Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลไกการเกิดพฤติกรรมในสัตว์

กลไกการเกิดพฤติกรรมในสัตว์

Published by รออายู มาหะมุ, 2019-11-28 03:05:36

Description: กลไกการเกิดพฤติกรรมในสัตว์

Search

Read the Text Version

“กลไกการเกดิ พฤตกิ รรมในสตั ว์” (พฤติกรรมของสัตว์ 1)

พ ฤ ติ ก ร ร ม ( Behavior)ก า ร ต อ บ ส น อ ง ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ต่ อ ก า ร เปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมท้ังภายนอกร่างกายและภายในร่างกายเพื่อการอยู่ รอด พฤติกรรมของสัตวเ์ ป็นผลจากการทางานร่วมกันระหว่างปัจจัยทาง พันธุกรรม และสภาพแวดล้อม การเรยี นรู้พฤติกรรมของสัตวท์ าใหม้ นุษยล์ า่ สตั วก์ ินเปน็ อาหารได้แทนทีจ่ ะ เปน็ ผู้ถกู ล่า เพิม่ โอกาสในการอยรู่ อดของมนุษย์

กลไกการเกิดพฤตกิ รรมในสัตว์ การตอบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ ในสภาพแวดล้อมท้ังภายในและ ภายนอกร่างกายสิ่งมีชีวิตน้ัน อาจเกิดขึ้นทันทีทันใดหรืออาจเกิดข้ึนช้า ๆ ทาให้ชีวิต แสดงพฤติกรรม (behavior)ซ่ึงเป็นกลไกอย่างหนึ่งในการรักษาดุลยภาพของ รา่ งกาย ซง่ึ ประกอบดว้ ย 2 อยา่ ง 1. สง่ิ เรา้ หรือตัวกระตนุ้ (STIMULUS) 2. เหตจุ งู ใจ (MOTIVATION) ซึ่งหมายถึงความพรอ้ มภายในร่างกายของสัตว์ กอ่ นทจี่ ะแสดงพฤตกิ รรม เชน่ ความหิว ความกระหาย เปน็ ต้น

พฤติกรรมจะสลับซบั ซ้อนเพียงใดขน้ึ อยกู่ ับระดบั ความเจริญของหนว่ ยตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. หน่วยรับความร้สู กึ (Recepter) 2. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nerverous systen) 3. หน่วยปฏิบตั งิ าน (Effector) การศกึ ษาพฤติกรรมของสัตว์ ทาได้ 2 วิธคี ือ 1. วธิ ีการทางสรรี วิทยา (Physiological approach) มจี ุดม่งุ หมายเพอื่ อธิบาย พฤตกิ รรมในรปู ของ กลไกการทางาน ของระบบประสาท 2. วิธกี ารทางจิตวิทยา (Psychological approach) เปน็ การศึกษาถึงผลของปัจจยั ตา่ ง ๆรอบตัว และปัจจยั ภายในรา่ งกายท่มี ีผลต่อการพัฒนาและการแสดงออกของพฤติกรรมท่มี องเหน็ ได้ชดั เจน

พฤติกรรมแบบต่าง ๆ ในคนและสัตว์ แบ่งออกเปน็ 2 แบบคอื 1. พฤติกรรมท่ีมีมาแต่กาเนิด (inherited behavior) เปน็ พฤติกรรมแบบง่ายๆ เป็นลกั ษณะเฉพาะทีใ่ ชใ้ นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนดิ ใดชนดิ หนึง่ 2. พฤติกรรมการเรียนรู้ (Learned behavior) สรปุ ลักษณะของพฤติกรรมท่ีมีแต่กาเนิด ได้แก่ 1. เปน็ พฤตกิ รรมงา่ ยๆท่ีตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ ชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ 2. การแสดงพฤติกรรมได้มาจากพนั ธุกรรมเทา่ นน้ั ไมจ่ าเป็นต้องเรียนรู้มากอ่ น 3. มแี บบแผนทแ่ี น่นอนเฉพาะตวั ส่ิงมีชีวิตชนดิ เดียวกนั จะแสดงลักษณะเหมอื นกันหมด

ชนิดของพฤตกิ รรมทีม่ ีมาแต่กาเนดิ มีดงั น้ี รเี ฟลก็ ซ์ (Reflex) เปน็ พฤติกรรมท่ีส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกายตอบสนองต่อ ส่งิ เรา้ ท่มี ากระตุน้ อยา่ งรวดเร็วทันทีทันใด พฤติกรรมแบบน้มี คี วามสาคัญ เพราะช่วยให้ สิ่งมชี ีวิตรอดพน้ จากอนั ตรายได้ เช่น – การกระพริบตาเมอ่ื ผงเข้าตา – การยกเท้าหนีทนั ทเี ม่ือเหยียบหนาม ของแหลม หรอื ของร้อน – การไอ การจาม เม่ือมสี ่ิงแปลกปลอมเขา้ ไปในทางเดินหายใจ

พฤตกิ รรมแบบรีเฟล็กซต์ ่อเนื่อง (Chain of Reflexes)เปน็ พฤตกิ รรมท่ปี ระกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ หลายพฤติกรรมที่เปน็ ปฏิกริ ิยารีเฟลกซ์ ซึง่ เกิดข้ึนอยา่ งต่อเน่อื งกนั แต่เดิมใช้ คาว่า สัญชาตญาณ (Instinct)แตใ่ นปัจจุบันคานีใ้ ชก้ นั น้อยมากในทางพฤตกิ รรมเพราะมีความหมาย กว้างเกินไป ซง่ึ อาจรวมไปถึงพฤติกรรมที่มมี าแต่กาเนิดทุก ๆแบบดว้ ย สตั ว์พวกแมลง สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน และสัตวป์ ีก จะมีพฤติกรรมแบบเดน่ ชดั เชน่ – การดูดนมของทารก – การสร้างรังของนกและแมลง – การชักใยของแมงมุม

พฤตกิ รรมแบบไคนีซิส ( Kinesis ) เปน็ พฤติกรรมที่ตอบสนองตอ่ ส่งิ เร้าด้วยการ เคล่ือนท่ที ้ังตัวแบบมที ศิ ทางไมแ่ น่นอน คอื มที ิศทางท่ไี ม่สัมพนั ธ์กับทศิ ทางของสิ่งเรา้ พฤตกิ รรมแบบน้ีมักพบในสัตวไ์ ม่มกี ระดูกสนั หลงั ชัน้ ตา่ และพวกโพรตสิ ต์ ซึ่งมีหน่วยรับ ความรู้สึกที่มีประสิทธภิ าพไมด่ ีพอ เช่น – การเคล่ือนทีอ่ อกจากบริเวณทอ่ี ุณหภมู สิ ูงของพารามีเซียม – การเคลื่อนทหี่ นีฟองแก๊ส CO2 ของพารามีเซยี ม – การเคลอื่ นท่ขี องตวั ก้งุ เต้นเมอ่ื อยู่ในความชืน้ ท่ีแตกตา่ งกัน

พฤตกิ รรมแบบแทกซสิ ( Taxis ) เปน็ พฤติกรรมการเคลื่อนทีเ่ ขา้ หาหรือหนี จากส่งิ เรา้ อยา่ งมีทิศทางทแี่ น่นอนพฤติกรรมแบบน้ีมกั พบในสงิ่ มีชีวิตที่มีหน่วยรับ ความรู้สึกทมี่ ีประสิทธิภาพดีพอจะสามารถรับรู้และเปรียบเทยี บสิ่งเร้าได้ เชน่ – การเคลอ่ื นที่เขา้ หาแสงสว่างของพลานาเรีย – การเคลื่อนท่ีของหนอนแมลงวนั หนแี สง – การเคลอ่ื นที่ของแมลงเม่าเข้าหาแสง – การเคลื่อนที่ของคา้ งคาวเขา้ หาแหลง่ อาหารตามเสียงสะทอ้ น – การบินเขา้ หาผลไม้สกุ ของแมลงหว่ี

บรรณานกุ รม ความหมายพฤติกรรม.[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.scimath.org [14 พ.ย. 2562]. กลไกการเกดิ พฤติกรรมของสตั ว.์ [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com https://kutto7702.wordpress.com[14 พ.ย. 2562].


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook