v v v v vv ชนเผ่าไทย จงั หวัดนครพนม ๑ . ชนเผา่ ไทยญอ้ (ญ้อ) ถนิ่ ฐานเดมิ ของไทยญอ้ อยทู่ เี่ มอื งหงสา แขวงไชยบรุ ี ของประเทศลาว หรอื จงั หวดั ลา้ นชา้ งของไทยสมยั หนง่ึ ไทยญอ้ สว่ นใหญไ่ ดอ้ พยพ มาตง้ั ถน่ิ ฐานใหม่ ท่ีไชยบุร ี ปากนำ้� สงครามริมฝัง่ แมน่ ้�ำโขง (ตำ� บลไชยบรุ ี อำ� เภอทา่ อุเทน จงั หวดั นครพนมในปจั จบุ ัน) ในสมัยรัชกาลท่ี ๑ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๕๑ ตอ่ มาเมอ่ื เกิดกบฎ เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ในสมัย รัชกาลที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๙) พวกไทยญ้อท่ี เมืองไชยบุรีได้ถูกกองทัพเจ้าอนุวงศ์กวาดต้อนไปแล้วให้ไปต้ังเมืองอยู่ ณ เมืองปุงลิง ฝั่งซ้ายแม่น้�ำโขง (อยู่ในเขตแขวงค�ำม่วนประเทศลาว) อยู่ระยะหน่ึง ต่อมาได้กลับมาต้ังเมืองข้ึนใหม่ทางฝั่งขวาแม่น�้ำโขงต้ังเป็นเมืองท่าอุเทน เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๓ คือ บริเวณท่าอุเทน จังหวัดนครพนมในปัจจุบัน วิถีชีวิต ของชาวไทยญ้อ ลักษณะนิสัยใจคอ ของไทยญอ้ สว่ นมากทสี่ ดุ คอื ซอื่ สตั ย ์ สุจริต รักสงบ มีความสามัคคี ไม่ว่า จะมีอะไรเช่น การท�ำบุญ การปลูกบ้าน ท�ำนาวานหรือไหว้วานกัน (นาวาน คือ การลงแขกทำ� นา ทำ� งาน) ๒. ชนเผา่ ผู้ไทย ชาวผู้ไทยเป็นชาวจังหวัดนครพนมเผ่าหน่ึง ที่อาศัยอยู่ในเขต อำ� เภอเรณูนคร อำ� เภอนาแก อำ� เภอธาตพุ นม อ�ำเภอนาหว้า เดมิ ต้ังถ่นิ ฐาน ในแคว้นสิบสองจุไทย แคว้นสิบสองปันนา ชาวผู้ไทยได้อพยพจากฝั่งซ้าย ของแม่น�้ำโขงเข้ามาอยู่ในประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๓๖๙ ซ่ึงตรงกับสมัย รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร ์ ตามต�ำนานของชาวผู้ไทยเรณูนคร กล่าวไว้ในพงศาวดาร ลา้ นชา้ ง วา่ ทเี่ มอื งนำ้� นอ้ ยออ้ ยหนหู รอื แถน มปี เู่ จา้ ลางเซงิ ขนุ เคก้ ขนุ นาง ปกครองชาวผู้ไทย เม่ือเกิดทุกภิกขภัย พญากาหัวหน้าผู้ไทยคนหน่ึง ได้เกิดขัดแย้งกับเจ้าเมือง จึงชักชวนผู้ไทยจ�ำนวนหนึ่งมาอยู่ที่เมือง วังอ่างค�ำ แขวงสุวรรณเขตปัจจุบัน ที่เมืองแห่งนี้มีชาวข่าอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ท่รี ะลึกพิธีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ๕๑ อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม
v vv v v จึงเกิดพิพาทกันข้ึน ต่อมาผู้ไทยถูกชาวข่า และจีนฮ่อ บุกรุกท�ำลายเผาบ้าน เรือน และจับเอาพญาเตโชหัวหน้าชาวผู้ไทยไปเมืองจีน พญาเตโชได้ส่ังลูก หลานว่า อยา่ อยู่เมืองวังเลย ใหอ้ พยพไปอยฝู่ ่ังขวาของแม่น้�ำโขงเสยี เถิด ชาวผู้ไทยโดยการน�ำมาของท้าวเพชร ท้าวสาย จึงพาชาวผู้ไทย จากเมืองวัง เข้ามาอยู่ฝั่งขวาของ แม่น้�ำโขง โดยการต่อเรือและแพล่อง มาตามแม่น�้ำโขง ข้ามมาข้ึนฝั่งท่ีบ้านพระกลางท่า เขตอ�ำเภอธาตุพนม พระภิกษุทา เจ้าส�ำนักธาตุพนมเวลานั้น ได้แนะน�ำให้ไปต้ังบ้านเรือนที่ ดงหวายสายบ่อแก ชาวผู้ไทยจึงอพยพกันต่อไปและตั้งบ้านเรือนข้ึนใหม่ให้ ช่ือว่า เมืองเว รัชกาลที่ ๓ จึงโปรดเกล้าฯ ตั้งให้ท้าวสายเป็นพระแก้วโกมล เจ้าเมืองคนแรกและยกเป็นเมืองเรณูนครขึ้นกับเมืองนครพนม ปัจจุบัน คอื อำ� เภอเรณนู คร จงั หวดั นครพรม ๓. เผ่าไทยกะเลงิ กะเลิงเป็นชาวกลุ่มน้อยที่เป็นชาติพันธุ์ ทางภาษากลุ่มหนึ่ง เช่นเดียวกับชนกลุ่มญ้อ โส้ แสก ผู้ไทยและเวียดนาม ซ่ึงมีอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัด นครพนม กะเลงิ มถี นิ่ ฐานเดมิ อยทู่ างฝง่ั ซา้ ยแมน่ ำ้� โขง ชนกลมุ่ กะเลงิ ไดอ้ พยพ มาต้ังแหล่งอยู่ในประเทศไทยเมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีเศษ ตั้งแต่มีการปราบ เจ้าอนุวงศ์ในรัชกาลท่ี ๓ และมีการอพยพครั้งใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อ เกิดศึกกบฏฮ่อ ในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ ปัจจุบันมีชนกลุ่มชาติพันธุ์กะเลิงใน ประเทศไทย ทจี่ งั หวดั นครพนม สกลนคร กาฬสนิ ธ ์ุ มกุ ดาหาร มถี น่ิ ฐานอยใู่ น เขตอำ� เภอเมอื งนครพนม อำ� เภอทา่ อเุ ทน อำ� เภอนาแก อำ� เภอธาตพุ นม อำ� เภอ เรณู อ�ำเภอปลาปาก วิถีการด�ำเนินชีวิตของชาวกะเลิง เหมือนกับชาวอีสาน ท่ัวไป คือ ยึดถือฮีตสิบสอง ครองสิบสี่ เป็นหลักในการด�ำเนินชีวิต และมีคติ ความเช่อื ถอื ในเรอ่ื งผี นับถอื ผีมเหสกั ข์หลกั บ้าน วญิ ญาณบรรพบุรษุ ผีตาแหก ผปี า่ ผเี ขา ประเพณที ช่ี าวกะเลงิ บา้ นกรุ คุ ุ จดั ทำ� เปน็ งานบญุ ยงิ่ ใหญ่ คอื บญุ เผวส (เทศน์มหาชาติ) ซ่ึง ๓ ปี จะจัดให้มีข้ึนครั้งหนึ่ง นอกจากน้ี ก็มีประเพณี เลย้ี งผี ซง่ึ จัดเป็นประจ�ำทกุ ปี ๕๒ ที่ระลึกพธิ ีเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อ�ำ เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม
v v v v vv ๔. เผา่ ไทแสก เป็นชนกลุ่มน้อยภาคอีสานเผ่าหนึ่งในจ�ำนวนหลายๆ เผ่าท่ีมีอยู่ในประเทศไทย เดิมชาวแสกมีภูมิล�ำเนาอยู่ท่ีเมืองรอง ขึ้นกับกรุงเว้ อยู่ทางตอนกลางของประเทศเวียดนามและจีนชน เผา่ แสกเปน็ ชนเผา่ ทม่ี คี วามอตุ สาหะบากบนั่ ยดึ มนั่ ในความสามคั ค ี เมอ่ื เหน็ ภมู ลิ ำ� เนาเดมิ ไมเ่ หมาะสม จงึ ไดร้ วมสมคั รพรรคพวกอพยพ หาทอ่ี ยใู่ หม ่ โดยอพยพลงมาตามลำ� นำ�้ โขงแลว้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานชว่ั คราว อยรู่ ะหวา่ งประเทศเวยี ดนามกบั ประเทศลาว โดยม ี ทา้ ว กายซุ และ ท้าวกายชา เป็นหัวหน้าในการอพยพ ต่อมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองแห่ง กรุงศรีอยุธยากษัตริย์ของไทย ชาวแสก ได้อพยพข้ามแม่นำ�้ โขงมา ต้ังถ่ินฐานอยู่ท่ีป่าหายโศก การอพยพของชาวแสกแต่ละคร้ังนั้น ไมไ่ ดถ้ กู บงั คบั หรอื ถกู ขม่ แหงแตอ่ ยา่ งใด เมอ่ื ชาวแสกเหน็ วา่ บรเิ วณ ป่าหายโศก เป็นพ้ืนท่ีที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรต่างๆ จึงได้อพยพกันมาประกอบอาชีพอยู่แห่งนี้เรื่อยมา จนถึงสมัย พระสุนทรเป็นเจ้าเมืองได้พิจารณาเห็นว่าชาวแสกมีความสามารถ และความเข้มแข็ง สามารถปกครองตนเองได้จึงได้ยกฐานะ ของชาวแสกขึ้นเป็นเมืองโดยได้เปลี่ยนชื่อใหม่จากป่าหายโศก เปน็ เมืองอาจสามารถ หรอื บา้ นอาจสามารถ จนทกุ วนั นี้ ประเพณี และการแสดงสำ� คัญของแสกคือ แสกเต้นสาก ๕. เผา่ ไทยโส้ หรือไทยกะโซ่ เปน็ ชาวไทยตระกลู เดยี วกนั กบั พวกบรู หรอื พวกไทยขา่ นักมนุษยวิทยาถือว่าพวกไทยโซ่เป็นชาติพันธุ์ของมนุษย์ ในกลุ่ม มองโกเลียด์ มีภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างไปจากพวก ไทยขา่ แตภ่ าษานนั้ ถอื วา่ อยใู่ นตะกลู ออสโตรอาเซยี ตดิ สาขามอญ เขมรหรือตะตู ซึ่งสถาบันวิจัยภาษาฯ ของมหาวิทยาลัยมหิดลได้ รวบรวมไวบ้ ทความเร่อื งภาษาตระกูลไทย พวกกะโซ่ซ่ึงอพยพเข้ามาในสมัยรัชกาลท่ี ๓ ได้ตั้งขึ้น เป็นเมืองหลายเมือง คือ เมืองรามราช เป็นชาวกะโซ่จากเมือง เซียงฮ่ม ในแขวงสุวรรณเขต ต้ังขึ้นเป็นเมืองรามราช ข้ึนกับ เมืองนครพนม เม่ือ พ.ศ.๒๓๘๗ โปรดเกล้าฯ ตั้งให้ท้าวบัว แห่งเมืองเชียงฮ่ม เป็นเจ้าเมืองเป็นคนแรก ปัจจุบันเป็นพื้นที่ ทีร่ ะลกึ พิธีเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี ๕๓ อำ�เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
v vv v v รามราช ต�ำบลพระทาย ตำ� บลทา่ จำ� ปา อำ� เภอทา่ อเุ ทน ต�ำบล โพนสวรรค ์ จงั หวัดนครพนมเปน็ หมูบ่ ้านชาวไทยโส้ ๕๔ นอกจากนั้นยังมีชาวไทยโส้อยู่ในท้องท่ีอ�ำเภอ ปลาปาก จังหวัดนครพนมอีกหลายหมู่บ้าน เช่น ต�ำบลโคกสูง และบ้านวังตามัว ในท้องที่อ�ำเภอเมืองนครพนม ศิลปะ วัฒนธรรมกะโส้ซ่ึงรักษาไว้เป็นเอกลักษณ์ประจ�ำเชื่อชาต ิ ทเี่ ดน่ ชดั กค็ อื โซท่ งั่ บงั้ หรอื ภาษากะโซเ่ รยี กวา่ สะลา เปน็ พธิ กี าร ในการบวงสรวงวญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ ประจำ� ปี หรอื เรยี กขวญั และรักษาคนป่วย กับพิธี ซางกระมูด ในงานศพ และพิธีเหยา ในการเรียกขวญั ภูมิปัญญาชาวบา้ น เหยาเพอื่ รกั ษาโรคตา่ งๆ ๖. ไทยข่า อาศยั ในเขตอำ� เภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม ไทยขา่ เปน็ ชาวไทยอกี กลมุ่ หนงึ่ ทยี่ งั พอมหี ลงเหลอื บา้ งในพน้ื ทจ่ี งั หวดั นครพนม แต่ไมป่ รากฏใหเ้ ปน็ ชมุ ชนชัดเจนจะมเี พยี งครอบครวั ที่แทรกอยู่ในชุมชนอยู่ในพื้นที่อ�ำเภอนาแก ตามหมู่บ้านแถบ เทือกเขาภูพาน ซ่ึงเป็นรอยต่อกับอ�ำเภอดงหลวง จังหวัด มุกดาหาร อ�ำเภอดงหลวง จะมีชาวข่าอาศัยอยู่มาก ในอดีต จังหวัดมุกดาหารเป็นอีกอ�ำเภอหน่ึงท่ีขึ้นต่อจังหวัดนครพนม รวมถึงอ�ำเภอดงหลวงด้วย ปัจจุบันอ�ำเภอมุกดาหารได้เลื่อน เปน็ จงั หวดั และอำ� เภอดงหลวงกไ็ ปขน้ึ เปน็ สงั กดั มกุ ดาหารดว้ ย ชุมชนไทยข่าในจังหวัดนครพนม จึงไม่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด จึงมีเพียงกระจัดกระจายเป็นบางครอบครัวในชุมชนต่างๆ ดังกลา่ วมาแล้ว ไทยข่ามีถ่ินดั้งเดิมอยู่แขวงสุวรรณเขตสาละวัน และ อัตปือ ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และได้ อพยพเข้ามาอยู่ในพ้ืนที่ประเทศไทยต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ เป็นต้นมา นักมนุษยวิทยาถือว่า ชาวไทยข่าเป็นเผ่าด้ังเดิม ในแถบกลุ่มแม่น้�ำโขง สืบเชื้อสายมาจากขอมโบราณ ภายหลัง ขอมเสื่อมอ�ำนาจลง ภาษาของชาวไทยข่าเป็นภาษาในตระกูล ออสโตรอาเชียติก ในสมัยมอญเขมร ชาวไทยข่ามิได้เรียก ตัวเองว่าชาวไทยข่า แต่จะเรียกตัวเองว่าพวกบรู ค�ำว่า ข่า อาจมาจาก ขา้ ทาส ซงึ่ สำ� เนยี งอสี านจะออกเสยี ง ขา่ ทาส เนอื่ งจาก ในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีการจดั พวกบรูมาเป็นขา้ ทาสรับใช้กันมาก จงึ เรียกกนั มาวา่ ไทยข่า ท่ีระลกึ พิธีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อำ�เภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
v v v v vv ๗. ชนเผา่ ไทยอสี าน (ลาว) ประวัติความเป็นไทยอีสาน เป็นประชากร กลุ่มใหญ่ พูดภาษาไทย-ลาว ภาษาอีสาน เป็นกลุ่มผู้น�ำทางด้าน วัฒนธรรมภาคอีสาน เช่น ฮีต คอง ต�ำนาน อักษรศาสตร์ จารีตประเพณี นิยมตั้งหมู่บ้านเป็นกลุ่ม บนท่ีดอน เรียกตามภาษาท้องถ่ิน ว่า “โนน” ยึดท�ำเลการท�ำนา เป็นส�ำคัญ อาศัยอยู่ทั่วไป เร่ืองถ่ินเดิมของชาติพันธุ์ลาว มีแนวคิด ๒ อย่าง ซึ่งก็มีเหตุผลสนับสนุนพอๆ กันคือ ๑. ถิ่นเดิมของลาวอยู่ท่ีอีสานน่ีเอง ไม่ได้อพยพ มาจากไหน ๒. ถิ่นเดิมของลาวอยู่ที่อีสานและมีมาจาก ที่อ่ืนด้วย ได้มีการอพยพของพวกละว้า หรือข่าลงมาอยู่ ในแดนสุวรรณภูมินับเป็นคนพวกแรกที่เข้ามา พอเข้ามาอยู่ สุวรรณภมู ิกแ็ บ่งเป็นอาณาจักรใหญๆ่ ๓. อาณาจกั ร คอื อาณาจกั รทวารวดี ซงึ่ มนี ครปฐม เป็นราชธานี มีอาณาเขตถึงเมืองละโว้ (ลพบุรี) อาณาจักร ทส่ี องคอื โยนก เมอื งหลวง ไดแ้ ก่ เมอื งเงนิ ยาง หรอื เชยี งแสน มีเขตแดนขึ้นไปถึงเมืองชะเลียงและเมืองเขิน อาณาจักร ท่ีสามคือโคตรบูร ได้แก่ บรรดาชาวข่าท่ีมาสร้างอาณาจักร ในลุ่มน้�ำโขง มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองโคตรบูรณ์ ซ่ึงอยู่ทาง ฝง่ั ซ้ายของแมน่ ำ้� โขง ๘. ชนเผ่าไทกวน ประวตั คิ วามเปน็ มา ปจั จบุ นั อาศยั อยใู่ นพน้ื ทบ่ี า้ น นาถอ่ น ต�ำบลนาถ่อน อำ� เภอธาตพุ นม ชนเผา่ ไทกวนอพยพ จากสิบสองจุไท ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ มีการอพยพ ครั้งส�ำคัญ ๒ กลุ่ม คือกลุ่มของขุนบรมมา ต้ังเมืองท่ี บา้ นนานอ้ ยออ้ ยหนหู รอื เมอื งแถง สว่ นปแู่ สนบางนางแสนเกา้ ได้อพยพมาทางใต้และต้ังเมืองปุงลิง เมืองวังค�ำอยู่ที่บริเวณ เชนอ้ ย หรอื เชบงั้ ไฟอนั ทร่ี าบหบุ ระหวา่ งหบุ เขาทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ ซึ่งชาวบา้ นเรียกวา่ “กวน” ค�ำวา่ กวนในทีน่ ี้หมายถึง ชาวไท พวนทอี่ พยพลงมาตงั้ ชมุ ชน เมอื่ เวลาผา่ นไปคำ� วา่ “ไทพวน” จงึ เพย้ี นมาเปน็ “ไทกวน” ท่รี ะลึกพิธเี ปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ๕๕ อ�ำ เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
v vv v v วัฒนธรรมและความเชือ่ ชนเผ่าไทกวนนับถือผีบรรพบุรุษ โดยในวันท่ี ๒๕ ๕๖ ตุลาคม ของทุกปี จะมีพิธีการร�ำบวงสรวง ศาลปู่ตาแสง เพื่อ ปกปักรักษาคนในชุมชน นอกจากน้ียังมีวัฒนธรรมการฟ้อนร�ำ ไทกวน โดยเลียนแบบท่าจากสัตว์ป่า ได้แก่ ช้างขึ้นภู งูเล่น หาง กวางโชว์เขา เสือออกเหล่า เต่าออกลาย ควายตั้งท่า ม้าออกศึก ระทึกกระทิงเปล่ียว ขับเคี่ยวขบวนลิง สิงห์ค�ำราม ในด้านวัฒนธรรมทางภาษา ภาษาพูดของชนเผ่าไทกวน มคี วามคลา้ ยคลงึ กับภาษาผไู้ ทย จะใช้สระโอะ แทนสระออ เช่น อีโพะ๊ หมายถึง พ่อ พร้าโก๊ะ หมายถึง มดี โต้ เฮา, โต๋ หมายถึง เรา, ทา่ น ๙. ชาวไทยเชอื้ สายจีนในจงั หวดั นครพนม ชาวไทยเช้ือสายจีน ในจังหวัดนครพนม บรรพบุรุษ อพยพมาจากจังหวัดแต้จ๋ิว จากเมืองชัวเถา มณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของประเทศจีน อพยพมาทางเรือ ผ่านมหาสมุทร แปซิฟิคเป็นแรมเดือน จึงเข้ามาอาศัยในประเทศไทย เม่ือ เข้ามาอยู่อาศัยก็จะแต่งงานกับผู้หญิงไทยกลายเป็นค่านิยม ในสมัยนั้น ท�ำให้การสืบเชื้อสายเป็นคนไทยเช้ือสายจีน สบื ต่อเนอ่ื งมาจนถงึ ปัจจุบนั มกี ารรวมกลมุ่ พอ่ คา้ จีน ในจังหวัด นครพนม ตง้ั เปน็ “สมาคมพอ่ คา้ จนี ” ควาสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชาวไทย กบั ชาวจนี เปน็ ไปดว้ ยดีมาโดยตลอด เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ สมาคม พอ่ คา้ จนี ไดเ้ รม่ิ กอ่ ตง้ั สถานศกึ ษา ชอื่ “โรงเรยี นตงเจย่ี ” ขนึ้ เพอ่ื ให้ ลูกหลานชาวจีนได้มีโอกาสเรียนรู้ภาษาจีนเพิ่มเติมจาก ภาษาไทยท่ีเป็นภาษาบังคับต้องเรียนรู้อยู่แล้วด้านวัฒนธรรม ชาวไทยเชื้อสายจีน จะได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณี บางอย่างมาจากบรรพบุรุษได้แก่ การประกอบพิธีด้ังเดิมตาม ความเชื่อ เช่น เทศกาลกินเจ จัดสมโภชเจ้าพ่อหมื่น เจ้าพ่อ คำ� แดง เจา้ พอ่ สมั มาติ เจา้ พอ่ สบิ สอง เปน็ ตน้ แตข่ ณะเดยี วกนั กถ็ กู หล่อหลอมจากวัฒนธรรมไทย ท�ำให้มีการผสมผสานสอง วัฒนธรรมไดอ้ ยา่ งกลมกลนื ทีร่ ะลกึ พิธีเปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อำ�เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม
v v v v vv ๑๐. ชาวไทยเชอ้ื สายเวียดนาม ชาวไทยเชอ้ื สายเวยี ดนาม จงั หวดั นครพนมมชี าวเวยี ดนาม อพยพเข้ามาพ�ำนักมากพอสมควร เพราะจังหวัดนครพนมที่มี พรมแดนติดกบั อนิ โดจีน มกี ลุม่ ชาวเวยี ดนามเข้ามาอาศัยอยกู่ ระจาย ในหลายๆ พ้นื ท่มี ีการอพยพเข้ามา ดงั นี้ ยุคท่ี ๑ ชาวเวียดนามนับถือศาสนาคริสต์ เข้ามาปลาย ศตวรรษที่ ๑๘ ส่วนมากจะอยู่ในบ้านหนองแสง กลุ่มน้ีมาจากภาค กลางประเทศเวียดนาม ได้แก่ จังหวัดฮาติ๋ง (HA Tinh) และเงอัน (Nghe An) ยุคที่ ๒ ช่วงปลายศตวรรษท่ี ๑๙ และต้นศตวรรษที่ ๒๐ การต่อต้านฝรั่งเศสในประเทศเวียดนามทวีความรุนแรงมากขึ้น ขบวนการรกั ชาติได้เกิดขน้ึ หลายขบวนการในช่วงเวลาน้ัน ยคุ ท่ี ๓ ปี ค.ศ. ๑๙๔๖ หลงั สงครามโลกท่ี ๒ ชาวเวยี ดนาม จำ� นวนมากตอ้ งอพยพหนภี ยั สงคราม มาตง้ั หลกั แหลง่ ในประเทศไทย ทางการไทยเรียกว่า พวกญวนอพยพ ส่วนมากอาศัยอยู่ในตัวเมือง จังหวัดนครพนม บางส่วนก็อาศัยอยู่บ้านดอนโมง บ้าหนองแสง บา้ นนาจอก และบรเิ วณหลังวัดศรเี ทพ ชาวเวียดนามกล่มุ นีส้ ่วนมาก มาจากภาคเหนอื ประเทศเวยี ดนาม ไดแ้ ก่ จงั หวดั นามดง่ิ (Nam dinh) จงั หวัดนงิ บงิ่ (Ning binh) จังหวดั เชินเตยี (Son tay) และบางส่วน มาจากภาคกลางประเทศเวียดนาม และปัจจุบัน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ชาวเวยี ดนามอาศยั อยใู่ นจงั หวดั นครพนม ประมาณ ๑,๔๐๐ ครวั เรอื น มีประชากรจำ� นวน ๘,๐๐๐ คน ทา่ นประธานโฮจมิ นิ ห์ ไดเ้ ขา้ พำ� นักที่ จังหวัดนครพนม ในกลางปี ค.ศ. ๑๙๒๘ ได้พักอาศัยอยู่หลายพื้นท่ี พักอาศัยนานที่สุดก็คือ บ้านนาจอก หรือบ้านใหม่ (Ban May) ซ่ึงปัจจุบันเป็นหมู่บ้านมิตรภาพ ไทย-เวียดนาม มีพิพิธภัณฑ์และ อนุสรณ์สถานเกี่ยวกับท่านประธานโฮจิมินห์ เป็นแหล่งท่องเท่ียว ที่นิยมส�ำหรับชาวเวียดนามท่ีเดินทางมาในจังหวัดนครพนม และ ในประเทศไทย ท่ีระลกึ พธิ ีเปิดห อ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี ๕๗ อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม
vv แหลง่ ท่องเทย่ี ว จังหวดั นครพนม v พระธาตพุ นม ต ามต�ำนานพระธาตุพนม ในอุรังคนิทานกล่าวว่า สมัยหนึ่งใน ปจั ฉิม โพธิกาล พระพุทธเจ้า พร้อมทั้งพระอานนท์ ได้เสด็จมาทาง ทศิ ตะวนั ออก โดยทางอากาศ ไดพ้ ยากรณ์ไวว้ ่า ในอนาคตจะเกิดบา้ นเมืองใหญ่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธศาสนา แล้วเสด็จมาที่เวินพระบาทปลา ซึ่งอยู่เหนือ เมืองนครพนมปัจจุบัน ได้ทรงพยากรณ์ท่ีต้ังเมืองมรุกขนคร (นครพนม) และ ได้ประทับพักแรมท่ีภูก�ำพร้าหน่ึงคืน พญาอินทร์ได้เสด็จมาเฝ้า และทูลถาม พระพทุ ธองคถ์ งึ เหตทุ ม่ี าประทบั ทภ่ี กู ำ� พรา้ พระพทุ ธองคไ์ ดต้ รสั วา่ เปน็ ประเพณี ของพระพทุ ธเจา้ ทั้ง ๓ พระองคใ์ นภทั ทกัลป์ทน่ี พิ พานไปแล้ว บรรดาสาวกกจ็ ะ นำ� เอาพระบรมสารรี กิ ธาตุมาบรรจุไว้ ณ ท่นี เ้ี ช่นกนั เมื่อพระพทุ ธองคเ์ สดจ็ ปรินพิ พานแล้ว มลั ลกษตั รยิ ท์ งั้ หลายได้ถวาย พระเพลิงพระสรีระ แต่ไม่ส�ำเร็จ จนเม่ือพระมหากัสสปะมาถึงได้อธิษฐานว่า พระธาตุองค์ใดที่จะอัญเชิญไปประดิษฐานที่ภูก�ำพร้า ขอพระธาตุนั้นเสด็จมา อยู่บนฝ่ามือ ดังนั้นแล้ว พระอุรังคธาตุก็เสด็จมาอยู่บนฝ่ามือขวาของพระมหา กัสสปะ พระมหากัสสปะ พร้อมด้วยพระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ ก็ได้อัญเชิญ พระอุรังคธาตุมาทางอากาศ ได้อัญเชิญพระอุรังคธาตุเข้าบรรจุ ณ วัด พระธาตุพนมในปัจจบุ นั เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ วดั พระธาตุพนมไดร้ บั การยกฐานะ เป็นพระอารามหลวง ช้ันเอกชนิดวรมหาวิหาร พระธาตุพนมได้รับการบูรณ ปฏสิ งั ขรณม์ าตามลำ� ดบั การบรู ณะครงั้ แรกและครง้ั ทสี่ อง ไมไ่ ดบ้ นั ทกึ ปที บี่ รู ณะ ไว้ การบูรณะคร้งั ทส่ี ามเม่อื ปี พ.ศ. ๒๑๕๗ วันท่ี ๑๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ เวลา ๑๙.๓๘ น. ด้วยเหตทุ ี่มฝี นตก พายุพัดแรงติดต่อมาหลายวันและความเก่าแก่ขององค์พระธาตุ พระธาตุพนม จงึ ไดล้ ม้ ทลายลงมาทง้ั องค์ ประชาชนทง้ั ประเทศไดบ้ รจิ าคทนุ ทรพั ยแ์ ละรฐั บาล ไดก้ อ่ สรา้ งองคพ์ ระธาตขุ น้ึ ใหมต่ ามแบบเดมิ การกอ่ สรา้ งนเ้ี สรจ็ สน้ิ เมอื่ วนั ท่ี ๒๓ มนี าคม ๒๕๒๒ นอกจากจะบรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตใุ นองคพ์ ระธาตดุ งั่ เดมิ แลว้ ยังมีของมีค่ามากมายนับหม่ืนชิ้นบรรจุและประดับไว้ในองค์พระธาตุด้วย โดย เฉพาะฉัตรทองค�ำบนยอดพระธาตุ ซึ่งมีน�้ำหนักมากถึง ๑๑๐ กิโลกรัม เป็นวัด พระธาตุประจ�ำปีเกิด ปีวอก และเป็นวดั พระธาตุประจำ� วนั เกดิ วันอาทิตย์ ๕๘ ท่ีระลึกพธิ ีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม
v พญาศรีสัตตนาคราช จากความเชอ่ื ในเรอื่ ง “พญานาค” สำ� หรบั ชาวพทุ ธแลว้ ถือเปน็ เรื่องท่ถี กู เล่าขานกนั มานานท้งั ในพทุ ธประวตั กิ ็ดี ตลอดจน เร่ืองราวจากบรรดาเกจิอาจารย์หลายรูปก็ดี จึงไม่น่าแปลกใจถ้า จะกล่าวว่า “พญานาค” ถือเป็นส่วนหน่ึงส�ำหรับชีวิตของคนไทย และอกี หลาย ๆ กรณที เี่ กดิ ขน้ึ จากความเชอื่ ความศรทั ธา จากความ เช่ือและความศรัทธาของท้ังพ่ีน้องชาวไทยและชาวลาวเกี่ยวกับ องค์พญานาคที่คอยดูแลปกปักษ์รักษาผู้คนในแถบลุ่มน�้ำโขงและ องค์พระธาตุพนม กล่าวคือ ทั้งฝั่งไทยและฝั่งลาวต่างมี กษัตริย์ แห่งนาคราช หรือ นาคาธิบดี แยกปกครองดูแล ฝั่งลาว คือ พญาศรีสัตตนาคราช (นาคาธิบดีสีสัตตนาคบาดาล) ซ่ึงเช่ือว่าเป็น กษัตริย์แห่งพญานาคฝั่งลาว เป็นพญานาคเจ็ดเศียร ฝั่งไทย คือ พญาศรีสุทโธนาคราช (นาคาธิบดีสีสุทโธ) เป็นกษัตริย์พญานาค ฝั่งไทย เป็นพญานาคหน่ึงเศียร พญาศรีสุทโธ ท่านชอบจ�ำศีล บ�ำเพ็ญเพียร และปฏิบัติธรรม มีนิสัยอ่อนโยนมีเมตตา ไม่ชอบ การต่อสู้ ชอบมาปฏิบัติธรรมที่พระธาตุพนม โดยมอบหมายให้ เหล่าพญานาค ๖ อ�ำมาตย์ดูแลแทน ในระหว่างที่หลบมาจ�ำศีล ภาวนา และทางจังหวัดนครพนม จึงออกแบบและก่อสร้าง “องค์พญาศรีสัตตนาคราช” โดยการวางแผนออกแบบก่อสร้าง นานเกือบ ๕ ปี เพ่ือเป็นนิมิตหมายอันดีในการสร้างสัญลักษณ์ เมืองขึ้น และได้ท�ำการประกอบพิธีอัญเชิญองค์พญาศรีสัตตนา คราชข้ึนประดิษฐาน ท่ามกลางประชาชนชาวไทยและลาว ตลอดจนผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง และ พระเกจอิ าจารยช์ อ่ื ดงั จงั หวดั นครพนม และพระสงฆ์จากวัดใกล้เคียงมาร่วมในพิธี โดยทางจังหวัดได้ท�ำ พิธีสมโภชใหญ่ พุทธาภิเษก รวม ๙ วัน ๙ คืน ระหว่างวันที่ ๙– ๑๘ กันยายน ๒๕๕๙ ที่ผ่านมาถือเป็นพิธีศักดิ์สิทธ์ิท่ีย่ิงใหญ่ จะมี สาวงามจาก ๗ ชนเผา่ ของแตล่ ะอำ� เภอกวา่ ๔๐๐ คนมารำ� บวงสรวง ตลอด ๙ วัน ๙ คืนอีกด้วย ภายใต้ความเชื่อเก่ียวกับ “องค์พญา ศรสี ตั ตนาคราช” ซง่ึ เปน็ แลนดม์ ารค์ แหง่ ใหมข่ อง จงั หวดั นครพนม อย่างท่ีทราบกันว่าพี่น้องชาวไทยและชาวลาว ล้วนมีความเช่ือ ผูกพันอยู่กับองค์พญานาค พอๆ กับความผูกพันในล�ำน้�ำโขง รุ่น ปยู่ า่ ลว้ นศรทั ธาในความศกั ดสิ์ ทิ ธข์ิ องพญานาคในฐานะทเ่ี ปน็ ผดู้ แู ล ท่รี ะลกึ พิธีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ๕๙ อ�ำ เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
ปกปกั ษร์ กั ษาแถบลมุ่ นำ�้ โขง รกั ษาพทุ ธศาสนา รวมถงึ องคพ์ ระธาตพุ นม ซ่ึงเป็นองค์พญานาคทองเหลืองที่ใหญ่ท่ีสุดของภาคอีสาน แน่นอน ว่าจากประติมากรรมท่ีสูงค่า ผนวกกับความเช่ือความศรัทธาท่ีมีต่อ องค์พญาศรีสัตตนาคราช ย่อมส่งผลให้จังหวัดนครพนม ดินแดนแห่ง ลุ่มน้�ำโขงกลายเป็นแลนด์มาร์คส�ำคัญท่ีสร้างคุณค่าต่อเศรษฐกิจของ จังหวัดอย่างไม่อาจปฏิเสธ ณ บริเวณที่ประดิษฐานองค์พญานาค ลานศรีสัตตนาคราช ริมฝั่งแม่น�้ำโขงหน้าส�ำนักงานป่าไม้ ถนนสุนทร วิจิตร ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม แหล่งท่องเท่ียวจังหวัดนครพนม ศูนย์กลางท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง องค์พญาศรีสัตตนาคราช หลอ่ ดว้ ยทองเหลอื ง มนี ำ้� หนกั รวม ๙,๐๐๐ กก. เปน็ รปู พญานาคขดหาง ๗ เศยี ร ประดษิ ฐานบนแทน่ ฐานแปดเหลี่ยม กว้าง ๖ เมตร ความสูง ทง้ั หมดรวมฐาน ๑๕ เมตร สามารถพน่ นำ้� ได ้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารกอ่ สรา้ ง คร้ังนี้เพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี และความเชื่อเก่ียวต่อ เร่ืองพญานาคของชาวไทย และชาวลาวที่อาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำโขง อีกท้ัง ยังต้องการยกระดับแหล่งท่องเท่ียวของจังหวัดนครพนม เพ่ือรองรับ การเปน็ ศนู ยก์ ลางการทอ่ งเทย่ี วในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ้� โขง ซงึ่ สถานทแ่ี หง่ น้ี จะกลายเปน็ แลนมารก์ แหง่ ใหมอ่ กี จดุ หนง่ึ ของภมู ภิ าคน้ี ซงึ่ ลา่ สดุ ในการ ส่งท้ายปี ๒๕๕๙ของ จังหวดั นครพนม สุดคับคั่ง ผคู้ นแหก่ ราบขอพร พญาศรีสัตตนาคราชแน่น นักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและต่างประเทศ พากันหล่ังไหลมาพักผ่อนในวันหยุดยาว ประชาชนในพื้นท่ีท�ำบุญ ตักบาตรพระ จากนั้นก็ไปกราบไหว้บูชาพญาศรีสัตตนาคราช ขอพร รับโชคกันอย่างคึกคัก และสถานที่แห่งนี้ ยังเป็นการแสดงถึงอ�ำนาจ และการกระจายความเจริญรุ่งเรืองไปสู่นานาประเทศ โดยจะต้ังเด่น เปน็ สงา่ ทา่ มกลางทวิ ทศั นอ์ นั งดงามรมิ แมน่ ำ�้ โขง และทสี่ ำ� คญั องคพ์ ญา ศรสี ตั ตนาคราชองคน์ ี้ จะไมม่ ที ใ่ี ดเหมอื นเพราะมสี รอ้ ยสงั วาลคลอ้ งคอ เหมอื นกบั ลวดลายทซี่ มุ้ ประตขู ององคพ์ ระธาตพุ นม เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ถงึ วถิ ชี ีวิตและวัฒนธรรมของจงั หวัดทีส่ บื สานตอ่ เนอ่ื งมายาวนาน ๖๐ ท่ีระลึกพธิ เี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อำ�เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
v สะพานมติ รภาพ ๓ ระหวา่ งไทย–ลาว เป็นสะพานท่ีเชื่อมต่อระหว่างประเทศไทย (นครพนม) กับประเทศลาว (ค�ำม่วน) พ้ืนที่ฝั่งไทย ที่บ้านห้อม ต�ำบล อาจสามารถ อ�ำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ฝั่งลาว อยู่ท่ีบ้านเวินใต้ เมืองท่าแขก แขวงค�ำม่วน ควบคุมการก่อสร้าง โดยส�ำนักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวงและบริษัทอิตาเลี่ยนไทย จ�ำกัด เป็นผู้รับจ้างก่อสร้าง ใช้งบประมาณก่อสร้างจากรัฐบาล ไทยทั้งสิ้น ๑.๗๒๓ ล้านบาท มีระยะเวลาก่อสร้างรวม ๙๐๐ วัน เป็นเส้นทางการคมนาคมขนส่งด้านการค้า และการท่องเที่ยว เช่ือมโยงจากประเทศไทย ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม และ ตอนใต้ฝั่งตะวันออกของประเทศจีน ซึ่งมีความยาว ๗๘๐ เมตร มีช่องลอดกว้าง ๖๐ เมตร สงู ๑๐ เมตร ๒ ชว่ ง ความกวา้ งสะพาน ๑๓ เมตร และมชี ่องจราจร ๒ ช่อง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธี วางศิลาฤกษ์ สะพานมิตรภาพ ไทย–ลาว แห่งท่ี ๓ (นครพนม– ค�ำม่วน) วันศุกร์ที่ ๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ มณฑลพิธี บ้านห้อม ต�ำบลอาจสามารถ อ�ำเภอ เมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม และเสดจ็ ทรงเปน็ ประธานพธิ เี ปดิ อย่างเป็นทางการร่วมกับสหายบุนยัง วอละจิด รองประธาน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ (๑๑–๑๑–๒๐๑๑) เวลา ๑๑.๑๑ น. สะพานแห่งน้ีถือเป็นเส้นทางเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญ แหง่ ใหมข่ องภาคอสี าน นอกจากนย้ี งั ทำ� ใหก้ ารทอ่ งเทยี่ วในจงั หวดั นครพนมคกึ คกั ขน้ึ มาดว้ ย เพราะนกั ทอ่ งเทยี่ วสามารถขา้ มไปเทยี่ ว ยังประเทศเพอื่ นบ้านได้สะดวกสบายมากขนึ้ ที่ระลกึ พธิ ีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ๖๑ อำ�เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
“กันเกรา” ตน้ ไม้ทรงปลกู กั นเกรา (ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Fagraea fragrans) เปน็ ต้นไมย้ นื ตน้ ขนาดกลางถึงใหญ่ ขึน้ โดยทั่วไป ในทุกภาคของประเทศไทยในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มกี ล่ินหอมขจรขจาย ต้นกนั เกรามชี ื่อเรยี กอ่นื วา่ มันปลา ตำ� เนา มะซูไม้ต้น กันเกรามชี ่ือเรียกต่างกนั ไปคอื ภาคกลางเรยี ก กนั เกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา ส่วนภาคใต้ เรียก ต�ำแสง หรือต�ำเสา ซึ่งถึงเป็นไม้มงคลชนิดหน่ึง อันมีชื่อเป็นมงคลและมี คุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์ คือช่ือกันเกรา หมายถึง กันส่ิงชั่วร้ายท้ังหลายไม่ให้มาท�ำอันตรายใดๆ ช่ือต�ำเสาคือ เป็นมงคลแกเ่ สาบ้านไมใ่ ห้ปลวก มอด แมลงต่างๆ เจาะกนิ ชอื่ มันปลา น่าจะเปน็ ลกั ษณะของ ดอกทเ่ี หมอื นกบั ไขมนั ของปลาเมอื่ ลอยนำ้� ไขมนั ของปลาในถว้ ยนำ�้ แกง โดยเฉพาะชว่ งขา้ วใหมป่ ลามนั ทปี่ ลา จะมคี วามมันและเอร็ดอรอ่ ยเปน็ ท่ีสุด ตน้ กนั เกรามลี กั ษณะตน้ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ่ สงู ๑๕ – ๒๕ เมตร เปลอื กสนี ำ้� ตาลเขม้ แตกเป็นร่องลึกไม่เป็นระเบียบ ใบเด่ียวออกตรงกันข้าม แผ่นใบรูปมน ขนาดกว้าง ๒.๕–๓.๕ เซนติเมตรยาว ๘–๑๑ เซนติเมตร ปลายใบ แหลมหรือยาวเรียวฐานใบแหลม โคนมน ใบเขียวมันวาว มีทรง พุ่งเป็นทรงฉัตรแหลมสวยงาม ดอกเร่ิมบานสีขาว แล้วเปลี่ยน เป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ผลกลมเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๖ มม. สีส้มแล้วเปลี่ยนไปเป็นสีแดงเลือดนกเม่ือแก่เต็ม ท่ี มีเมล็ดขนาดเล็กเป็นจ�ำนวนมากนิเวศวิทยา ขึ้นท่ัวไป ในป่าเบญจพรรณชื้น และตามท่ีต่�ำ ที่ชื้นแฉะใกล้น�้ำ ท่ัวทุกภาค ของประเทศไทยออกดอก เมษายน–มิถุนายน เป็นผล มิถุนายน– กรกฎาคม ขยายพันธโุ์ ดยเมลด็ กันเกรามีความสวยงามและกล่ินหอมไม่เหมือนใคร ทั้งยัง เป็นไม้มงคล ๑ ใน ๙ ชนิด เช่นเดียวกับราชพฤกษ์ ขนุน ชัยพฤกษ์ ทองหลาง ไผ่สสี ุก ทรงบาดาล สกั และพะยงู ทีค่ นนิยมนำ� มาใช้ในพิธีกรรม เมอ่ื เวลากอ่ สร้างบ้านเรือนใหเ้ ป็นสิรมิ งคล ๖๒ ที่ระลึกพธิ เี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม
บรรณานกุ รม กรมศลิ ปากร วฒั นธรรม พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณแ์ ละภูมปิ ัญญา จงั หวัดนครพนม. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ครุ ุสภา. ๒๕๔๔. ความเปน็ มาห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”. สบื คน้ จาก http://lrls.nfe.go.th/LRLS. เมอ่ื วันท่ี ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑. พระราชประวตั ิสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมาร.ี สืบคน้ จาก https://th.wikipedia.org/wiki. เม่ือวันท่ี ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑. พระราชสริ วิ ฒั น์ ประวตั ิวดั สว่างสุวรรณาราม. นครพนม. ม.ป.ป. สำ�นักงานจังหวัดนครพนม. มานครพนมชมสามทส่ี ุดเพอ่ื สุขทีส่ ุด นครพนม. ม.ป.ป. ทีร่ ะลกึ พิธีเปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ๖๓ อ�ำ เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
ภาคผนวก ๖๔ ทร่ี ะลกึ พธิ ีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
ทร่ี ะลึกพธิ เี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี ๖๕ อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม
๖๖ ทรี่ ะลึกพธิ ีเปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม
ทร่ี ะลึกพธิ เี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี ๖๗ อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม
แบบเหรยี ญทีร่ ะลกึ หอ้ งสมดุ ประชาชน ”เฉลิมราชกุมาร”ี วัดสวา่ งสุวรรณาราม อ�ำเภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม แบบมีหว่ งทองคำ� ๖๘ ท่ีระลกึ พธิ เี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม
รายนามผู้รว่ มสมทบทนุ สร้าง ห้องสมดุ ประชาชน ”เฉลิมราชกมุ าร”ี อำ� เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม ๑. นางรงุ่ ทวิ า ศรีวรขาน ๙๐,๐๐๐ บาท ๓๐. นางไพณี โสภณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๒. น.ส.สรอ้ ย สกุลเด็น ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๑. น.ส.ไฉไล พฤกพฒั นาชยั ๓๐,๐๐๐ บาท ๓. นางเพญ็ ศรี ทับธานี ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๒. นางอ�ำนวย น้อยสา ๓๐,๐๐๐ บาท ๔. นายปัญญา ศาสตรา ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๓. นางนงนภัส สขุ สบาย ๓๐,๐๐๐ บาท ๕. นายปยิ วทิ ย์ เชิดกล่นิ ๔๐,๐๐๐ บาท ๓๔. นางอชั ราภรณ์ โค้วคชาภรณ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๖. นายพรศกั ด์ิ ธรรมวานิช ๑๓๐,๐๐๐บาท ๓๕. นายสมหมาย โค้วคชาภรณ ์ ๕๐,๐๐๐ บาท ๗. นายสมยศ ประลอบพนั ธ์ุ ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๖. น.ส.พรวิจิตร โคว้ คชาภรณ์ ๔๐,๐๐๐ บาท ๘. นายมงคล จองลีพันธ ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๗. นายภกั ดี คงปาน ๓๐,๐๐๐ บาท ๙. นางจารณุ ี จองลีพนั ธ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๘. นายบญุ เกดิ หมอ่ มบ่าว ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๐. น.ส.โสวิชญา วงษาชยั ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๙. นายพรเพชร ทามนตรี ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๑. นางรชั นีกร บโุ พธิ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๐. นางภัศราภรณ์ ชดิ ทอง ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๒. นายขปี นาวุธ สีเขยี ว ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๑. นางธนั ยพร บวรดิเรกลาภ ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๓. นายเจริญ แสนวิเศษ ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๒. นายมารตุ อุปนสิ ากร ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๔. นายประชาคม ภแู ล่นคู ่ ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๓. นายอำ� นาจ นาไชย ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๕. นางฐติ าพร กติ ศิ รีวรพันธ ์ุ ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๔. นายประยูร จันทร์ชนะ ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๖. นางหงษา ปกั ษส์ ังคะเนย์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๕. นางวนิดา ไชยตน้ เทือก ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๗. นางพูลทรัพย์ เตนิ เตอื น ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๖. นางจริยา ปารพี ันธ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๘. นางพชิ ญ์สินี ปาพรหม ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๗. นายศิลป์ ประก่งิ ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๙. นายวริ ฬุ ชมุ ชชู าต ิ ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๘. นายดนัย แซร่ ิม ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๐. นายพนั ธ์ทิพย์ แกว้ บุดตา ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๙. นายวัชร์โรจน์ ไชยพเิ ดช ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๑. น.ส.บุศลิน ช่างสลกั ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๐. นางนวลจันทร์ ตีรวัฒนประภา ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๒. นางนงลกั ษณ์ ตณั ฑวรา ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๑. นางปรัชดา ตั้งอุปละ ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๓. น.ส.ปิ่น เสนาสี ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๒. นายณปภทั ธ์ ฑฆี ธนานนท์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๔. นายปราชญ์ แขวงเมอื ง ๓๐,๐๐๐ บาท (บ. โตโยต้า เจรญิ ศรี จก.) ๒๕. น.ส.รังรอง ไชยเชษฐ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๓. นางดูม อภัยโส ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๖. นายด�ำรง ธงยศ ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๔. นางสุนา กติ ินนั ทพร ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๗. นางแสงเพญ็ โลค่ ำ� ๓๐,๐๐๐ บาท (บ. สยามนิสสันนครพนม จก.) ๒๘. น.ส.สุชชั ญา แพทย์ผล ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๕. นางกาญจนา ธรรมโภคิน ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๙. น.ส.พรี าดา แพทย์ผล ๓๐,๐๐๐ บาท (ร้านโภคิน) ทร่ี ะลกึ พิธเี ปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” ๖๙ อำ�เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม
รายนามผรู้ ว่ มสมทบทนุ สรา้ ง ห้องสมดุ ประชาชน ”เฉลมิ ราชกุมารี” อำ� เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม ๕๖. นางนงเยาว์ เมธีวิชานนท ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๘๓. นายศวิ รตั น์ ตนั ตพิ พิ ัฒกุลชัย ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๗. นางภัณธิรา ทรัพยส์ นิ บรู ณะ ๓๐,๐๐๐ บาท (รา้ น ส.คา้ ไม)้ ๕๘. พล.ต.ต.ธนพล บริบูรณ ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๘๔. การยางแหง่ ประเทศไทย ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๙. นางสวยสมจติ ร เจรญิ มติ ร ๓๐,๐๐๐ บาท จงั หวดั นครพนม (ร้านแสงดาว เฟอร์นเิ จอร)์ ๘๕. ส�ำนักงานยาสบู นครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๐. นางนาฏศลิ ป์ รัตนมาลี ๓๐,๐๐๐ บาท ๘๖. ส�ำนกั งานทีด่ นิ จังหวดั นครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๑. ดร.เพ็ญรภี แกว้ เชยี งใต ้ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๘๗. สำ� นักงานพลังงานจงั หวัดนครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๒. นางเต็มดวง อปุ พงษ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๘๘. นางลัดดาวลั ย์ หลวงโป้ ๓๐,๐๐๐ บาท (บ. ทเวลฟร์ คิ เตอร์ เอก็ เซน จก.) ๘๙. นายนวิ ัฒน์ เจยี รว์ ิรยิ ะบญุ ญา ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๓. รา้ นอึ้มกิมเซง็ ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๐. น.ส.กนานุช กนกวรรณ เลก็ วจิ ิตร ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๔. หจก. พงศ์พลศกร เทรดด้งิ ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๑. นายวิมาน พระพรม ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๕. รา้ นแสงชัย เฟอร์นิเจอร ์ ๓๐,๐๐๐ บาน ๙๒. นายอโณทัย จงู ใจ ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๖. มูลนธิ ิอนุสรณห์ ลวงปูจ่ ันทร ์ ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๓. ท้องถน่ิ จงั หวัดนครพนม ๖๐,๐๐๐ บาท ๖๗. ห้างหุน้ สว่ นจก.บุญล้อมเทคนิค ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๔. แขวงทางหลวงนครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๘. บ. ส.เอ็นจเิ นยี รค์ อนกรีต จก. ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๕. โครงการชลประทานนครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๖๙. บ. ยงสวสั ดอิ์ นิ เตอร์กร๊ปุ จก. ๒๕๘,๐๐๐ บาท ๙๖. สำ� นักงานเกษตรจงั หวัดนครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๗๐. บ. เอกชัยอุบล ๒๕๒๓ จก. ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๗. เรือนจ�ำกลางนครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๗๑. บ. เอเชี่ยน แอรโ์ รสเปช เซอรว์ ิส จก. ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๘. ส�ำนกั จัดการทรัพยากรปา่ ไม้ที่ ๖ ๓๐,๐๐๐ บาท ๗๒. ห้างหนุ้ สว่ นจก.สง่านครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท สาขานครพนม ๗๓. บ. นำ� สมยั (๑๙๙๘) จก. ๓๐,๐๐๐ บาท ๙๙. โรงพยาบาลนครพนม ๖๐,๐๐๐ บาท ๗๔. บ. มติ รศิลปเ์ ซ็นเตอร์ กรปุ๊ จก. ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๐๐. ด่านศุลกากรนครพนม ๖๐,๐๐๐ บาท ๗๕. หา้ งห้นุ สว่ นจก. ร่วมกจิ (๑๙๙๘) ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๐๑. สาธารณสขุ จงั หวดั นครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ๗๖. บ. อาร์ แอล เอช ดเี วลล็อปเมนต์ จก. ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๐๒. สำ� นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ๓๐,๐๐๐ บาท ๗๗. หจก. ส.เอน็ จเิ นีย คอนกรตี ๓๐,๐๐๐ บาท มธั ยมศกึ ษา เขต ๒๒ ๗๘. หจก.ไทยสากลเซ็นเตอรก์ รุ๊ป ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๐๓. สำ� นักงานพัฒนาชุมชน ๗๙. บ. ผลติ ภัณฑส์ ำ� เรจ็ รูป ๓๐,๐๐๐ บาท จงั หวัดนครพนม ๓๐,๐๐๐ บาท ค�ำธาตคุ อนกรีต จก. ๑๐๔. ส�ำนกั งานทางหลวงชนบท ๓๐,๐๐๐ บาท ๘๐. บ. จตุรมาศ จก. ๓๐,๐๐๐ บาท จงั หวัดนครพนม ๘๑. บ. กติ ติวดศี ลิ าพาณิชย์ จก. ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๑๐๕. ตรวจคนเขา้ เมืองจงั หวัดนครพนม ๖๐,๐๐๐ บาท ๘๒. บ. โซล่ า่ เพาเวอร์ (นครพนม ๑) จก. ๓๐,๐๐๐ บาท ๗๐ ทร่ี ะลึกพธิ ีเปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมืองนครพนม จงั หวัดนครพนม
คณะผูจ้ ัดท�ำ คณะทีป่ รกึ ษา นายวุฒพิ ล ทับธาน ี ผู้อำ� นวยการส�ำนกั งาน กศน. จังหวดั นครพนม นางสาวสร้อย สกลุ เด็น รองผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งาน กศน. จังหวัดนครพนม นางสาวบุศลนิ ชา่ งสลัก ครเู ช่ียวชาญ คณะผ้รู วบรวม/เรยี บเรยี ง นางสาวบุศลนิ ชา่ งสลัก ครเู ช่ยี วชาญ นางสายธาร เปลีย่ นข�ำ นกั วิชาการพสั ดุ คณะบรรณาธกิ าร นายวฒุ พิ ล ทับธานี ผู้อำ� นวยการส�ำนกั งาน กศน. จังหวัดนครพนม นางสาวบศุ ลิน ช่างสลัก ครเู ช่ยี วชาญ ออกแบบ และพมิ พ์ โรงพมิ พพ์ ิชติ ๘๗/๑๒ ถ.พหลโยธนิ ต.ดาวเรอื ง อ.เมือง จ.สระบรุ ี ๑๘๐๐๐ โทร. ๐๓๖-๒๓๑๓๘๘, ๐๘๖-๗๐๗๘๘๒๒ แฟกซ์ ๐๓๖-๒๓๑๓๘๘ ที่ระลกึ พธิ ีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ๗๑ อำ�เภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
ท่รี ะลกึ พิธเี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อำ�เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม
Search