กจิ กรรม “เทดิ เกียรติสุนทรภู่ เชดิ ชูภาษาไทย” ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีวิชยั วิทยา
๒๙ กรกฎาคม วนั ภาษาไทยแห่งชาติ วันภาษาไทยแห่งชาติ วันท่ี 29 กรกฎาคมของทุกปี คือ วันท่ีราลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในด้าน ภาษาไทย และเพ่ือกระตุ้น ให้ชาวไทยท้ังชาติได้ตระหนักถึงความสาคัญและ คุณค่าของภาษาไทย และร่วมใจกันใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องเพื่ออนุรักษ์ภาษาไทย ให้เปน็ เอกลักษณ์อยู่คู่ชาตไิ ทยต่อไป ความเปน็ มาของวนั ภาษาไทยแหง่ ชาติ สืบเนื่องจากเมือ่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเป็นประธานและทรงอภิปรายเร่ือง “ปัญหาการใช้คาไทย” ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมทางวิชาการของชุมนุม ภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดารัสตอนหนึ่ง ซ่ึงทรงแสดงพระปรีชาสามารถและความสนพระราช หฤทยั หว่ งใยในภาษาไทย จนเปน็ ทีป่ ระทับใจผรู้ ว่ มประชุมครงั้ นั้นเป็นอย่างยิ่ง ความว่า “...เรามีความโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างย่ิงที่จะ รักษาไว้ ควรจะใช้คาเก่า ๆ ที่เรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะมาตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก…ปัญหา เฉพาะในด้านรกั ษาภาษากม็ ีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออก เสียง คอื ให้ออกเสียงให้ถกู ต้องชดั เจน อีกอยา่ งหนง่ึ ต้องรักษาให้บรสิ ุทธิใ์ นวธิ ีใช้ หมายความว่าวิธีใชค้ ามาประกอบประโยค นบั เปน็ ปัญหาที่สาคญั ปญั หาทีส่ ามคือความร่ารวยในคาของภาษาไทย ซง่ึ พวกเรานึกว่า ไม่รา่ รวยพอ จึงตอ้ งมีการบญั ญัติศพั ท์ใหม่มาใช้ … สาหรับคาใหมท่ ี่ตั้งขนึ้ มีความจาเป็นในทางวชิ าการไม่ น้อย แต่บางคาที่ง่าย ๆ กค็ วรจะมี...” รฐั บาลได้ประกาศให้วนั ที่ 29 กรกฎาคม เปน็ วนั สาคัญตั้งแต่ พ.ศ. 2542
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ทรงแสดงความสนพระราชหฤทัย และความห่วงใยใน ภาษาไทยอีกหลายโอกาส เช่น ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 ที่ได้ทรงมีพระบรมราโชวาทตอน หนง่ึ วา่ “...ในปัจจุบันน้ีปรากฏว่า ได้มีการใช้คาออกจะฟุ่มเฟือย และไม่ตรงกับ ความหมายอันแท้จริงอยู่เนือง ๆ ท้ังออกเสียงก็ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ถ้าปล่อย ให้เป็นไปดงั น้ี ภาษาของเรากม็ ีแตจ่ ะทรดุ โทรม ชาติไทยเรามี ภาษาของเราใช้เองเปน็ ส่งิ อันประเสริฐอยู่แล้ว เป็นมรดกอนั มีค่า ตกทอดมาถงึ เราทุกคนจึงมีหน้าทจ่ี ะต้องรักษาไว้ ฉะนั้นจึงขอให้ บรรดานิสิตและบณั ฑิต ตลอดจนครูบาอาจารย์ ไดช้ ่วยกนั รกั ษาและสง่ เสรมิ ภาษาไทย ซึง่ เปน็ อุปกรณ์ และหลกั ประกันเพอ่ื ความเจริญวฒั นาของประเทศชาติ...”
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังมีพระปรีชาญาณและพระ อัจฉริยะภาพในการใช้ภาษาไทย ทรงรอบรู้ปราดเปร่ืองถึงรากศัพท์ของคาไทย คือ ภาษาบาลีและสันสกฤต ทรงพระอุตสาหะวิริยะแปลและเรียบเรียง วรรณกรรมภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทยที่สมบูรณ์ด้วยลักษณะวรรณศิลป์ มีเน้ือหาสาระที่มีคุณค่า เป็นคติในการเสียสละเพื่อส่วนรวม และเป็นแบบอย่าง แก่ประชาชนในการใช้ภาษาไทย ดังจะเห็นได้จากพระราชนิพนธ์แปลเร่ือง นายอินทร์ผปู้ ิดทองหลังพระ ติโต พระราชนิพนธ์แปลบทความเร่ืองส้ัน ๆ หลาย บท และพระราชนิพนธ์เรื่อง พระมหาชนก เป็นต้น
วตั ถุประสงค์ของวันภาษาไทยแหง่ ชาติ มีดังนี้ 1. เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดช ผู้ทรงเป็นนักปราชญ์ และนักภาษาไทย รวมทั้งเพ่ือน้อมราลึกใน พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ที่ได้ทรงแสดงความห่วงใย และ พระราชทานแนวคิดต่าง ๆ เกย่ี วกบั การใช้ภาษาไทย 2. เพ่ือร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน มหามงคลสมัยเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ ในวันที่ 5 ธนั วาคม 2542 3. เพ่ือกระตุ้นและปลุกจิตสานึกของคนไทยท้ังชาติให้ตระหนักถึง ความสาคญั และคณุ ค่าของภาษาไทย ตลอดจนร่วมมือร่วมใจกันทานุบารุง ส่งเสริม และอนรุ กั ษ์ภาษาไทย ซง่ึ เป็นเอกลักษณ์และเป็นสมบัติวัฒนธรรม อนั ล้าค่าของชาติให้คงอยคู่ ู่ชาติไทยตลอดไป 4. เพ่ือเพ่ิมพูนประสิทธิภาพในการใช้ภาษาไทย ทั้งในวงวิชาการและ วิชาชีพ รวมท้ังเพื่อยกมาตรฐานการเรยี นการสอนภาษาไทยใน สถานศึกษาทกุ ระดบั ให้สมั ฤทธิผลย่งิ ขนึ้ 5. เพื่อเปิดโอกาสให้หน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครฐั บาลและ เอกชนทว่ั ประเทศมีสว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เพือ่ เผยแพรค่ วามรภู้ าษาไทยในรูปแบบต่าง ๆ ไปสู่สาธารณชนท้ังในฐานะทีเ่ ป็นภาษาประจาชาติ และในฐานะที่เป็นภาษาเพือ่ การสอื่ สารของทกุ คนในชาติ
ประโยชนท์ ีค่ าดว่าไดร้ บั จากการมี วันภาษาไทยแห่งชาติ 1. วันภาษาไทยแห่งชาติ จะทาให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ฯ และเอกชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงหน่วยงานในกระทรวงศึกษาธิการ และ ทบวงมหาวิทยาลัย ตระหนักในความสาคัญของภาษาไทย และร่วมกันจัด กิจกรรมเพ่อื กระตุ้นเตือน เผยแพร่ และเน้นย้าใหป้ ระชาชนเห็นความสาคัญ ของ “ภาษาประจาชาติ” ของคนไทยทุกคน และร่วมมือกันอนุรักษ์การใช้ ภาษาไทยให้มคี วามถกู ต้องงดงามอยู่เสมอ 2. บุคคลในวงวิชาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาไทย โดยเฉพาะในวงการศึกษา และวงการสื่อสาร ช่วยกันกวดขันดูแลให้การใช้ ภาษาไทยเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม มิให้ผันแปรเปลี่ยนแปลง จนเกิด ความเสียหายแกค่ ุณลักษณะของภาษาไทยอันเปน็ เอกลักษณ์ของชาติ 3. ผลสืบเนื่องในระยะยาว คาดว่าปวงชนชาวไทยทั่วประเทศจะ ตน่ื ตวั และสนใจที่จะร่วมกนั ฟืน้ ฟู ทานบุ ารุง ส่งเสรมิ และ อนุรักษ์ภาษาไทย อันเป็นเอกลักษณ์และสมบัติวฒั นธรรม ที่สาคญั ของชาติ ให้ดารงคงอยคู่ ู่ชาติไทยตลอดไป
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรวี ิชยั วิทยา รบั ชมข้อมลู เพิม่ เติม ในรูปแบบวีดทิ ัศน์
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: