้เู รียน จะตอ้ งไดร้ ับร้วู า่ มีแหล่งความรูใ้ ดบา้ ง ไดม้ องเห็นช่องทางทีจ่ ะใชแ้ หล่งความรู้นนั้ ๆ อย่างไรบา้ ง และสามารถกาหนด แนวทางกว้าง ๆ ได้วา่ จะทาอะไร ทาอยา่ งไร ใช้ทรัพยากรอะไร เพ่ืออะไร ฯลฯ ขั้นตอนท่ี 3 เขา้ สู่การวางแผนกอ่ น : เม่อื ผูเ้ รยี นไดก้ าหนดแนวทางกว้าง ๆแล้ว จะต้องนาแนวทางนนั้ มาวางแผนในการทางานวา่ จะทาอะไรก่อนหล้ง โดยการ สรา้ งแผนทีค่ วามคิด แลว้ นามาจัดทาเค้าโครงของโครงงาน กาหนดเปน็ หัวขอ้ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ชอ่ื โครงงาน ช่ือผู้จัดทา โครงงาน ชอ่ื ทป่ี รึกษาโครงงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน เหตุผลท่จี ัดทาโครงานวัตถุประสงคข์ องการจดั ทา ข้นั ตอนการ ดาเนินงาน ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ และแหล่งความรู้ทใี่ ช้ในการศึกษาค้นควา้ ข้นั ตอนที่ 4 ทาตามขน้ั ตอนอยา่ งสนุกสนาน : ขน้ั ตอนนีผ้ เู้ รียนจะตอ้ งดาเนนิ การตามขนั้ ตอนท่วี างไว้ โดยอยูใ่ นความดูแลและแนะนาของครผู ู้สอน โดยผ้เู รียนจะต้อง ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรอบคอบ มกี ารจดบนั ทึกข้อมลู ต่าง ๆ ไวเ้ ปน็ ระยะว่าทาอะไร ทาอยา่ งไร ได้ผลอย่างไร เมือ่ มปี ัญหา หรืออุปสรรคไดแ้ ก้ไขอย่างไร ผู้เรียนควรฝึกทักษะจากกิจกรรม และแหลง่ ความรทู้ ่ีหลากหลาย ตามความสนใจ เกิดการ เรียนร้ตู ามลาดับขัน้ โดยการปฏิบตั ิจรงิ ด้วยตนเอง ไดส้ นุกเพลดิ เพลนิ กบั การทางาน ไดท้ างานอยา่ งมคี วามสุข เกิดความ ภูมใิ จในผลงานท่ีปรากฎ และสามารถนาความรูน้ ้ันไปใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม ขนั้ ตอนที่ 5 เขียนรายงานอยา่ งม่ันใจ : การดาเนนิ การตามขน้ั ตอนนี้ เปน็ การสรุปการรายงานผลจากการปฏิบัตงิ านท่ผี ่านมา เพ่ือใหผ้ ู้อ่นื ได้ทราบแนวคิด วิธี ดาเนินงาน ผลท่ีไดร้ บั และขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวกบั โครงงานการเขยี นรายงานควรใช้ภาษาทีเ่ ขา้ ใจง่าย กระชับ ชดั เจน และครอบคลมุ ประเด็นสาคัญ ๆ อาจกาหนดเปน็ หัวข้อตา่ ง ๆหรือรายบท ไดด้ ังน้ี บทนา เอกสารที่เกีย่ วข้อง การ ดาเนนิ การศกึ ษา ผลการศึกษา สรปุ และข้อเสนอแนะ รวมทง้ั ภาคผนวกทตี่ ้องการนาเสนอในรายละเอียดดว้ ย ขั้นตอนที่ 6 นาเสนองานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม : นับเป็นขต้ั อนสุดทา้ ยของการจัดทาโครงงาน เปน็ การนาผลการดาเนนิ งานท้งั หมดมาเสนอให้ผูอ้ นื่ ไดท้ ราบ โดยเนน้ ความคดิ รเิ ริ่ม สรา้ งสรรค์ ความรับผดิ ชอบ อาจมีลกั ษณะเป็นเอกสาร รายงานชน้ิ งาน แบบจาลอง ฯลฯ ซง่ึ สามารถ นาเสนอในรปู แบบท่หี ลากหลาย เช่น การจัดนทิ รรศการ การแสดง การสาธติ การบรรยาย การจดั ทาส่ือสิ่งพิมพ์ การ จัดทาสอ่ื มลั ตมิ ีเดยี ฯลฯ
แผนภูมิการจัดการเรยี นรกู้ ารจัดกิจกรรมแบบ Active Learning ตามนโยบาย“ลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้” ด้วยกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) เร่อื ง พชื ในทอ้ งถ่นิ ทมี่ าและ การพฒั นากจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ เพือ่ การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยพัฒนาการจดั กจิ กรรมเพ่มิ เวลารู้ ความสาคญั ให้เชอ่ื มโยงกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มแี นวทางในการจดั กจิ กรรมโดยยดึ 7 หลักการสาคญั ได้แก่ 1. การเชอื่ มโยงมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั ตามหลักสูตร 2. เน้นการพัฒนา 4H (Head พฒั นาสมอง การคดิ วเิ คราะห์ Heart พฒั นาจติ ใจ Hand พัฒนาทักษะการปฏิบัติ และ Health พฒั นาสุขภาพ) 3. กิจกรรมทจ่ี ดั ให้นักเรยี นได้เรียนรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ ตอบสนองความสนใจ และความถนดั 4. เปิดโอกาสให้นักเรยี นไดว้ างแผนเกดิ ทักษะการคดิ ข้นั สงู 5. มีการทางานเป็นทมี ช่วยเหลือซ่งึ กนั และกัน มคี วามสามัคคี และเรยี นร้คู วามเป็นผู้นาผู้ตามทด่ี ี 6. มกี ารใช้แหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และการใช้เทคโนโลยี 7. ประเมินผลตามสภาพจรงิ เน้นการประเมินการปฏบิ ัตแิ ละคณุ ลักษณะ แนวคิด -การจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Active learning -การจัดกิจกรรมการเรียนร้แู บบบรู ณาการ -กิจกรรมลดเวลาเรียน / เพิม่ เวลารู(้ 4H) -การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) วธิ กี าร 1.การจัดกิจกรรมแบบ Active Learning โดยผ่านการเรียนร้โู ดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project- Based Learning) ตามนโยบาย“ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลา รู้” 2.ศึกษาความคิดเห็นของนักเรยี นท่มี ตี ่อรูปแบบการเรยี นรทู้ ี่แบบ Active Learning โดยใช้ โครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning)ที่บูรณาการแหลง่ เรยี นรู้ของพชื ในทอ้ งถนิ่ ผลความสาเร็จ 1.การพัฒนา 4 H (Head, Heart ,Hand, Health) 2.ความคดิ เห็นของนักเรยี นทีม่ ีต่อรปู แบบการเรยี นรู้ทีแ่ บบ Active Learning โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning) ท่บี รู ณาการแหล่งเรยี นรขู้ องพชื ในท้องถนิ่ การพัฒนาสติปญั ญา การพัฒนาจติ ใจ การพัฒนาทกั ษะการปฏิบตั ิ พัฒนาสุขภาพ (Head) (Heart) ทกั ษะชีวิต(Hand) (Health) โครงงานศึกษาใบเตยพืชใน โครงงานปลกู ฝังจิตใจที่ดงี าม โครงงานสร้างงานสรา้ ง โครงงานใส่ใจสขุ ภาพจาก ทอ้ งถ่ินสู่นวัตกรรมงานเขยี น ดว้ ยประดษิ ฐ์ดอกไม้จาก อาชีพด้วยการแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากใบเตย นิทานหนา้ เดยี ว ใบเตย อาหารจากใบเตย
ขนั้ ตอนการทาส่ิงประดิษฐ์จากใบเตย 1.1 การประดษิ ฐด์ อกกหุ ลาบจากใบเตย เรม่ิ จากไปหาเตยมากอ่ น ถ้าเป็นไปได้เลือกใบทก่ี าลงั ดี ไมอ่ ่อนหรอื ไมแ่ ก่จนเกินไป และขนาดใบก็ แลว้ แต่ ถ้าใบเลก็ ก็ได้ดอกเลก็ ใบใหญก่ ็ดอกใหญ่ ตามชอบ 1. ส่วนโคนใบเตยถือเป็นสว่ นของก้านกหุ ลาบน เริม่ จากกะจากโคนข้ึนมาเอาขนาดตามความยาว กา้ นทตี่ อ้ งการ จากนั้นพบั ไปทางขวา ใหไ้ ดอ้ ย่างภาพท่ี 1 จากภาพที่ 1 เราหมนุ ให้มาอย่ใู นรปู แบบสามเหลี่ยมตามภาพดา้ นล่าง (มือซา้ ยจับส่วนโคน มอื ขวา จบั สว่ นปลาย) 2. มือขวาจับสว่ นปลายไว้ มือซ้ายพบั สว่ นโคนลงมา ดงั ภาพ 3. จบั ส่วนโคนไว้ พบั ส่วนปลายลงมา (พบั ไปทางด้านหลงั ) 4. หมุนมอื ท่ีจบั ส่วนโคนพับทบลงมาหาส่วนปลาย 1 ครัง้ (จะได้ส่วนใจกลางดอกไม)้
5. ใชม้ อื ซ้ายเลอ่ื นขึ้นมาจบั ยดึ ส่วนใจกลางดอกไว้ให้มน่ั จากน้ันบดิ สว่ นปลาย 1 คร้งั ตามภาพ เพื่อ ทากลบี ดอก 6. จากนัน้ จบั รวบกนั ไว้ทก่ี า้ นลกั ษณะเหมอื นดอกไม้ 7. มือขวาบดิ ส่วนปลายแล้ว จับรวบไว้ทกี่ ้าน ทาอย่างน้ีไปเรื่อย ๆ จะไดก้ ลบี ดอกไม้ท่สี วยงาม 8. ทามาจนเกือบสดุ ปลายใบเตย 9. บดิ เหมอื นทากลีบดอกอกี 1 ชน้ั แต่ให้มีความแนน่ แบบรดั ขอ้ ไว้ 10. จากนนั้ นาปลายใบเตยซ่อนขัดไวด้ า้ นใน เปน็ อนั เสรจ็ 1 ดอก ทาจานวนดอกตามปริมาณทต่ี อ้ งการ จากนัน้ นามา จดั ช่อ เสร็จแลว้ จ้า ไปวางไว้ในรถดกี ว่า ขับไป หอมไปตลอดทาง
1.2 การประดษิ ฐ์พวงมาลยั ปลาตะเพียน 1. เรียนรวู้ ธิ ีการรอ้ ยพวงมาลยั จากภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ 2. สานปลาตะเพยี นคนละตัว 3. รอ้ ยพวงมาลัยโดยเรยี นร้จู ากภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น 4. นาปลาตะเพียนใบเตยมารอ้ ยรวมกับพวงมาลยั
1.3 การประดษิ ฐ์ใบเตยซ่อนกลิ่น 1. นามะกรูดมาเสียบไม้ พับกลีบใบเตย แล้วเสียบตะปูใหแ้ น่นเปน็ ช้นั ๆเรียงลงมา 2. เสียบกลีบกหุ ลาบจนรอบมะกรดู และตกแต่งให้สวยงาม
1.4 การประดิษฐก์ ระทงใบเตยใส่ขนม 1. ตัดใบเตยเปน็ ชอ่ ง ความยาวประมาณ 3.5 เซนตเิ มตร 2. การพับใบเตยจากดา้ นแขง็ มาหาดา้ นอ่อน กระทงจะไดร้ ปู สวยงาม 3. กลดั ไม้ใหแ้ น่น และสามารถใส่ขนมช้ินเล็กๆได้
ดา้ นจติ ใจ การนาดอกไมป้ ระดิษฐจ์ ากใบเตยไปรว่ มกิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนา
ความสามคั คีกนั ในกล่มุ
ฝกึ สมาธิ พฒั นาจิตใจใหน้ ิ่งสงบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: